ชนิดของตัวบ่งชี้

Download Report

Transcript ชนิดของตัวบ่งชี้

การจัดการเรียนการสอน
กับการประกันคุณภาพการศึกษา
องค์ประกอบที่๒
องค์ประกอบที่๒ การผลิตบัณฑิต

สกอ.จานวน ๘ ตัวบ่งชี้
 สมศ. จานวน ๕ ตัวบ่งชี้
 สบช. จานวน ๔ ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร (P)
1.
มีระบบและกลไกการเปิ ดหลักสูตรใหม่และปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทาง
ปฏิบตั ทิ ี่กาหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา และดาเนินการตามระบบที่
กาหนด
(ระบบ=วิธีการ ขัน้ ตอน ซึ่งบันทึกไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษรที่ทุกคนรับทราบโดยทั่ว
กัน
กลไก=สิ่งที่ทาให้ระบบขับเคลื่อน เช่น กรรมการ/หน่วยงาน)
2.
มีระบบและกลไกการปิ ดหลักสูตรตามแนวทางปฏิบตั ิที่กาหนดโดย
คณะกรรมการการอุดมศึกษา และดาเนินการตามระบบที่กาหนด
(มหาวิทยาลัยกาหนดเงื่อนไขการปิ ดหลักสูตร
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร (ต่อ)
3.
ทุกหลักสูตรมีการดาเนินงานให้เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
ระดับอุดมศึกษา และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
(TQF)
(การดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
หมายถึง ต้องมีการประเมินผลตาม ”ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงานตามประกาศ
มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา #เพื่อการประกันคุณภาพหลักสูตรและการ
เรียนการสอน” กรณีที่หลักสูตรใดยังไม่มีประกาศมาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรือ
สาขาวิชา ให้ประเมินตามตัวบ่งชี้กลางที่กาหนดในภาคผนวก ก) สาหรับ
หลักสูตรสาขาวิชาชีพต้องได้รบั การรับรองหลักสูตรจากสภาหรือองค์กร
วิชาชีพที่เกี่ยวข้องด้วย
(หมายเหตุ: สาหรับเกณฑ์มาตรฐานที่ 3 หลักสูตรเก่าหรือหลักสูตรปรับปรุง
ก่อนปี การศึ กษา 2555 ให้ยึดตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึ กษา
พ.ศ. 2548 แทนกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึ กษาแห่ งชาติ)
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร
(ต่อ)

หลักสูตรทุกหลักสูตรใช้เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรปี ๒๕๔๘
 เกณฑ์ขอ
้ ที่๓มีประเด็นการตรวจที่แตกต่างกัน๓ประเด็นดังนี้
 ๑. หลักสูตรเข้าเกณฑ์ TQF ๑๐๐% คือมี มคอ ๑-มคอ.๗
ดาเนินการประเมินตาม TQF
 ๒. หลักสูตรที่ยง
ั ไม่มี มคอ.๑ แต่มีการทา มคอ.๒ ฯลฯ ใช้เกณฑ์
ประเมินตามภาคผนวก ก.(คูม่ ือหน้า๑๕๙)
 ๓. หลักสูตรเก่าใช้เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรปี ๒๕๔๘
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร (ต่อ)
4.
5.
มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกากับให้มีการดาเนินการได้ครบถ้วน
ทั้งข้อ 1 ข้อ 2 และข้อ 3 ข้างต้นตลอดเวลาที่จดั การศึกษา และมีการ
ประเมินหลักสูตรทุกหลักสูตรอย่างน้อยตามกรอบเวลาที่กาหนดในเกณฑ์
มาตรฐานหลักสูตรฯ กรณีหลักสูตรที่ดาเนินงานตามกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ จะต้องควบคุมกากับให้การดาเนินงาน
ตามตัวบ่งชี้ในข้อ 3 ผ่านเกณฑ์การประเมิน 5 ข้อแรกและอย่างน้อยร้อย
ละ 80 ของตัวบ่งชี้ที่กาหนดในแต่ละปี ทุกหลักสูตร
มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกากับให้มีการดาเนินการได้ครบถ้วน
ทั้งข้อ 1 ข้อ 2 และข้อ 3 ข้างต้นตลอดเวลาที่จดั การศึกษา และมีการ
พัฒนาหลักสูตรทุกหลักสูตรตามผลการประเมินในข้อ 4 กรณีหลักสูตรที่
ดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ จะต้อง
ควบคุมกากับให้การดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ในข้อ 3 ผ่านเกณฑ์การ
ประเมินครบ ทุกตัวบ่งชี้และทุกหลักสูตร
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร (ต่อ)
6.
7.
8.
มีความร่วมมือในการพัฒนาและบริหารหลักสูตรระหว่างสถาบันกับ
ภาครัฐหรือภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพของหลักสูตร มากกว่าร้อยละ
30 ของจานวนหลักสูตรวิชาชีพทั้งหมดทุกระดับการศึกษา (เฉพาะกลุ่ม ค1
และ ค2)
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เน้นการวิจยั ที่เปิ ดสอน (ปริญญาโท เฉพาะ
แผน ก และปริญญาเอก) มีจานวนมากกว่าร้อยละ 50 ของจานวนหลักสูตร
ทั้งหมดทุกระดับการศึกษา (เฉพาะกลุ่ม ค1 และ ง)
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เน้นการวิจยั ที่เปิ ดสอน (ปริญญาโท เฉพาะ
แผน ก และปริญญาเอก) มีจานวนนักศึกษา*ที่ศึกษาอยูใ่ นหลักสูตร
มากกว่าร้อยละ 30 ของจานวนนักศึกษาทั้งหมดทุกระดับการศึกษา
(เฉพาะกลุ่ม ค1 และ ง)
หมายเหตุ * นับตามหัว นศ.
เกณฑ์การประเมิน
1. เกณฑ์ ทวั่ ไป
คะแนน 1
คะแนน 2
มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ
1 ข้อ
2 ข้อ
คะแนน 3
มีการดาเนินการ
3 ข้อ
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ
4 ข้อ
5 ข้อ
2. เกณฑ์ เฉพาะกลุ่ม ค1 ค2 และ ง
คะแนน 1
คะแนน 2
คะแนน 3
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการ
ดาเนินการ
1 ข้อ
มีการ
ดาเนินการ 2
ข้อ
มีการ
ดาเนินการ 3
ข้อ
มีการ
ดาเนินการ 4
ข้อ
มีการดาเนินการครบ 5 ข้อ
ตามเกณฑ์ทั ่วไป และ
ครบถ้วนตามเกณฑ์มาตรฐาน
เพิ่มเติมเฉพาะกลุม่
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 อาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก(I)
: สถาบันสามารถเลือกใช้เกณฑ์
การประเมินจาก 2 แนวทางต่อไปนี้
1) แปลงค่าร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคณ
ุ วุฒิปริญญา
เอกเป็ นคะแนนระหว่าง 0 – 5 หรือ
2) แปลงค่าการเพิ่มขึ้นของค่าร้อยละของอาจารย์ประจา
ที่มีคณ
ุ วุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปี ที่ผ่านมาเป็ น
คะแนนระหว่าง 0 – 5
เกณฑ์การประเมิน
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 อาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก(ต่อ)
เกณฑ์เฉพาะสถาบันกลุม่ ข และ ค2
1) ค่าร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคณ
ุ วุฒิปริญญาเอกที่กาหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5
= ร้อยละ 30 ขึ้นไป หรือ
2) ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคณ
ุ วุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบ
กับปี ที่ผ่านมา ที่กาหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 6 ขึ้นไป
เกณฑ์เฉพาะสถาบันกลุม่ ค1 และ ง
1) ค่าร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคณ
ุ วุฒิปริญญาเอกที่กาหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5
= ร้อยละ 60 ขึ้นไป หรือ
2) ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคณ
ุ วุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบ
กับปี ที่ผ่านมา ที่กาหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 12 ขึ้นไป
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 อาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก(ต่อ)
ตัวอย่างที่ 1
ปี การศึกษา
2552
2553
อาจารย์ท้งั หมด
1,000
1,200
อาจารย์วุฒิปริญญาเอก
230
260
ร้อยละ
23%
22%
คะแนนตามแนวทางที่ 1
3.83
3.67
ร้อยละอาจารย์ปริญญาเอกเพิ่มขึ้ น
-1.00
คะแนนตามแนวทางที่ 2
0
ตัวอย่างที่ 2
ปี การศึกษา
2552
2553
อาจารย์ท้งั หมด
1,000
1,200
อาจารย์วุฒิปริญญาเอก
230
330
ร้อยละ
23%
27.50%
คะแนนตามแนวทางที่ 1
3.83
4.58
ร้อยละอาจารย์ปริญญาเอกเพิ่มขึ้ น
0.75
คะแนนตามแนวทางที่ 2
0.625
ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสนับสนุน(P)
1.
มีแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์ท้งั ด้านวิชาการ เทคนิค
การสอนและการวัดผล และมีแผนการบริหารและพัฒนาบุคลากร
สายสนับสนุนที่มีการวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงประจักษ์
(ข้อมูล-อัตรากาลัง๕ปี แผนการจ้างงาน ข้อมูล training needs
competencies)
2.
มีการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสนับสนุนให้
เป็ นไปตามแผนที่กาหนด
ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสนับสนุน(P)
3.
มีสวัสดิการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี และสร้างขวัญและกาลังใจให้
คณาจารย์และบุคลากรสนับสนุนสามารถทางานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
(เช่น สวัสดิการตรวจสุขภาพ ส่งเสริมการออกกาลังกาย สวัสดิการ
กระตุน้ ช่วยเหลือผูม้ ีศักยภาพขอรับรางวัล ระบบพี่เลี้ยง)
4. มีระบบการติดตามให้คณาจารย์และบุคลากรสนับสนุนนาความรู ้
และทักษะจากการพัฒนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนและการ
วัดผลการเรียนรูข้ องนักศึกษา ตลอดจนการปฏิบตั งิ านที่เกี่ยวข้อง
(เช่น ๖-๙เดือนหลังฝึ กอบรม ใช้ KM ติดตามประเมินผลสัมฤทธ์ของ
การฝึ กอบรม)
ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสนับสนุ น (ต่อ)
5. มีการให้ความรูด้ า้ นจรรยาบรรณอาจารย์และบุคลากร
สายสนับสนุน และดูแลควบคุมให้คณาจารย์และ
บุคลากรสายสนับสนุนถือปฏิบตั ิ
6. มีการประเมินผลความสาเร็จของแผนการบริหารและ
การพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน
(ตาม กิจกรรมที่กาหนดในแผน KPI&ค่าเป้าหมาย)
7. มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการ
บริหารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสาย
สนับสนุน
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 1
คะแนน 2
มีการ
ดาเนินการ
1 ข้อ
มีการ
ดาเนินการ
2 ข้อ
คะแนน 3
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการ
มีการ
มีการ
ดาเนินการ ดาเนินการ ดาเนินการ
3 หรือ 4 ข้อ 5 หรือ 6 ข้อ 7 ข้อ
ตัวบ่งชี้ที่ 2.5
(I)
ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู ้
1. มีการจัดการหรือจัดบริการเพื่อให้นกั ศึกษามีเครื่องคอมพิวเตอร์
ใช้ในอัตราไม่สูงกว่า 8 FTES ต่อเครื่อง
(เครือ่ งคอมพิวเตอร์ นับรวม notebook, mobile device eg.I phone
smart phone, pocket IT)
2. มีบริการห้องสมุดและแหล่งเรียนรูอ้ ื่นๆ ผ่านระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ และมีการฝึ กอบรมการใช้งานแก่นกั ศึกษาทุกปี
การศึกษา
3. มีบริการด้านกายภาพที่เหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
และการพัฒนานักศึกษา อย่างน้อยในด้านห้องเรียน
ห้องปฏิบตั ิการ อุปกรณ์การศึกษา และจุดเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู ้ (ต่อ)
4.
มีบริการสิ่งอานวยความสะดวกที่จาเป็ นอื่นๆ อย่างน้อยในด้านงานทะเบียน
นักศึกษาผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การบริการอนามัยและการ
รักษาพยาบาล การจัดการหรือจัดบริการด้านอาหาร และสนามกีฬา
5. มีระบบสาธารณูปโภคและรักษาความปลอดภัยของอาคารตลอดจนบริเวณ
โดยรอบ อย่างน้อยในเรื่องประปา ไฟฟ้า ระบบกาจัดของเสีย การจัดการขยะ
รวมทั้งมีระบบและอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภยั ในบริเวณอาคารต่างๆ โดยเป็ นไป
ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
(เช่น ต้องติดตัง้ ถังดับเพลิงและฝึ กซ้อมการป้องกันอัคคีภยั อย่างน้อยปี ละครัง้ )
6. มีผลการประเมินคุณภาพของบริการในข้อ 2 – 5 ทุกข้อไม่ต ่ากว่า 3.51 จาก
คะแนนเต็ม 5
7. มีการนาผลการประเมินคุณภาพในข้อ 6 มาใช้เป็ นข้อมูลในการพัฒนาการ
จัดบริการด้านกายภาพที่สนองความต้องการของผูร้ บั บริการ
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 1
มีการ
ดาเนินการ
1 ข้อ
คะแนน 2
คะแนน 3
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการ
มีการ
มีการ
ดาเนินการ ดาเนินการ ดาเนินการ
2 หรือ 3 ข้อ 4 หรือ 5 ข้อ 6 ข้อ
มีการ
ดาเนินการ
7 ข้อ
หมายเหต:ุ ๑.ในเกณฑ์ มาตรฐานข้ อที่๑ให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ นับรวม notebook,
mobile device eg.I phone smart phone, pocket IT
๒.การคิคFTESให้ นา FTES ของแต่ ละระดับการศึกษารวมเข้ าด้ วยกัน
โดยไม่ ต้องเทียบเป็ นFTESของระดับปริญญาตรี
ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน
(P)
1.
2.
3.
มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรียนการสอนที่
เน้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญทุกหลักสูตร
ทุกรายวิชาของทุกหลักสูตร มีรายละเอียดของรายวิชา(มคอ.๓)
และของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.๔)(ถ้ามี) ก่อนการเปิ ด
สอนในแต่ละภาคการศึกษา ตามที่กาหนดในกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF:Hed)
ทุกหลักสูตรมีรายวิชาที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง และ
การให้ผเู ้ รียนได้เรียนรูจ้ ากการปฏิบตั ทิ ้งั ในและนอกห้องเรียน
หรือจากการทาวิจยั
ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน (ต่อ)
4.
