อริ ยสัจ 4 อริยสั จ (บาลี: ariyasacca) หรื อจตุราริยสั จ หรื ออริยสั จ 4 เป็ นหลักคาสอนหนึ่งของพระโคตมพุทธเจ้า แปลว่า ความจริ งอัน ประเสริ ฐ ความจริ.

Download Report

Transcript อริ ยสัจ 4 อริยสั จ (บาลี: ariyasacca) หรื อจตุราริยสั จ หรื ออริยสั จ 4 เป็ นหลักคาสอนหนึ่งของพระโคตมพุทธเจ้า แปลว่า ความจริ งอัน ประเสริ ฐ ความจริ.

อริ ยสัจ 4
อริยสั จ (บาลี: ariyasacca) หรื อจตุราริยสั จ หรื ออริยสั จ 4
เป็ นหลักคาสอนหนึ่งของพระโคตมพุทธเจ้า แปลว่า ความจริ งอัน
ประเสริ ฐ ความจริ งของพระอริ ยะ หรื อความจริ งที่ทาให้ผเู้ ข้าถึงกลายเป็ น
อริ ยะ
มีอยูส่ ี่ ประการ คือ
1. ทุกข์
2. ทุกขสมุทยั
3. ทุกขนิโรธ
4. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา
ทุกข์
คือ ทุกข์ คือ สภาพที่ทนได้ยาก ภาวะที่ทนอยูใ่ นสภาพเดิมไม่ได้ สภาพ
ที่บีบคั้น ได้แก่ ชาติ (การเกิด) ชรา (การแก่ การเก่า) มรณะ (การตาย
การสลายไป การสู ญสิ้ น) การประสบกับสิ่ งอันไม่เป็ นที่รัก การพลัด
พรากจากสิ่ งอันเป็ นที่รัก การปรารถนาสิ่ งใดแล้วไม่สมหวังในสิ่ งนั้น
กล่าวโดยย่อ ทุกข์กค็ ืออุปาทานขันธ์ หรื อขันธ์ 5
สมุทยั
คือ สาเหตุทที่ าให้ เกิดทุกข์ ได้ แก่ ตัณหา 3 คือ
กามตัณหา-ความทะยานอยากในกาม ความอยากได้ ทางกามารมณ์
ภวตัณหา-ความทะยานอยากในภพ ความอยากเป็ นโน่ นเป็ นนี่ ความอยากที่
ประกอบด้ วยภวทิฏฐิ หรือ สั สสตทิฏฐิ
วิภวตัณหา -ความทะยานอยากในความปราศจากภพ ความอยากไม่ เป็ นโน่ นเป็ นนี่
ความอยากที่
ประกอบด้ วยวิภวทิฏฐิ หรืออุจเฉททิฏฐิ
นิโรธ
คือ ความดับทุกข์ ได้แก่ ดับสาเหตุที่ทาให้เกิดทุกข์
กล่าวคือ ดับตัณหาทั้ง 3 ได้อย่างสิ้ นเชิง
มรรค
แนวปฏิบตั ิที่นาไปสู่ หรื อนาไปถึงความดับทุกข์ ได้แก่ มรรค
อันมีองค์ประกอบอยูแ่ ปดประการ
มรรค 8 ( อัฏฐังคิกมรรค )
(มรรค = อริ ยมรรค = มัชฌิมาปฏิปทา = มรรคแปด = ทางดาเนินชีวติ อันประเสริ ฐ = ทางสายกลาง)
แนวทางดาเนินอันประเสริ ฐของชีวติ หรื อกาย วาจา ใจ เพื่อความหลุดพ้นจากทุกข์
คาว่ามรรค แปลว่าทาง ในที่น้ ีหมายถึงทางเดินของใจ เป็ นการเดินจากความทุกข์
ไปสู่ ความเป็ นอิสระหลุดพ้นจากทุกข์ซ่ ึ งมนุษย์หลงยึดถือและประกอบขึ้นใส่ ตนด้วย
อานาจของอวิชชา
มรรคมีองค์แปด คือต้องพร้อมเป็ นอันเดียวกันทั้งแปดอย่างดุจเชือกฟั่นแปดเกลียว
องค์ แปดคือ
1. สัมมาทิฏิฐิ คือความเข้าใจถูกต้อง
2. สัมมาสังกัปปะ คือความใฝ่ ใจถูกต้อง
3. สัมมาวาจา คือการพูดจาถูกต้อง
4. สัมมากัมมันตะ คือการกระทาถูกต้อง
5. สัมมาอาชีวะ คือการดารงชีพถูกต้อง
6. สัมมาวายามะ คือความพากเพียรถูกต้อง
7. สัมมาสติ คือการระลึกประจาใจถูกต้อง
8. สัมมาสมาธิ คือการตั้งใจมัน่ ถูกต้อง
สั มมาทิฏฐิ (ปัญญา)
คือความเข้าใจถูกต้อง ย่อมต้องการใช้ในกิจการทัว่ ไปทุกประเภททั้งทางโลกและ
