ศาสนาเปรียบเทียบ (01388411) ประมวลการสอน ภาคปลาย ปี การศึกษา 2553 1. คณะ มนุษยศาสตร์ ภาควิชา ปรัชญาและศาสนา 2. รหัสวิชา 01388411 ชื่อวิชา (ภาษาไทย) ศาสนาเปรียบเทียบ จานวนหน่ วยกิต 3 (3-0) (ภาษาอังกฤษ) Comparative Religion วิชาพืน้ ฐาน 01388111

Download Report

Transcript ศาสนาเปรียบเทียบ (01388411) ประมวลการสอน ภาคปลาย ปี การศึกษา 2553 1. คณะ มนุษยศาสตร์ ภาควิชา ปรัชญาและศาสนา 2. รหัสวิชา 01388411 ชื่อวิชา (ภาษาไทย) ศาสนาเปรียบเทียบ จานวนหน่ วยกิต 3 (3-0) (ภาษาอังกฤษ) Comparative Religion วิชาพืน้ ฐาน 01388111

ศาสนาเปรียบเทียบ
(01388411)
ประมวลการสอน
ภาคปลาย ปี การศึกษา 2553
1. คณะ มนุษยศาสตร์
ภาควิชา ปรัชญาและศาสนา
2. รหัสวิชา 01388411
ชื่อวิชา (ภาษาไทย) ศาสนาเปรียบเทียบ
จานวนหน่ วยกิต 3 (3-0) (ภาษาอังกฤษ) Comparative Religion
วิชาพืน้ ฐาน 01388111 ศาสนาเบือ้ งต้ น
3. ผ้ ูสอน
อาจารย์ ผู้สอน : อาจารย์ ชัชวาลย์ ชิงชัย
อาจารย์ ประจาภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพฯ
4. การให้ นิสิตเข้ าพบและให้ คาแนะนานอกเวลาเรียน
วันอังคาร พฤหัสบดี เวลา 09.00 – 16.30 น. วันศุกร์ 12.30 – 16.30
หรือตามเวลานัดพบเป็ นกรณีพเิ ศษ
โทรศัพท์ ภาควิชาฯ 0-2579-6525-6 ต่ อ 114 ฝากข้ อความ 101
แฟ็ กซ์ 0-2942-8719 โทรศัพท์ ภายใน 1439 ต่ อ 1508 ต่ อ 114
โทรศัพท์ บ้าน 0-2955-1621, มือถือ 0812458482, 0812545515
อีเมล์ [email protected]
http://www.rilc.ku.ac.th/rilc.ku.ac.th/chachawarn.html
5. จุดประสงค์ ของวิชา
1. เพือ่ ให้ นิสิตได้ เรียนรู้ และเข้ าใจหลักธรรมของ
ศาสนาต่ าง ๆ
2. เพือ่ ให้ นิสิตได้ ปฏิบัตติ นอย่ างถูกต้ องตามหลัก
ศาสนาของตน
3. เพือ่ การนาหลักธรรมไปประยุกต์ ใช้ ในการแก้ ปัญหา
ชีวติ และสั งคม
6. คาอธิบายรายวิชา
การเปรียบเทียบประวัติ หลักคาสอน พิธีกรรม และปรั ชญา
ชีวติ ของศาสนาต่ าง ๆ ความสั มพันธ์ ระหว่ างศาสนา อิทธิพลและ
ความสั มพันธ์ ต่อชีวติ และสั งคม
Comparison of histories, doctrines, ceremonies,
and philosophies of life of various religions. Relations
between religions. Influence on and relation to life and
society.