มีการให้ผมู ้ ีประสบการณ์ทางวิชาการหรือในวิชาชีพจากหน่วยงานหรือ
ชุมชนภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอนทุกหลักสูตร
5. มีการจัดการเรียนรูท้ ี่พฒ
ั นาจากการวิจยั หรือจากกระบวนการจัดการความรู ้
เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
(วิจยั ในชัน้ เรียน อ.ผูส้ อนต้องทาเอง เอาของคนอื่นมาตอบไม่ได้เพราะแต่ละ
รายวิชามีบริบทไม่เหมือนกัน)
6. มีการประเมินความพึงพอใจของผูเ้ รียนที่มีตอ่ คุณภาพการจัดการเรียนการ
สอนและสิ่งสนับสนุนการเรียนรูท้ ุกรายวิชา ทุกภาคการศึกษา โดยผลการ
ประเมินความพึงพอใจแต่ละรายวิชาต้องไม่ต ่ากว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5
7. มีการพัฒนาหรือปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการ
ประเมินผลการเรียนรู ้ ทุกรายวิชา ตามผลการประเมินรายวิชา
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 1
คะแนน 2
คะแนน 3
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการ
มีการ
มีการ
มีการ
มีการ
ดาเนินการ ดาเนินการ ดาเนินการ ดาเนินการ ดาเนินการ
1 ข้อ
2 หรือ 3 ข้อ 4 หรือ 5 ข้อ 6 ข้อ
7 ข้อ
หมายเหตุ
1. การประเมินความพึงพอใจของผ้ เู รี ยนทีม่ ีต่อคณ
ุ ภาพการเรี ยนการสอนและสิ่งสนับสนุน
การเรี ยนร้ ูทุกรายวิชา ทุกภาคการศึกษา ยกเว้ น รายวิชาทีไ่ ม่ มีการเรียนการสอนในชั้น
เรียนหรือในห้ องปฏิบัติการ เช่ น การฝึ กงาน สหกิจศึกษา การค้ นคว้ าอิสระ วิชาโครงงาน
สารนิพนธ์ เป็ นต้ น
2. งานวิจัยเพือ่ พัฒนาการเรียนการสอนตามเกณฑ์ ข้อ 5 หมายถึง งานวิจัยของผ้ สู อนของ
สถาบันทีไ่ ด้ พฒ
ั นาขึ้น และนาไปใช้ ในการพัฒนาวิธีการสอน
ตัวบ่งชี้ที่ 2.7 ระบบและกลไกพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียน
ตามคุณลักษณะของบัณฑิต(P)
1.
2.
3.
มีการสารวจคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามความต้องการของ
ผูใ้ ช้บณ
ั ฑิต อย่างน้อยสาหรับทุกหลักสูตรระดับปริญญาตรี ทุกรอบ
ระยะเวลาตามแผนกาหนดการศึกษาของหลักสูตร
มีการนาผลจากข้อ 1 มาใช้ในการปรับปรุงหลักสูตรการจัดการเรียนการ
สอน การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรียนที่สง่ เสริมทักษะ
อาชีพและคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ตามความต้องการของ
ผูใ้ ช้บณ
ั ฑิต
มีการส่งเสริมสนับสนุนทรัพยากรทั้งด้านบุคลากร เทคโนโลยี
สารสนเทศ และงบประมาณที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิต
ตัวบ่งชี้ที่ 2.7 ระบบและกลไกพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตาม
คุณลักษณะของบัณฑิต (ต่อ)
4.
5.
6.
7.
มีระบบและกลไกการส่งเสริมให้นกั ศึกษาระดับปริญญาตรีและ
บัณฑิตศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมการประชุมวิชาการหรือนาเสนอผลงานทาง
วิชาการในที่ประชุมระหว่างสถาบัน หรือที่ประชุมระดับชาติหรือ
นานาชาติ
มีกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมให้แก่นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี
และบัณฑิตศึกษาที่จดั โดยสถาบัน
มีระบบและกลไกสนับสนุนการประยุกต์ใช้ผลงานจากวิทยานิพนธ์ของ
นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และมีการรับรองการใช้ประโยชน์จริงจาก
หน่วยงานภาครัฐ หรือเอกชน หรือหน่วยงานวิชาชีพ (เฉพาะกลุ่ม ค 1)
มีการพัฒนาทักษะนักศึกษาในการจัดทาบทความจากวิทยานิพนธ์และมี
การนาไปตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ (เฉพาะกลุ่ม ง)
เกณฑ์การประเมิน
1. เกณฑ์ ทวั่ ไป
คะแนน 1
คะแนน 2
คะแนน 3
มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ
1 ข้อ
2 ข้อ
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการดาเนินการ
3 ข้อ
มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ
4 ข้อ
5 ข้อ
คะแนน 3
คะแนน 4
2. เกณฑ์ เฉพาะกลุ่ม ค1 และ ง
คะแนน 1
มีการ
ดาเนินการ
1 ข้อ
คะแนน 2
มีการ
ดาเนินการ
2 ข้อ
มีการ
ดาเนินการ
3 ข้อ
มีการ
ดาเนินการ
4 ข้อ
คะแนน 5
มีการดาเนินการครบ 5 ข้อ
ตามเกณฑ์ทั ่วไป และ
ครบถ้วนตามเกณฑ์มาตรฐาน
เพิ่มเติมเฉพาะกลุม่
ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 ระดับความสาเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรม
จริยธรรมที่จดั ให้กบั นักศึกษา(O)
1.
มีการกาหนดพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสาหรับนักศึกษาที่ตอ้ งการ
ส่งเสริมไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร
2.
มีการถ่ายทอดหรือเผยแพร่พฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสาหรับ
นักศึกษาที่ตอ้ งการส่งเสริมตามข้อ 1 ไปยังผูบ้ ริหาร คณาจารย์
นักศึกษาและผูเ้ กี่ยวข้องทราบอย่างทั ่วถึงทั้งสถาบัน
มีโครงการหรือกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาพฤติกรรมด้านคุณธรรม
จริยธรรมที่ กาหนดในข้อ 1 โดยระบุตวั บ่งชี้และเป้าหมายวัด
ความสาเร็จ
มีการประเมินผลโครงการหรือกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของ
นักศึกษาตามตัวบ่งชี้และเป้าหมายที่กาหนดในข้อ 3 โดยมีผลการ
ประเมินบรรลุเป้าหมายอย่างน้อยร้อยละ 90 ของตัวบ่งชี้
3.
4.
5.
มีนักศึกษาหรือกิจกรรมที่เกี่ยวกับนักศึกษาได้รบั การยกย่องชมเชย ประกาศ
เกียรติคณ
ุ ด้านคุณธรรมจริยธรรม โดยหน่วยงานหรือองค์การระดับชาติ
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 1
คะแนน 2
คะแนน 3
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการ
ดาเนินการ
1 ข้อ
มีการ
ดาเนินการ
2 ข้อ
มีการ
ดาเนินการ
3 ข้อ
มีการ
ดาเนินการ
4 ข้อ
มีการ
ดาเนินการ
5 ข้อ
คณ
ุ ธรรมจริ ยธรรมของน.ศ.ต้ องบอกรายละเอียดว่ ามีอะไรบ้ าง?
