อริ ยสัจ 4 อริยสั จ 4 อริยสั จ (บาลี: ariyasacca) หรื อจตุราริยสั จ หรื ออริยสั จ 4 เป็ นหลักคำสอน หนึ่งของพระโคตมพุทธเจ้ำ แปลว่ำ ควำมจริ.

Download Report

Transcript อริ ยสัจ 4 อริยสั จ 4 อริยสั จ (บาลี: ariyasacca) หรื อจตุราริยสั จ หรื ออริยสั จ 4 เป็ นหลักคำสอน หนึ่งของพระโคตมพุทธเจ้ำ แปลว่ำ ควำมจริ.

อริ ยสัจ 4
อริยสั จ 4
อริยสั จ (บาลี: ariyasacca) หรื อจตุราริยสั จ หรื ออริยสั จ 4 เป็ นหลักคำสอน
หนึ่งของพระโคตมพุทธเจ้ำ แปลว่ำ ควำมจริ งอันประเสริ ฐ ควำมจริ งของพระ
อริ ยะ หรื อควำม
่ ี่ ประกำร คือ
 จริ งที่ทำให้ผเู ้ ข้ำถึงกลำยเป็ นอริ ยะ มีอยูส
1. ทุกข์ คือ สภำพที่ทนได้ยำก ภำวะที่ทนอยูใ่ นสภำพเดิมไม่ได้
สภำพที่บีบคั้น ได้แก่ ชำติ (กำรเกิด) ชรำ (กำรแก่ กำรเก่ำ) มรณะ
(กำรตำย กำรสลำยไป กำรสู ญสิ้ น) กำรประสบกับสิ่ งอันไม่เป็ นที่รัก
กำรพลัดพรำกจำกสิ่ งอันเป็ นที่รัก กำรปรำรถนำสิ่ งใดแล้วไม่สมหวังในสิ่ งนั้น
กล่ำวโดยย่อ ทุกข์กค็ ืออุปำทำนขันธ์ หรื อขันธ์ 5

อริยสั จ 4


2. ทุกขสมุทยั คือ สำเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ตัณหำ 3 คือ กำมตัณหำควำมทะยำนอยำกในกำม ควำมอยำกได้ทำงกำมำรมณ์, ภวตัณหำ-ควำม
ทะยำนอยำกในภพ ควำมอยำกเป็ นโน่นเป็ นนี่ ควำมอยำกที่ประกอบด้วย
ภวทิฏฐิหรื อสัสสตทิฏฐิ และ วิภวตัณหำ-ควำมทะยำนอยำกในควำมปรำศจำก
ภพ ควำมอยำกไม่เป็ นโน่นเป็ นนี่ ควำมอยำกที่ประกอบด้วยวิภวทิฏฐิหรื อ
อุจเฉททิฏฐิ
3. ทุกขนิโรธ คือ ควำมดับทุกข์ ได้แก่ ดับสำเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ กล่ำวคือ ดับ
ตัณหำทั้ง 3 ได้อย่ำงสิ้ นเชิง
อริยสั จ 4









4. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา คือ แนวปฏิบตั ิที่นำไปสู่ หรื อนำไปถึงควำมดับ
ทุกข์ ได้แก่ มรรคอัน มีองค์ประกอบอยูแ่ ปดประกำร คือ
1. สัมมำทิฏฐิ-ควำมเห็นชอบ
2. สัมมำสังกัปปะ-ควำมดำริ ชอบ
3. สัมมำวำจำ-เจรจำชอบ
4. สัมมำกัมมันตะ-ทำกำรงำนชอบ
5. สัมมำอำชีวะ-เลี้ยงชีพชอบ
6. สัมมำวำยำมะ-พยำยำมชอบ
7. สัมมำสติ-ระลึกชอบ และ
8. สัมมำสมำธิ-ตั้งใจชอบ ซึ่งรวมเรี ยกอีกชื่อหนึ่งได้วำ่ "มัชฌิมำปฏิปทำ"
หรื อทำงสำยกลำง
กิจในอริยสั จ 4
กิจในอริ ยสัจ คือสิ่ งที่ตอ้ งทำต่ออริ ยสัจ 4 แต่ละข้อ ได้แก่
 ปริญญา - ทุกข์ ควรกำหนดรู ้ คือกำรทำควำมเข้ำใจปั ญหำหรื อสภำวะที่เป็ น
ทุกข์อย่ำงตรงไปตรงมำตำมควำมเป็ นจริ ง เป็ นกำรเผชิญหน้ำกับปัญหำ
 ปหานะ - สมุทยั ควรละ คือกำรกำจัดสำเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ เป็ นกำร
แก้ปัญหำที่เหตุตน้ ตอ
 สั จฉิกร
ิ ิยา - นิโรธ ควรทำให้แจ้ง คือกำรเข้ำถึงภำวะดับทุกข์ หมำยถึงภำวะที่
ไร้ปัญหำซึ่งเป็ นจุดมุ่งหมำย
 ภาวนา - มรรค ควรเจริ ญ คือกำรฝึ กอบรมปฏิบต
ั ิตำมทำงเพื่อให้ถึงควำมดับ
แห่งทุกข์ หมำยถึงวิธีกำรหรื อทำงที่จะนำไปสู่ จุดหมำยที่ไร้ปัญหำ
กิจในอริยสั จ 4
กิจทั้งสี่ นีจ้ ะต้ องปฏิบัตใิ ห้ ตรงกับมรรคแต่ ละข้ อให้ ถูกต้ อง การ
รู้ จกั กิจในอริยสั จนีเ้ รียกว่ ากิจญาณ
 กิจญาณ เป็ นส่ วนหนึ่งของญาณ 3 หรื อญาณทัสสนะ (สั จญาณ,
กิจญาณ, กตญาณ) ซึ่งหมายถึงการหยัง่ รู้ ครบสามรอบ ญาณทั้ง
สามเมื่อเข้ าคู่กบั กิจในอริยสั จทั้งสี่ จงึ ได้ เป็ นญาณทัสนะมีอาการ
ดังนี้

กิจในอริยสั จ 4
1.
2.
3.
4.
กตญาณ หยัง่ รู ้วำ่ ได้ทำกิจที่ควรทำได้เสร็ จสิ้นแล้ว
ทุกข์ได้กำหนดรู ้แล้ว
เหตุแห่งทุกข์ได้ละแล้ว
ควำมดับทุกข์ได้ประจักษ์แจ้งแล้ว
ทำงแห่งควำมดับทุกข์ได้ปฏิบตั ิแล้ว
กิจในอริยสั จ 4
สั จญาณ หยัง่ รู้ควำมจริ งสี่ ประกำรว่ำ
1. นี่ คือทุกข์
2. นี่ คือเหตุแห่ งทุกข์
3. นี่ คือควำมดับทุกข์
4. นี่ คือทำงแห่ งควำมดับทุกข์
กิจในอริยสั จ 4
กิจญาณ หยัง่ รู้หน้ำที่ต่ออริ ยสัจว่ำ
1. ทุกข์ควรรู ้
2. เหตุแห่ งทุกข์ควรละ
3. ควำมดับทุกข์ควรทำให้ประจักษ์แจ้ง
4. ทำงแห่ งควำมดับทุกข์ควรฝึ กหัดให้เจริ ญขึ้น
มรรค
มรรค
 มรรค (ภำษำสันสกฤต : มรฺ ค; ภำษำบำลี : มคฺ ค) คือ
หนทำงถึงควำมดับทุกข์ เป็ นส่ วนหนึ่งของอริ ยสัจ
(เรี ยกว่ำ มัคคสัจจ์ หรื อ ทุกขนิโรธคำมินีปฏิปทำอริ ยสัจ)
และนับเป็ นหลักธรรมสำคัญอย่ำงหนึ่งใน
พระพุทธศำสนำ ประกอบด้วยหนทำง 8 ประกำรด้วยกัน
เรี ยกว่ำ "มรรคมีองค์แปด" หรื อ "มรรคแปด"
(อัฏฐังคิกมรรค) โดยมีรำยละเอียดดังนี้
มรรค




สั มมาทิฏฐิ คือ ปัญญำเห็นชอบ หมำยถึงเห็นถูกตำมควำม
เป็ นจริ งด้วยปัญญำ
สั มมาสั งกัปปะ คือ ดำริ ชอบ หมำยถึง กำรใช้สมองควำมคิด
พิจำรณำแต่ในทำงกุศลหรื อควำมดีงำม
สั มมาวาจา คือ เจรจำชอบ หมำยถึงกำรพูดสนทนำ แต่ในสิ่ ง
ที่สร้ำงสรรค์ดีงำม
สั มมากัมมันตะ คือ กำรประพฤติดีงำม ทำงกำยหรื อ
กิจกรรมทำงกำยทั้งปวง
มรรค