7. เค้ าโครงรายวิชา
1. บทนา : ลักษณะ ขอบเขต ความหมาย
และความเป็ นมา
2. การเปรียบเทียบ
2.1 ประวัติ
2.2 คาสอน
2.3 พิธีกรรม
2.4 ปรัชญาชีวติ
6 ชั่วโมง
6
6
6
6
ชั่วโมง
ชั่วโมง
ชั่วโมง
ชั่วโมง
3. ความสั มพันธ์ ระหว่ างศาสนาเทวนิยม
กับศาสนาอเทวนิยม
6 ชั่วโมง
4. อิทธิพลทางศาสนาทีม่ ผี ลกระทบต่ อชีวติ และสั งคม
4.1 ศาสนากับชีวติ
3 ชั่วโมง
4.2 ศาสนากับสั งคม
3 ชั่วโมง
รวม 45 ชั่วโมง
8. วิธีการสอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
1. การบรรยาย
2. อภิปรายและตอบปัญหา
3. ศึกษาค้ นคว้ าด้ วยตนเองเพือ่ ทาเป็ นรายงาน
4. การรายงานหน้ าชั้น
5. การเรียนการสอนผ่ านเว็บไซต์
9. อุปกรณ์ สื่อการสอน
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
ไวท์ บอร์ ด
เครื่องฉายข้ ามศีรษะ
วีดโี อ
เพาเวอร์ พอยท์
เอกสารประกอบการบรรยาย
สไลด์ และสไลด์ มัลติวชิ ั่น
โฮมเพจรายวิชา
10. การวัดผลสั มฤทธิ์ในการเรียน
1. การมีส่วนร่ วมในการเรียน
6
คะแนน
2. ความประพฤติ
10
คะแนน
3. รายงานหน้ าชั้น
8
คะแนน
4. เอกสารประกอบรายงาน
8
คะแนน
5. เพาเวอร์ พ้อยท์
8
คะแนน
6. การสอบปลายภาค
60
คะแนน
100
คะแนน
รวม
11. การประเมินผลการเรียน
เนื่องจากวิชานีม้ ีนิสิตลงทะเบียนจากทุกคณะ ดังนั้น
อาจารย์ ผู้สอนขอสงวนสิ ทธิ์ที่จะใช้ เกณฑ์ ต่าง ๆ เพือ่ ความ
เหมาะสม
?..
12. เอกสารอ่ านประกอบการเรียน
คูณ โทขันธ์ . ศาสนาเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติง้ เฮ้ าส์ , 2537.
ชานิ มโนรม. สงครามศาสนา. กรุงเทพฯ : มูลนิธิพระพุทธศาสนาแห
ประเทศไทย, 2530.
เดือน คาดี. ศาสนศาสตร์ . กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ , 2541.
ธนู แก้ วโอภาส. ศาสนาโลก. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สุ ขภาพใจ, 2542.
นิตภิ ูมิ นวรัตน์ . เปิ ดฟ้ าส่ องโลกศาสนา. กรุงเทพฯ : บริษัท ภูมิรัตน์ จากัด,
2544.
ประเวศ อินทองปาน. ศาสนาเบือ้ งต้ น. กรุงเทพฯ : ภาควิชาปรัชญาและ
ศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , 2537.
ประยงค์ สุ วรรณบุปผา. ศาสนและวัฒนธรรม แนวคิดตะวันตก-ตะวันออก.
กรุงเทพฯ : บริษทั บูรพาสาส์ น จากัด (1991), 2539.
ผจญ คาชู สังข์ . เอกสารประกอบการสอน ศาสนาเบือ้ งต้ น. กรุงเทพฯ :
ภาควิชา ปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ , 2541.
พล.อ.ต.ประทีป สาวาโย. สิ บเอ็ดศาสนาของโลก. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์ ,
2545.
พินิจ รัตนกุล. ศาสนาและสงคราม มิตรหรือศัตรู. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยศาสน
ศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล, 2544.
พินิจ รัตนกุล. ศาสนาและความรุนแรง. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยศาสนศึกษา
มหาวิทยาลัยมหิดล, 2544.
วนิดา ขาเขียว. ศาสนาเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ : เจนเดอร์ เพรส, 2541.
สถาบันภาษาศาสตร์ และวัฒนธรรมศึกษาราชนครินทร์ . คู่มือศาสนศึกษา
สาหรับ ประชาชน. เอกสารอัดสาเนา. 2548.
สุ ชีพ ปุญญานุภาพ. ประวัติศาสตร์ ศาสนา. กรุงเทพฯ : อมรการพิมพ์,
2532.
สุ จิตรา รณรื่น. ศาสนาเปรียบเทียบ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : ดวงแก้ ว
บริษัท สหธรรมิก จากัด, 2538.
สุ ชีพ ปุญญานุภาพ. ศาสนาเปรียบเทียบ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ :
มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2540.
แสง จันทร์ งาม. ศาสนศาสตร์ (The Science of Religion). กรุงเทพฯ :
บริษัท โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จากัด, 2534.