และต้ องเผยแพร่ ให้ ผ้ บู ริ หาร คณาจารย์ น.ศ.และผ้ เู กีย่ วข้ องทราบ
อย่ างทัว่ ถึงทัง้ สถาบัน
ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 ระดับความสาเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรม
จริยธรรมที่จดั ให้กบั นักศึกษา(O)
หมายเหตุ:
การยกย่องชมเชยที่มหาวิทยาลัยจัดนับเป็ นระดับชาติได้
ต้องมีกรรมการภายนอกมหาวิทยาลัยอย่างน้อยร้อยละ
๕๐ และมีผเู ้ ข้าร่วมแข่งขันตัง้ แต่๓สถาบันขึ้นไป และมี
การประชาสัมพันธ์ให้เข้าร่วมอย่างกว้างขวาง
หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติ หมายถึง หน่วยงานนอก
สถาบันระดับกรม หรือเทียบเท่า เช่นระดับจังหวัด หรือ
รัฐวิสาหกิจ หรือองค์การมหาชน หรือ
บริษทั
มหาชน หรือองค์กรกลาง เช่น สภาหอการค้า สภา
อุตสาหกรรม สภาวิชาชีพ
ี้ น
ต ัวบ่งชพ
ื้ ฐาน
ด้านคุณภาพบ ัณฑิต
ี อิสระ
๑. บัณฑิตปริญญาตรีทไี่ ด ้งานทาหรือประกอบอาชพ
ภายใน ๑ ปี
๒. คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โทและเอก ตามกรอบ
ึ ษาแห่งชาติ
มาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศก
ึ ษาระดับปริญญาโททีไ่ ด ้รับ
๓. ผลงานของผู ้สาเร็จการศก
การตีพม
ิ พ์หรือเผยแพร่
ึ ษาระดับปริญญาเอกทีไ่ ด ้รับ
๔. ผลงานของผู ้สาเร็จการศก
การตีพม
ิ พ์หรือเผยแพร่
28
ี อิสระ
๑. บัณฑิตปริญญาตรีทไี่ ด ้งานทาหรือประกอบอาชพ
ภายใน ๑ ปี
วิธก
ี ารคานวณ
จานวนบัณฑิตปริญญาตรีทไี่ ด ้งานทาหรือ
ี อิสระภายใน ๑ ปี
ประกอบอาชพ
จานวนบัณฑิตทีต
่ อบแบบสารวจทัง้ หมด
X ๑๐๐
ึ ษาหรือ มีก จ
หมายเหตุ ไม่นั บ รวมบั ณ ฑิต ที่ม ีง านท าก่อ นเข ้าศ ก
ิ การของตนเองที่ม ี
ึ ษาต่อในระดับบัณฑิตศก
ึ ษา ผู ้อุปสมบท และผู ้ได ้รับการ
รายได ้ประจาอยูแ
่ ล ้ว ผู ้ทีศ
่ ก
เกณฑ์ทหาร
ทัง้ นี้จานวนบัณฑิตทีต
่ อบแบบสารวจต ้องไม่น ้อยกว่าร ้อยละ ๗๐ ของผู ้สาเร็ จ
ึ ษา
การศก
เกณฑ์การให้คะแนน
้ ัญญ ัติไตรยางศเ์ ทียบ กาหนดร้อยละ ๑๐๐ เท่าก ับ ๕ คะแนน ทุกกลุม
ใชบ
่ สาขาวิช29
า
๒. คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โทและเอก
ึ ษาแห่งชาติ
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศก
วิธก
ี ารคานวณ
ผลรวมของค่าคะแนนทีไ่ ด ้จากการประเมินบัณฑิต
จานวนบัณฑิตทีไ่ ด ้รับการประเมินทัง้ หมด
หมายเหตุ ข ้อมูล จากการส ารวจต ้องมีค วามเป็ นตั ว แทนของ
ึ ษาทัง้ ในเชงิ ปริมาณและในเชงิ คุณภาพครอบคลุม
ผู ้สาเร็จการศก
ึ ษา
ทุก คณะ อย่า งน อ
้ ยร อ้ ยละ ๒๐ ของจ านวนผู ้ส าเร็ จ การศ ก
ในแต่ละระดับ
เกณฑ์การให้คะแนน
้ า
ใชค
่ เฉลีย
่ ของคะแนนประเมินบ ัณฑิต (คะแนนเต็ม ๕)
30
๑๔. การพัฒนาคณาจารย์
กาหนดค่านา้ หน ักระด ับคุณภาพอาจารย์ ด ังนี้
ึ ษา
วุฒก
ิ ารศก
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
อาจารย์
๐
๒
๕
่ ยศาสตราจารย์
ผูช
้ ว
๑
๓
๖
รองศาสตราจารย์
๓
๕
๘
ศาสตราจารย์
๖
๘
๑๐
ตาแหน่งทางวิชาการ
31
วิธก
ี ารคานวณ
ผลรวมถ่วงนา้ หน ักของอาจารย์
ประจา
จานวนอาจารย์ประจาทงหมด
ั้
เกณฑ์การให้คะแนน
้ ัญญ ัติไตรยางศเ์ ทียบ โดยกาหนดให้คา่ ด ัชนี
ใชบ
คุณภาพอาจารย์เป็น ๖ เท่าก ับ ๕ คะแนน
•น ับจานวนอาจารย์ประจาทงหมด
ั้
ึ ษาต่อด้วย) *
(น ับจานวนอาจารย์ทล
ี่ าศก
ี
หมายเหตุ การคิดคะแนนกรณีสาขาวิชาการ/วิชาชพ
ี ให ้รับรองการเทียบเท่าตามหลักเกณฑ์
คุณวุฒค
ิ ณาจารย์ กรณีสาขาวิชาการ/วิชาชพ
ี ให ้เทียบปริญญาสูงสุดตามเกณฑ์ ก.พ.
ของ สกอ. และกรณีสายวิชาชพ
32
ี้ ี่ ๒.๔.๑ ร้อยละของอาจารย์ประจาทีไ่ ด้ร ับรางว ัลผลงาน
ต ัวบ่งชท
ี ในระด ับชาติหรือนานาชาติ (สบช.)(O)
ทางวิชาการ วิชาชพ
ชนิดของต ัวบ่งช ี้ : ผลล ัพธ์
เกณฑ์การประเมิน : กาหนดให้รอ
้ ยละ ๕ เท่าก ับคะแนนเต็ม ๕
สูตรการคานวณ :
ี ใน
อาจารย์ประจาทีไ่ ด้ร ับรางว ัลผลงานทางวิชาการหรือวิชาชพ
ระด ับชาติหรือนานาชาติ x ๑๐๐
อาจารย์ประจาทงหมด
ั้
้ ฐานและเอกสารหล ักฐานอ้างอิงทีเ่ กีย
ข้อมูลอ้างอิง : ข้อมูลพืน
่ วข้อง
ทงนี
ั้ ้ อาจารย์ประจาให้น ับรวมน ักวิจ ัยและการน ับสาหร ับวิทยาล ัยใน
สถาบ ันพระบรมราชชนก ไม่น ับซา้ หากได้ร ับหลายรางว ัล
ี้ ี่ ๒.๖.๑ ประสท
ิ ธิผลของการจ ัดการเรียนการสอน
ต ัวบ่งชท
(สบช.)(O)
ชนิดของต ัวบ่งช ี้ : ผลล ัพธ์
เกณฑ์มาตรฐาน :
๑) ทุ ก รายวิช ามีก ารพ ฒ
ั นารายวิช า ตามผลการประเมิน
ึ ษาและ /หรือแหล่งฝึ กหรือตามทีแ
ภาพรวมของรายวิชาโดยน ักศก
่ สดง
่ ผล
ไว้ใน มคอ. ๕ หรือ ๖ หรือตามผลการประเมินอืน
่ ๆ ทีเ่ กีย
่ วข้อง เชน
้ ัณฑิต ฯ
การสารวจความเห็นผูใ้ ชบ
ี มีแ ผนการสอนในทุก หน่ว ยการเรีย นทาง
๒) ทุก รายวิช าช พ
ี (ทงภาคทฤษฎี
วิชาชพ
ั้
และภาคปฏิบ ัติ)
ี มีแผนการสอนทุกหน่วยการเรียนทีม
๓) ทุกรายวิชาชพ
่ ค
ี วาม
สอดคล้อง (ALIGN) ระหว่างว ัตถุประสงค์กจ
ิ กรรมการสอน การว ัดและ
ประเมินผล
๔) ทุกรายวิชามีผ ังการออกข้อสอบ (Test Blueprint)
ี้ ี่ ๒.๖.๑ ประสท
ิ ธิผลของการจ ัดการเรียนการสอน
ต ัวบ่งชท
(สบช.)(ต่อ)
๕) มีการอธิบาย course syllabus หรือ มคอ. ๓ หรือ มคอ. ๔
และ Test Blueprint ในชว่ ั โมงแรกของการเรียนการสอน
ี มีการวิพากษ์ขอ