สั มมาอาชีวะ คือ กำรทำมำหำกินอย่ำงสุ จริ ตชน
สั มมาวายามะ คือ ควำมอุตสำหะพยำยำม ประกอบ
ควำมเพียรในกำรกุศลกรรม
สั มมาสติ คือ กำรไม่ปล่อยให้เกิดควำมพลั้งเผลอ จิต
เลื่อนลอย ดำรงอยูด่ ว้ ยควำมรู้ตวั อยูเ่ ป็ นปกติ
สั มมาสมาธิ คือ กำรฝึ กจิตให้ต้ งั มัน่ สงบ สงัด จำกกิ
เลศ นิวรณ์อยูเ่ ป็ นปกติ
มรรค
อริ ยมรรคมีองค์แปด เป็ นปฏิปทำงสำยกลำง คือทำงที่นำไปสู่ กำร
พ้นทุกข์ ที่พระพุทธองค์ได้ทรงตรัสรู ้แล้ว ด้วยปั ญญำอันยิง่ ทำญำณให้
เกิ ด ย่ อ มเป็ นไปเพื่ อ ควำมสงบเพื่ อ ควำมรู ้ ยิ่ ง เพื่ อ ควำมตรั ส รู ้ เพื่ อ
นิพพำน
มรรคมี อ งค์แ ปด สำมำรถจัด เป็ นหมวดหมู่ ไ ด้เ ป็ น ศี ล สมำธิ
ปัญญำ
 ข้อ1-2 เป็ น ปั ญญำ (สัมมำทิฏฐิ สัมมำสังกัปปะ)
 ข้อ3-4-5 เป็ น ศีล (สัมมำวำจำ สัมมำกัมมันตะ สัมมำอำชี วะ)
 ข้อ6-7-8 เป็ น สมำธิ (สัมมำวำยำมะ สัมมำสติ สัมมำสมำธิ )
ไตรสิ กขำ
ไตรสิ กขา
ไตรสิ กขา แปลว่ำ สิ กขา 3 หมำยถึงข้อสำหรับศึกษำ, กำรศึกษำ
ข้อปฏิบตั ิที่พึงศึกษำ, กำรฝึ กฝนอบรมตนในเรื่ องที่พึงศึกษำ 3
อย่ำงคือ
 อธิสีลสิ กขา คือศึกษำเรื่ องศีล อบรมปฏิบต
ั ิให้ถูกต้องดีงำม ให้
ถูกต้องตำมหลักจุลศีล มัชฌิมศีล และมหำศีล ตลอดถึงปฏิบตั ิอยู่
ในหลัก มัชฌิมศีล และมหำศีล ตลอดถึงปฏิบตั ิอยูใ่ นหลัก
อินทรี ยสังวร ติสมั ปชัญญะ และสันโดษ

ไตรสิ กขา


อธิจติ ตสิ กขา คือศึกษำเรื่ องจิต อบรมจิตให้สงบมัน่ คงเป็ นสมำธิ
ได้แก่กำรบำเพ็ญสมถกรรมฐำนของผูส้ มบูรณ์ดว้ ยอริ ยศีลขันธ์
จนได้บรรลุฌำน 4
อธิปัญญาสิ กขา คือศึกษำเรื่ องปัญญำอบรมตนให้เกิดปั ญญำแจ่ม
แจ้ง ได้แก่กำรบำเพ็ญวิปัสสนำกรรมฐำนของผูไ้ ด้ฌำนแล้วจน
ได้บรรลุวชิ ชำ 8 คือเป็ นพระอรหันต์
บรรณานุกรม


ราชบัณฑิตยสถาน. (2548). พจนานุกรมศัพท์ ศาสนาสากล ฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน. (พิมพ์ ครั้งที่ 2 แก้ ไขเพิม่ เติม). กรุงเทพฯ : อรุณ
การพิมพ์. หน้ า 65-66.
พระธรรมปิ ฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พุทธธรรม" มหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย, 2546
สมำชิกกลุ่ม
นำย ณกมล พูดสัตย์
นำย อลงกต เครื อวำระ
นำย ณัชพล ทรำยเขียว
นำยวรวิทย์ ศุภกียรติบญั ชร
นำงสำวกำญจนำ ทิพย์พระวงค์
นำงสำว ณัฐพร สิ งห์ละ
เลขที่ 1 ม5/2
เลขที่ 8ม5/2
เลขที่ 3ม5/2
เลขที่8 ม5/4
เลขที่16 ม5/4
เลขที่22ม5/4