เสฐียรโกเศศ (นามแฝง), ศาสนาเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ : บรรณาคาร, 2515.
เสฐียร พันธรังษี. ศาสนาเปรียบเทียบ. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ :
สุ ขภาพใจ,​​ 2546.
เสฐียร พันธรังษี. ศาสนาโบราณ. กรุงเทพฯ : เรือนบุญ, 2543.
หลวงวิจิตรวาทการ. ศาสนาสากล. เล่ ม 1, เล่ ม 2. กรุงเทพฯ : สานักงาน
ลูก ส.​ธรรมภักดี, 2510.
Mullor, Max. Sociology of Religion. London : Methuen, 1965.
Wach, Joachim. Sociology of Religion. Chicago : Chicago University
Press, 1967.
Ferm, Vergilius. Encyclopedia of Religion. New Jersey : Littlefield
Adam, 1984.
Radhakrishna, S. Eastern Religion and Western Thought. New Delhi :
Swarn, 1982.
13. ตารางกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้ องกับการเรียนการสอน
สั ปดาห์ วัน / เดือน / ปี
ที่
1
2
3
เนือ้ หา
แนะนาประมวลการสอน,
จ. 1 พ.ย. 53 ขอบเขตของเนือ้ หาและ
แบ่ งกลุ่มทางาน
จ. 8 พ.ย. 53 เปรียบเทียบศาสนาต่ าง ๆ
จ. 15 พ.ย. 53
เปรี ยบเทียบวิวฒั นาการ
ทางศาสนา
จากอดีต ปัจจุบนั และ
อนาคต
กิจกรรมการเรียนการ
สอน
ผู้สอน
ฟังบรรยาย
อ.ชัชวาลย์
ฟังบรรยาย
อ.ชัชวาลย์
นิสิตอภิปราย
ตอบปัญหา
กลุ่มที่ 1
4
จ. 22 พ.ย. 53
ศาสนาสากล
นิสิตอภิปราย
ตอบปัญหา
กลุ่มที่ 2
จ. 29 พ.ย. 53
สงครามศาสนา
นิสิตอภิปราย
ตอบปัญหา
กลุ่มที่ 3
จ. 13 ธ.ค. 53
เปรียบเทียบความสั มพันธ์
ระหว่ าง
ศาสนาอเทวนิยมกับเทวนิยม
5
6
(พุทธกับคริสต์ )
นิสิตอภิปราย
ตอบปัญหา
กลุ่มที่ 4
7
8
9
จ. 27 ธ.ค. 53 เปรียบเทียบความสั มพันธ์
ระหว่ างศาสนาอเทวนิยม
กับเทวนิยม
(สิ ขกับเชน)
จ. 3 ม.ค. 54 เปรียบเทียบความสั มพันธ์
ระหว่ างศาสนาเทวนิยมกับ
เทวนิยม
(พราหมณ์ กบั อิสลาม)
นิสิตอภิปราย
ตอบปัญหา
นิสิตอภิปราย
ตอบปัญหา
กลุ่มที่ 6
จ. 10 ม.ค. 54 เปรียบเทียบความสั มพันธ์
ระหว่ างศาสนาประจาถิ่น
เทวนิยมกับเทวนิยม
(โซโรอัสเตอร์ กบั ชินโต)
นิสิตอภิปราย
ตอบปัญหา
กลุ่มที่ 7
กลุ่มที่ 5
12
จ. 17 ม.ค. 54 เปรียบเทียบความสั มพันธ์
ระหว่ างศาสนอเทวนิยม
กับอเทวนิยม
(เต๋ ากับขงจื๊อ)
จ. 24 ก.พ. 54 เปรียบเทียบอิทธิพลทาง
ศาสนาทีม่ ีผลกระทบต่ อ
ชีวติ และสั งคม
จ. 7 ก.พ. 54
สรุ ป
13
จ. 14 ก.พ. 54
สรุ ป
ฟังบรรยาย
อ.ชัชวาลย์
14
จ. 21 ก.พ. 54
สอบไล่
ห้ อง HUM 509
อ.ชัชวาลย์