๖) ทุกรายวิชาชพ
้ สอบ และมีการพิจารณา
ความเหมาะสมของข้อสอบในทุกรายวิชา
๗) ทุกรายวิชามีการวิเคราะห์ขอ
้ สอบ โดยมีการวิเคราะห์ความ
เทีย
่ งตรง ความยากง่าย และค่าอานาจจาแนกของข้อสอบทงรายข้
ั้
อ
คาถามและรายต ัวเลือก
๘) มีการบูร ณาการการเรีย นการสอนรายวิชาก ับการวิจ ัยหรือ
ิ ปะว ัฒนธรรมหรือการจ ัดการ
การบริการวิชาการหรือการท านุบ ารุงศ ล
ึ ษา อย่างน้อยร้อยละ ๑๐ ของรายวิชาชพ
ี
ความรูห
้ รือการพ ัฒนาน ักศก
(ในกรณี ท ม
ี่ ีก ารบู ร ณาการในรายวิช าอื่น ๆให้น บ
ั รวมท งั้ ต วั ต งั้ แ ละ
ต ัวหาร)
ี้ ี่ ๒.๖.๑ ประสท
ิ ธิผลของการจ ัดการเรียน
ต ัวบ่งชท
การสอน (สบช.)(ต่อ)
๙) ทุกรายวิชามีการทวนสอบการดาเนินงานการสอน และมีการ
ประเมินผลการจ ัดการเรียนการสอนทุกรายวิชาในภาพรวม
เกณฑ์การประเมิน :
คะแนน ๑
มีการ
ดาเนินการ
๕ ข้อ
คะแนน ๒
มีการ
ดาเนินการ
๖ ข้อ
คะแนน ๓
มีการ
ดาเนินการ
๗ ข้อ
คะแนน ๔
มีการ
ดาเนินการ
๘ ข้อ
คะแนน ๕
มีการ
ดาเนินการ
ครบทุกข้อ
ี้ ี่ ๒.๗.๓.๒ ผูส
ึ ษาภายในเวลาทีก
ต ัวบ่งชท
้ าเร็จการศก
่ าหนด
(สมศ. ๓)(O)
ชนิดของต ัวบ่งช ี้ : ผลล ัพธ์
วิธก
ี ารคานวณ :
ึ ษาทีส
ึ ษาภายในระยะเวลาทีก
จานวนน ักศก
่ าเร็จการศก
่ าหนด
ึ ษาร ับเข้าทงหมด(รห
จานวนน ักศก
ั้
ัสเดียวก ัน)
หล ักเกณฑ์การให้คะแนน :
้ ัญญ ัติไตรยางศเ์ ทียบ กาหนดร้อยละ ๙๕ เท่าก ับ ๕ คะแนน
ใชบ
ี้ ี่ ๒.๗.๔ ร้อยละของบ ัณฑิตระด ับปริญญาตรีทส
ต ัวบ่งชท
ี่ อบ
ี หรือข้อสอบมาตรฐานผ่านในครงแรก
ใบประกอบวิชาชพ
ั้
(สบช.)(O)
ชนิดของต ัวบ่งช ี้ : ผลล ัพธ์
สูตรการคานวณผลการดาเนินงาน :
ึ ษาทีส
ผลรวมของจานวนผูส
้ าเร็จการศก
่ อบผ่าน
ี /ข้อสอบมาตรฐานในครงแรก
ใบประกอบวิชาชพ
ั้
ของการสอบ ๓ ปี ย้อนหล ัง
x ๑๐๐
ึ ษาทีเ่ ข้าสอบเป็นครงแรก
ผลรวมของจานวนผูส
้ าเร็จการศก
ั้
ทงหมด
ั้
๓ ปี ย้อนหล ัง
เกณฑ์การให้คะแนน :
้ ัญญ ัติไตรยางศเ์ ทียบ โดยกาหนดให้รอ
ใชบ
้ ยละ ๗๕ เท่าก ับคะแนน
เต็ม ๕
ี้ ี่ ๒.๗.๔ ร้อยละของบ ัณฑิตระด ับปริญญาตรีท ี่
ต ัวบ่งชท
ี หรือข้อสอบมาตรฐานผ่านใน
สอบใบประกอบวิชาชพ
ครงแรก
ั้
(สบช.)(ต่อ)
้ อ
ข้อมูลทีต
่ อ
้ งการ : ใชข
้ มูลย้อนหล ัง ๓ ปี
ี
ข้อมูลได้จากการบ ันทึกผลการสอบจากสภา/สมาคมวิชาชพ
ึ ษาควรมีการจ ัดเก็บข้อมูลผลการสอบด ังกล่าวไว้เพือ
้ ถาบ ันอุดมศก
ทงนี
ั้ ส
่
ึ ษา และเพือ
ประโยชน์ในการวางแผนบริหารการศก
่ ตรวจสอบความ
ี ด้วย โดยข้อมูลทีต
ถูกต้องของผลการสอบก ับสภา/สมาคมวิชาชพ
่ อ
้ ง
จ ัดเก็บมีด ังนี้
๑.
ึ ษาทงหมด
ึ ษานน
จานวนบ ัณฑิตทีส
่ าเร็จการศก
ั้
ในปี การศก
ั้
ี เป็นครงั้
้ ทะเบียนใบประกอบวิชาชพ
๒. จานวนบ ัณฑิตทีเ่ ข้าสอบเพือ
่ ขึน
ึ ษานน
แรก ในปี การศก
ั้
ึ ษา และสอบได้
๓. จานวนบ ัณฑิตทีส
่ อบเป็นครงแรกหล
ั้
ังสาเร็จการศก
ี กาหนดไว้อย่างครบถ้วน ในปี การศก
ึ ษานน
ตามเกณฑ์ทส
ี่ ภาวิชาชพ
ั้
องค์ประกอบที่ ๓ กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา

จานวน ๒ ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 ระบบและกลไกการให้คาปรึกษาและบริการ
ด้านข้อมูลข่าวสาร(P)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
มีการจัดบริการให้คาปรึกษาทางวิชาการและแนะแนวการใช้ชีวิตแก่
นักศึกษา
มีการจัดบริการข้อมูลข่าวสารที่เป็ นประโยชน์ตอ่ นักศึกษา
มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาประสบการณ์ทางวิชาการและวิชาชีพแก่
นักศึกษา
มีการจัดบริการข้อมูลข่าวสารที่เป็ นประโยชน์ตอ่ ศิษย์เก่า
มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรูแ้ ละประสบการณ์ให้ศิษย์เก่า
มีผลการประเมินคุณภาพของการให้บริการในข้อ 1 – 3 ทุกข้อไม่ต ่ากว่า
3.51 จากคะแนนเต็ม 5
มีการนาผลการประเมินคุณภาพของการให้บริการมาใช้เป็ นข้อมูลในการ
พัฒนาการจัดบริการที่สนองความต้องการของนักศึกษา
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 1
มีการ
ดาเนินการ
1 ข้อ
คะแนน 2
คะแนน 3
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการ
มีการ
มีการ
ดาเนินการ ดาเนินการ ดาเนินการ
2 หรือ 3 ข้อ 4 หรือ 5 ข้อ 6 ข้อ
มีการ
ดาเนินการ
7 ข้อ
หมายเหตุ :รายละเอียดของการดาเนินการเพือ่ ตอบเกณฑ์ แต่ ละข้ อ
ดูได้ จากค่ มู ือหน้ า ๑๑๓-๑๑๖
: ในกรณีคณะหรื อสถาบันยังไม่ มีศิษย์ เก่า
ถือว่ าผ่ านเกณฑ์ มาตรฐานข้ อ๔และข้ อ๕โดยอนุโลม
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา
(P)
1.
สถาบันจัดทาแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่ส่งเสริมผล
การเรียนรูต้ ามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
ทุกด้าน
(กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ๕ ด้านได้แก่
๑. ด้านคุณธรรมจริยธรรม
๒. ด้านความรู ้ ๓. ด้านทักษะทางปั ญญา ๔. ด้านทักษะ
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบและ
๕. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ)
2. มีกิจกรรมให้ความรูแ้ ละทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแก่
นักศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา
(P)
3.