ทางธรรม
สั มมาสั งกัปปะ(ปัญญา)
คือความใฝ่ ใจถูกต้อง คือคิดหาทางออกไปจากทุกข์ตามกฎแห่งเหตุผล ที่เห็นขอบมาแล้ว
ข้อสัมมาทิฏฐินนั่ เอง เริ่ มตั้งแต่การใฝ่ ใจที่นอ้ มไปในการออกบวช การไม่เพ่งร้าย การ
ไม่ทาทุกข์ให้แก่ผอู ้ ื่นแม้เพราะเผลอ รวมทั้งความใฝ่ ใจถูกต้องทุกๆอย่างที่เป็ นไปเพื่อ
ความหลุดพ้นจากสิ่ งที่มนุษย์ไม่ประสงค์
สั มมาวาจา (ศีล)
คือการพูดจาถูกต้อง ไม่เป็ นโทษต่อตนเอง และผูอ้ ื่น
สั มมากัมมันตะ (ศีล)
คือการกระทาถูกต้อง ไม่เป็ นโทษต่อตนเอง และผูอ้ ื่น
สั มมาอาชีวะ (ศีล)
คือการดารงชีพถูกต้อง ไม่เป็ นโทษต่อตนเอง และผูอ้ ื่น
สั มมาวายามะ (สมาธิ)
คือความพากเพียรถูกต้อง เป็ นส่ วนของใจที่บาก
บัน่ ในอันที่จะก้าวหน้า ไม่ถอยหลังจากทาง
ดาเนินตามมรรค ถึงกับมีการอธิ ษฐานอย่างแรง
กล้า
สั มมาสติ (สมาธิ)
คือการระลึกประจาใจถูกต้อง ระลึกแต่ในสิ่ งที่เกื้อหนุนแก่ปัญญาที่จะแทงตลอด
พบความจริ งของกายนี้ อวิชชาหรื อหัวหน้าแห่ งมูลทุกข์กส็ ิ้ นไป
สั มมาสมาธิ (สมาธิ)
คือการตั้งใจมัน่ ถูกต้อง ได้แก่สมาธิ เป็ นของจาเป็ นในกิจการทุกอย่าง สาหรับในที่น้ ี
เป็ นอาการของใจที่รวมกาลังเป็ นจุดเดียว กล้าแข็งพอทีจะให้เกิดปั ญญา ทาการแทง
ตลอดอวิชชาได้ และยังเป็ นการพักผ่อนของใจ ซึ่ งเป็ นเหมือนการลับให้ อ
แหลมคมอยูเ่ สมอด้วย ฯลฯ
ไตรสิ กขา
ไตรสิ กขา มาจากคาว่า ไตร กับ สิ กขา ไตร แปลว่า สาม สิ กขา แปลว่า
บทเรี ยน ไตรสิ กขา แปลว่า บทเรี ยน ๓ บท หมายถึง หลักปฏิบตั ิใหญ่ๆ ๓
ประการ ซึ่ งตามทางพระพุทธศาสนาเชื่อว่า หากใครปฏิบตั ิตามได้ครบถ้วน
สมบูรณ์ ผูน้ ้ นั ก็จะสามารถดับทุกข์ในชีวติ ได้อย่างหมดสิ้ น หลักทั้ง ๓ นั้น
คือ ศีล สมาธิ ปัญญา
ศีล หมายถึง การควบคุมความประพฤติทางกายและวาจา งด
เว้นการทาร้ายการเบียดเบียนผูอ้ ื่น และเบียดเบียนทาร้าย
ตนเอง ศีลที่สาคัญของชาวพุทธทัว่ ไปคือ ศีล ๕
สมาธิ หมายถึง การฝึ กจิตให้เกิดความ นิ่ง สงบ เย็น
ปัญญา หมายถึง การเกิดความรู ้แจ้ง รู ้ความจริ งของโลก รู้
ความจริ งของชีวิต
หลักปฏิบตั ิท้ งั ๓ ข้อ จะเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กนั คือ เมื่อปฏิบตั ิขอ้ แรกสมบูรณ์
ชีวติ ก็จะเป็ นสุ ข สบาย มีความโปร่ งใส โล่งใจ ความโปร่ งโล่งเบาสบายนั้นจะ
เป็ นฐานทาให้ฝึกสมาธิ ได้ง่าย เมื่อจิตนิ่งสงบ จึงย่อมจะโน้มไปหาความจริ งได้
ง่าย จิตที่หยัง่ เห็นความจริ งย่อมตระหนักว่าไม่มีอะไรควรยึดถือ ปัญญาซึ่ งเป็ น
เครื่ องช่วยให้หลุดพ้นจากทุกข์กจ็ ะเกิดขึ้น ไตรสิ กขา เป็ นหลักปฏิบตั ิที่สาคัญที่
จะช่วยในการดับทุกข์ในชีวติ
จัดทาโดย
นายพลศักดิ์
นายปิ ยพงษ์
นางสาวมธุลิน
นางสาววิรากร
คาสัตย์ ม. 5/2
ยาเมฆ ม.5/3
ขุนแก้ว ม.5/2
อุปธิ ม.5/2