10
11
นิสิตอภิปราย
ตอบปัญหา
กลุ่มที่ 8
นิสิตอภิปราย
ตอบปัญหา
กลุ่มที่ 9
ฟังบรรยาย
อ.ชัชวาลย์
หมายเหตุ :         
1. แต่ งกายให้ ถูกต้ องตามระเบียบ ฝ่ าฝื นจะไม่ ได้ รับอนุญาตให้ เข้ าชั้นเรียน
2. อาจารย์จะเริ่มสอนเวลา 13.30 น. รวมทั้งล็อคประตูห้องเรียนในเวลานี้ จึงมี
เฉพาะมาเรียนกับขาดเรียนเท่ านั้น
3. คะแนนการมีส่วนร่ วมในการเรียน 6 คะแนน มีหลักการให้ คะแนน ดังนี้
- ในกรณีทขี่ าดเรียน ตัดคะแนนครั้งละ 2 คะแนน
- ในกรณีทขี่ าดเรียนแต่ มีใบลากิจหรือลาป่ วย ตัดคะแนนครั้งละ 1 คะแนน
ตลอดภาคเรียนขาดเรียนได้ ไม่ เกิน 3 ครั้ง ขาด 3 ครั้ง คะแนนการมีส่วนร่ วม
เหลือศูนย์
- ขาดครั้งที่ 4 ไม่ มีสิทธิ์สอบ นิสิตจะต้ องมีเวลาเรียนไม่ ต่ากว่ า 80 % จึงจะมี
สิ ทธิ์สอบ
4. คะแนนความประพฤติ 10 คะแนน มีหลักการให้ คะแนน ดังนี้
เข้ าเรียนทุกครั้งไม่ ขาด ไม่ ลา
5
คะแนน
ความประพฤติเรียบร้ อย ตั้งใจเรียน ไม่ ส่งเสี ยงรบกวน
5
คะแนน
ขณะเข้ าเรียนปิ ดอุปกรณ์ การสื่ อสารทุกชนิด
5. ในกรณีทขี่ าดเรียนแล้วมีใบลา หัก 1 คะแนน
6. นิสิตจะต้ องมีเวลาเรียน 80% จึงจะมีสิทธิ์สอบ
(ขาดเรียนตลอดภาคเรียนได้ เพียง 3 ครั้งเท่ านั้น)
7. ไม่ ส่งเสี ยงรบกวนขณะเข้ าเรียน
8. ปิ ดอุปกรณ์ การสื่ อสารทุกชนิดขณะเข้ าเรียน
ฝ่ าฝื น จะถูกตักเตือน ตัดคะแนน และรายงานให้ อาจารย์ ทปี่ รึกษาทราบตามควรแก่
กรณี
ปรัชญาคณะมนุษยศาสตร์
คณะมนุ ษยศาสตร์ มีปรั ชญาการจัดการศึ กษาที่
เสริมสร้ างบุคคลให้ เป็ นคนที่สมบูรณ์ โดยเฉพาะอย่ างยิ่ง
มี ค วามเจริ ญ ทางสติ ปั ญ ญา คุ ณ ค่ า ของจิ ต ใจ การใช้
วิจารณญาณอย่ างรอบคอบและปรับตัวได้ อย่ างเหมาะสม
ปณิธานคณะมนุษยศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์ มีปณิธานในการผลิตบัณฑิตให้ มี
คุณภาพ เพียบพร้ อมด้ วยความรู้ ทางวิชาการและวิชาชี พที่
ทันสมัย มีความใฝ่ รู้ มีความคิดวิเคราะห์ มีความคิดริ เริ่ ม
สร้ างสรรค์ ตลอดจนเป็ นบัณฑิตที่มีจริ ยธรรม คุณธรรม
เป็ นแบบอย่ างที่ดีแก่ สังคมและดาเนินชี วิตอยู่ในสั งคมได้
อย่ างมีความสุ ข
ขึ้นชื่อว่าวิชาควรศึกษาทุกอย่างไป
ศึกษาให้เข้าใจเป็ นคุณเครื่ องเรื่ องปัญญา
แต่วา่ อย่าพึงใช้ทุกอย่างไปที่ศึกษา
ชีวิตและเวลาเป็ นปัญหาให้จานน
จะใช้วชิ าใดจงใส่ ใจในเหตุผล
ทาใดต้องใจคนนัน่ คือผลของวิชา
ขอให้ ทุกคนจงโชคดี ตามสติกาลังของแต่ ละคน