มีการส่งเสริมให้นกั ศึกษานาความรูด้ า้ นการประกันคุณภาพ
ไปใช้ในการจัดกิจกรรมที่ดาเนินการโดยนักศึกษาอย่างน้อย
5 ประเภทสาหรับระดับปริญญาตรี และอย่างน้อย 2 ประเภท
สาหรับระดับบัณฑิตศึกษา จากกิจกรรมต่อไปนี้
-กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึง
ประสงค์
-กิจกรรมกีฬาหรือการส่งเสริมสุขภาพ
-กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์หรือรักษาสิ่งแวดล้อม
-กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม
-กิจกรรมส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา (ต่อ)
4. มีการสนับสนุนให้นกั ศึกษาสร้างเครือข่ายพัฒนาคุณภาพ
ภายในสถาบันและระหว่างสถาบัน และมีกิจกรรมร่วมกัน
(ระหว่างคณะในสถาบันและระหว่างคณะนอกสถาบัน อย่างน้อย๒
สถาบัน)
5. สถาบันมีการประเมินความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ของ
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
6. สถาบันมีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือ
ปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 1
คะแนน 2
มีการ
ดาเนินการ
1 ข้อ
มีการ
ดาเนินการ
2 ข้อ
คะแนน 3
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการ
มีการ
ดาเนินการ ดาเนินการ
3 หรือ 4 ข้อ 5 ข้อ
มีการ
ดาเนินการ
6 ข้อ
องค์ประกอบที่ ๔ การวิจยั

สกอ.จานวน ๓ ตัวบ่งชี้
 สมศ.จานวน ๓ ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์(P)
1.
มีระบบและกลไกบริหารงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ เพื่อให้บรรลุ
เป้าหมายตามแผนด้านการวิจยั ของสถาบัน และดาเนินการตามระบบที่
กาหนด
2. มีการบูรณาการกระบวนการวิจยั หรืองานสร้างสรรค์กบั การจัดการเรียน
การสอน
เช่น: ส่งเสริม สนับสนุน
ให้ น.ศอยูใ่ นทีมวิจยั ของอาจารย์
ให้น.ศ.ฟั งบรรยาย สัมมนาเกี่ยวกับผลความก้าวหน้าของงานวิจยั ของ
อาจารย์ หรือ visiting professor
จัดให้มีการประชุมเสนอผลงานวิจยั หรือส่งเสริมให้น.ศ. ร่วมประชุมเสนอ
ผลงานวิจยั
ให้อ.นาผลลัพธ์จากงานวิจยั เป็ นส่วนหนึ่งในเนื้อหาการจัดการเรียนการสอน
(ไม่นบ
ั วิชา senior project &thesis)
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์(P)
3. มีการพัฒนาศักยภาพด้ านการวิจัยหรืองาน
สร้ างสรรค์ และให้ ความรู้ด้านจรรยาบรรณการวิจัย
แก่ อาจารย์ ประจาและนักวิจัย
4. มีการจัดสรรงบประมาณของสถาบัน เพือ่ เป็ นทุน
วิจัยหรืองานสร้ างสรรค์
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ (ต่อ)
5. มีการสนับสนุนพันธกิจด้ านการวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ตามอัตลักษณ์ ของ
สถาบันอย่ างน้ อยในประเด็นต่ อไปนี้
-ห้ องปฏิบัติการวิจัยฯ หรือหน่ วยวิจัยฯ หรือศูนย์ เครื่องมือ หรือศูนย์
ให้ คาปรึกษาและสนับสนุนการวิจัยฯ
-ห้ องสมุดหรือแหล่งค้ นคว้ าข้ อมูลสนับสนุนการวิจัยฯ
-สิ่ งอานวยความสะดวกหรือการรักษาความปลอดภัยในการวิจัยฯ เช่ น
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบรักษาความปลอดภัยในห้ องปฏิบัตกิ าร
วิจัย
-กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมงานวิจัยฯ เช่ น การจัดประชุ มวิชาการ การ
จัดแสดงงานสร้ างสรรค์ การจัดให้ มีศาสตราจารย์ อาคันตุกะหรือ
ศาสตราจารย์ รับเชิญ (visiting professor)
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ (ต่อ)
6.
มีการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนในข้ อ 4 และข้ อ 5 อย่ าง
ครบถ้ วนทุกประเด็น
7. มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงการสนับสนุนพันธกิจด้ านการวิจัย
หรืองานสร้ างสรรค์ ของสถาบัน
8. มีระบบและกลไกเพือ่ สร้ างงานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ บนพืน้ ฐาน
ภูมิปัญญาท้ องถิ่น หรือจากสภาพปัญหาของสั งคม เพือ่ ตอบสนอง
ความต้ องการของท้ องถิ่นและสั งคม และดาเนินการตามระบบที่กาหนด
(เฉพาะกลุ่ม ข และ ค 2)
เกณฑ์การประเมิน
1. เกณฑ์ ทวั่ ไป
คะแนน 1
คะแนน 2
คะแนน 3
มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ
1 ข้อ
2 หรือ 3 ข้อ
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการดาเนินการ
4 หรือ 5 ข้อ
มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ
6 ข้อ
7 ข้อ
คะแนน 4
2. เกณฑ์ เฉพาะกลุ่ม ข และ ค2
คะแนน 1
คะแนน 2
คะแนน 3
มีการ
ดาเนินการ
1 ข้อ
มีการ
ดาเนินการ
2 หรือ 3 ข้อ
มีการ
ดาเนินการ
4 หรือ 5 ข้อ
มีการ
ดาเนินการ
6 ข้อ
คะแนน 5
มีการดาเนินการครบ 7 ข้อ
ตามเกณฑ์ทั ่วไป และ
ครบถ้วนตามเกณฑ์มาตรฐาน
เพิ่มเติมเฉพาะกลุม่
ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 ระบบและกลไกจัดการความรูจ้ ากงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์(P)
1. มีระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจยั หรืองาน
สร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสาร
ระดับชาติหรือนานาชาติ และมีการเผยแพร่ผลงานวิจยั หรือ
งานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ใน
วารสารระดับชาติหรือนานาชาติ
2. มีระบบและกลไกการรวบรวม คัดสรร วิเคราะห์และ
สังเคราะห์ความรูจ้ ากงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ เพื่อให้
เป็ นองค์ความรูท้ ี่คนทั ่วไปเข้าใจได้ และดาเนินการตาม
ระบบที่กาหนด
3. มีการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่องค์ความรูจ้ ากงานวิจยั
หรืองานสร้างสรรค์ที่ได้จากข้อ 2 สูส่ าธารณชนและ
ผูเ้ กี่ยวข้อง
ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 ระบบและกลไกจัดการความรูจ้ ากงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์(P)
4. มีการนาผลงานงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์
และมีการรับรองการใช้ประโยชน์จริงจากหน่วยงานภายนอกหรือ
ชุมชน
5. มีระบบและกลไกเพื่อช่วยในการคุม้ ครองสิทธิ์ของงานวิจยั หรืองาน
สร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์ และดาเนินการตามระบบที่กาหนด
6. มีระบบและกลไกส่งเสริมการจดสิทธิบตั รหรืออนุสิทธิบตั ร และมี
การยืน่ จดสิทธิบตั รและอนุสิทธิบตั ร (เฉพาะกลุม่ ค1 และ ง)
เกณฑ์การประเมิน
1. เกณฑ์ ทวั่ ไป
คะแนน 1
คะแนน 2
คะแนน 3
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ
1 ข้อ
2 ข้อ
3 ข้อ
4 ข้อ
5 ข้อ
2. เกณฑ์ เฉพาะกลุ่ม ค1 และ ง
คะแนน 1
มีการ
ดาเนินการ
1 ข้อ
คะแนน 2
มีการ
ดาเนินการ
2 ข้อ
คะแนน 3
มีการ
ดาเนินการ
3 ข้อ
คะแนน 4
มีการ
ดาเนินการ
4 ข้อ
คะแนน 5
มีการดาเนินการครบ 5 ข้อ
ตามเกณฑ์ทั ่วไป และ
ครบถ้วนตามเกณฑ์มาตรฐาน
เพิ่มเติมเฉพาะกลุม่
ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจยั และงานสร้างสรรค์ตอ่ จานวน
อาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจา(I)
เกณฑ์ การประเมิน โดยการแปลงจานวนเงิน*ต่ อจานวนอาจารย์ประจาและนักวิจัยประจา
เป็ นคะแนนระหว่ าง 0 – 5
1. เกณฑ์ เฉพาะสถาบันกลุ่ม ข และ ค2 จาแนกเป็ น 3 กลุ่มสาขาวิชา
1.1 กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
จานวนเงินสนับสนุนงานวิจัย**หรืองานสร้ างสรรค์ จากภายในและภายนอกสถาบันที่
กาหนดให้ เป็ นคะแนนเต็ม 5
= 60,000 บาทขึน้ ไปต่ อคน
1.2 กล่ มุ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ สุขภาพ
จานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ จากภายในและภายนอกสถาบันที่
กาหนดให้ เป็ นคะแนนเต็ม 5
= 50,000 บาทขึน้ ไปต่ อคน
1.3 กล่ มุ สาขาวิชามนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์
จานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ จากภายในและภายนอกสถาบันที่
กาหนดให้ เป็ นคะแนนเต็ม 5
= 25,000 บาทขึน้ ไปต่ อคน
หมายเหตุ * นับเงิน In cash และแบ่ งสัดส่ วนหากร่ วมวิจัยระหว่ างหน่ วยงาน ** นับได้ ทั้งงานวิจัยเชิง
วิชาการ วิจัยสถาบัน วิจัยการเรียนการสอนสอน แต่ เฉพาะงานของอาจารย์ และนักวิจัย
ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจยั และงานสร้างสรรค์ตอ่
จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจา(ต่อ)
2. เกณฑ์ประเมินเฉพาะสถาบันกลุ่ม ค1 และ ง จาแนกเป็ น 3 กลุ่มสาขาวิชา
2.1 กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
จานวนเงินสนับสนุนงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอก
สถาบันที่กาหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = 180,000 บาทขึ้นไปต่อคน
2.2 กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
จานวนเงินสนับสนุนงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอก
สถาบันที่กาหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = 150,000 บาทขึ้นไปต่อคน
2.3 กลุ่มสาขาวิชามนุ ษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
จานวนเงินสนับสนุนงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอก
สถาบันที่ กาหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = 75,000 บาทขึ้นไปต่อคน
หมายเหตุ
1.
จานวนอาจารย์และนักวิจยั ประจา ให้นับตามปี การศึกษา และนับเฉพาะที่ปฏิบตั งิ านจริงไม่
นับรวมผูล้ าศึกษาต่อ
2.
ให้นับจานวนเงินที่มีการลงนามในสัญญารับทุนในปี การศึกษาหรือปี งบประมาณหรือปี
ปฏิทิน(ม.อ.นับปี การศึกษา)นั้น ๆ ไม่ใช่จานวนเงินที่เบิกจ่ายจริง
3.
กรณีที่มีหลักฐานการแบ่งสัดส่วนเงินสนับสนุนงานวิจยั ซึ่งอาจเป็ นหลักฐานจากแหล่งทุน
หรือหลักฐานจากการตกลงร่วมกันของสถาบันที่รว่ มโครงการ ให้แบ่งสัดส่วนเงินตาม
หลักฐานที่ปรากฏ กรณีที่ไม่มีหลักฐาน ให้แบ่งเงินตามสัดส่วนผูร้ ว่ มวิจยั ของแต่ละสถาบัน
4.
การนับจานวนเงินสนับสนุนโครงการวิจยั สามารถนับเงินโครงการวิจยั สถาบันที่ได้ลงนาม
ในสัญญารับทุน โดยอาจารย์หรือนักวิจยั แต่ไม่สามารถนับเงินโครงการวิจยั สถาบันที่
บุคลากรสายสนับสนุนที่ไม่ใช่นักวิจยั เป็ นผูด้ าเนินการ
ี้ น
ตัวบ่งชพ
ื้ ฐาน
ด้านงานวิจ ัยและงานสร้างสรรค์
๕. งานวิจ ัยหรืองานสร้างสรรค์ทไี่ ด้ร ับการตีพม
ิ พ์หรือ
เผยแพร่
้ ระโยชน์
๖. งานวิจ ัยหรืองานสร้างสรรค์ทน
ี่ าไปใชป
๗. ผลงานวิชาการทีไ่ ด้ร ับการร ับรองคุณภาพ
59
๕. งานวิจ ัยหรืองานสร้างสรรค์ทไี่ ด้ร ับการตีพม
ิ พ์
หรือเผยแพร่
กาหนดระด ับคุณภาพบทความวิจ ัยทีต
่ พ
ี ม
ิ พ์
ค่านา้ หน ัก
๐.๒๕
๐.๕๐
๐.๗๕
ระด ับคุณภาพงานวิจ ัย
-
ื เนือ
มีการตีพม
ิ พ์ในรายงานสบ
่ งจากการประชุมวิชาการระดับชาติ/ระดับ
นานาชาติ หรือมีการตีพม
ิ พ์ในวารสารวิชาการทีป
่ รากฏในฐานข ้อมูล TCI
-
ื่ ปรากฏอยูใ่ นประกาศของ สมศ.
มีการตีพม
ิ พ์ในวารสารวิชาการระดับชาติทม
ี่ ช
ี อ
มีการตีพม
ิ พ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติทป
ี่ รากฏในฐานข ้อมูลการจั ด
อันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank: www.scimagojr.com) โดย
วารสารนั น
้ ถูกจัดอยูใ่ นควอไทล์ท ี่ ๓ หรือ ๔ (Q3 หรือ Q4) ในปี ลา่ สุด ใน
subject category ทีต
่ พ
ี ม
ิ พ์ หรือมีการตีพม
ิ พ์ในวารสารวิชาการระดับ
ื่ ปรากฏอยูใ่ นประกาศของ สมศ.
นานาชาติทม
ี่ ช
ี อ
๑.๐๐
- มีการตีพม
ิ พ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติทป
ี่ รากฏในฐานข ้อมูลการจั ด
อันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank: www.scimagojr.com) โดย
วารสารนั น
้ ถูกจัดอยูใ่ น ควอไทล์ท ี่ ๑ หรือ ๒ (Q1 หรือ Q2) ในปี ลา่ สุด ใน
subject category ทีต
่ พ
ี ม
ิ พ์ หรือมีการตีพม
ิ พ์ในวารสารวิชาการระดับ
นานาชาติ
ทป
ี่ ดรากฏในฐานข
้อมูลสากลมวิISI
หรือ้องสScopus
- การสง่ บทความเพื
อ
่ พิจารณาคั
เลือกให ้นาเสนอในการประชุ
ชาการต
ง่ เป็ นฉบับสมบูรณ์ (Full Paper)
-
และเมือ
่ ได ้รับการตอบรับและตีพม
ิ พ์แล ้ว การตีพม
ิ พ์ต ้องตีพม
ิ พ์เป็ นฉบับสมบูรณ์ซงึ่ สามารถอยูใ่ นรูปแบบเอกสาร
60
ื่ อิเล็กทรอนิกสไ์ ด ้
หรือสอ
กาหนดระด ับคุณภาพงานสร้างสรรค์ทเี่ ผยแพร่
ระด ับคุณภาพการเผยแพร่*
ค่านา้ หน ัก
๐.๑๒๕
๐.๒๕
๐.๕๐
๐.๗๕
๑.๐๐
-
งานสร ้างสรรค์ทไี่ ด ้รับการเผยแพร่ในระดับสถาบันหรือจังหวัด
-
งานสร ้างสรรค์ทไี่ ด ้รับการเผยแพร่ในระดับชาติ
-
งานสร ้างสรรค์ทไี่ ด ้รับการเผยแพร่ในระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ
ี น
งานสร ้างสรรค์ทไี่ ด ้รับการเผยแพร่ในระดับภูมภ
ิ าคอาเซย
งานสร ้างสรรค์ทไี่ ด ้รับการเผยแพร่ในระดับนานาชาติ
ึ ษาร่วม
*องค์ประกอบของคณะกรรมการไม่น ้อยกว่า ๓ คน และต ้องมีบค
ุ คลภายนอกสถานศก
พิจารณาด ้วย
ี น หมายถึง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชย
ี ตะวันออกเฉียงใต ้ (Association of South East Asian
อาเซย
ี สปป.ลาว มาเลเซย
ี พม่า
Nations) มี ๑๐ ประเทศ ได ้แก่ บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซย
ฟิ ลป
ิ ปิ นส ์ สงิ คโปร์ ไทย และเวียดนาม
การเผยแพร่ในระด ับความร่วมมือระหว่างประเทศ เป็ นโครงการเฉพาะระหว่างประเทศ
ี น เป็ นการเผยแพร่เฉพาะในกลุม
ี น ๑๐ ประเทศ
การเผยแพร่ในระด ับภูมภ
ิ าคอาเซย
่ อาเซย
(อย่างน ้อย ๕ ประเทศ หมายถึงนับรวมตัวเองด ้วย) และการให ้คะแนนตามแหล่งเผยแพร่
ไม่จาเป็ นต ้องไปแสดงในต่างประเทศ
การเผยแพร่ในระด ับนานาชาติ เป็ นการเผยแพร่ทเี่ ปิ ดกว ้างสาหรับทุกประเทศ (อย่างน ้อย ๕ ประเทศ
ี น)
ทีไ่ ม่ได ้อยูใ่ นกลุม
่ อาเซย
61
วิธีการคานวณ
ผลรวมถ่วงนา้ หน ักของงานวิจ ัย
หรืองานสร้างสรรค์ทต
ี่ พ
ี ม
ิ พ์หรือเผยแพร่
จานวนอาจารย์ประจาและน ักวิจ ัยประจา
ทงหมด
ั้
X
๑๐๐
เกณฑ์การให้คะแนน
้ ัญญ ัติไตรยางศเ์ ทียบ โดยกาหนดร้อยละ
ใชบ
เท่าก ับ ๕ คะแนน จาแนกตามกลุม
่ สาขาวิชา
กลุม
่ สาขาวิชา
วิทยาศาสตร์สข
ุ ภาพ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์
ร้อยละ
๒๐
๒๐
๑๐
62
้ ระโยชน์
๖. งานวิจ ัยหรืองานสร้างสรรค์ทน
ี่ าไปใชป
วิธก
ี ารคานวณ
ผลรวมของจานวนงานวิจ ัยหรือ
้ ระโยชน์
งานสร้างสรรค์ทน
ี่ าไปใชป
จานวนอาจารย์ประจาและน ักวิจ ัย
ประจาทงหมด
ั้
X
๑๐๐
เกณฑ์การให้คะแนน
้ ัญญ ัติไตรยางศเ์ ทียบ โดยกาหนดร้อยละ ๒๐
ใชบ
เท่าก ับ ๕ คะแนน ทุกกลุม
่ สาขาวิชา
63
๗. ผลงานวิชาการทีไ่ ด้ร ับการร ับรองคุณภาพ
กาหนดระด ับคุณภาพผลงานวิชาการ
ค่า
นา้ หน ัก
๐.๒๕
ระด ับคุณภาพ
บทความวิชาการทีไ่ ด ้รับการตีพม
ิ พ์ในวารสารระดับชาติ
๐.๕๐
บทความวิชาการทีไ่ ด ้รับการตีพม
ิ พ์ในวารสารระดับนานาชาติ
๐.๗๕
ื ทีม
ตาราหรือหนังสอ
่ ก
ี ารประเมินผ่านตามเกณฑ์โดยผู ้ทรงคุณวุฒ ิ
ึ ษากาหนด
ทีส
่ ถานศก
้
ต าราหรือ หนั ง ส ือ ที่ใ ช ในการขอผลงานทางวิ
ช าการและผ่ า นการ
พิจารณาตามเกณฑ์การขอตาแหน่งทางวิชาการแล ้ว หรือตาราหรือ
ื ที่ม ค
หนั ง ส อ
ี ุณ ภาพสูง มีผู ้ทรงคุณ วุฒ ต
ิ รวจอ่า นตามเกณฑ์ก ารขอ
ตาแหน่งทางวิชาการ
๑.๐๐
64
วิธก
ี ารคานวณ
ผลรวมถ่วงนา้ หน ักของผลงานวิชาการ
ทีไ่ ด้ร ับรองคุณภาพ
จานวนอาจารย์ประจาและน ักวิจ ัยประจา
ทงหมด
ั้
X
๑๐๐
เกณฑ์การให้คะแนน
้ ัญญ ัติไตรยางศเ์ ทียบ โดยกาหนดร้อยละ ๑๐ เท่าก ับ ๕
ใชบ
คะแนน ทุกกลุม
่ สาขาวิชา
65
องค์ประกอบที่ ๕ การบริการทางวิชาการแก่สงั คม

สกอ.จานวน ๒ ตัวบ่งชี้
 สมศ.จานวน ๓ ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สงั คม (P)
1.
2.
3.
4.
5.
มีระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สงั คม และ
ดาเนินการตามระบบที่กาหนด
มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สงั คมกับการเรียน
การสอน
มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สงั คมกับการวิจยั
มีการประเมินผลความสาเร็จของการบูรณาการงานบริการ
ทางวิชาการแก่สงั คมกับการเรียนการสอนและการวิจยั
มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการ
ทางวิชาการแก่สงั คมกับการเรียนการสอนและการวิจยั
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 1
คะแนน 2
คะแนน 3
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการ
ดาเนินการ
1 ข้อ
มีการ
ดาเนินการ
2 ข้อ
มีการ
ดาเนินการ
3 ข้อ
มีการ
ดาเนินการ
4 ข้อ
มีการ
ดาเนินการ
5 ข้อ
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 กระบวนการบริการวิชาการให้เกิดประโยชน์ตอ่ สังคม(P)
1.
2.
3.
4.
5.
มีการสารวจความต้องการของชุมชน หรือภาครัฐ หรือภาคเอกชน
หรือหน่วยงานวิชาชีพ เพื่อประกอบการกาหนดทิศทางและการ
จัดทาแผนการบริการทางวิชาการตามจุดเน้นของสถาบัน
มีความร่วมมือด้านบริการทางวิชาการเพื่อการเรียนรูแ้ ละเสริมสร้าง
ความเข้มแข็งของชุมชน หรือภาคเอกชน หรือภาครัฐ หรือ
หน่วยงานวิชาชีพ
มีการประเมินประโยชน์หรือผลกระทบของการให้บริการทาง
วิชาการต่อสังคม
มีการนาผลการประเมินในข้อ 3 ไปพัฒนาระบบและกลไก หรือ
กิจกรรมการให้บริการทางวิชาการ
มีการพัฒนาความรูท้ ี่ได้จากการให้บริการทางวิชาการและถ่ายทอด
ความรูส้ ูบ่ ุคลากรภายในสถาบันและเผยแพร่สูส่ าธารณชน
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 1
คะแนน 2
คะแนน 3
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการ
ดาเนินการ
1 ข้อ
มีการ
ดาเนินการ
2 ข้อ
มีการ
ดาเนินการ
3 ข้อ
มีการ
ดาเนินการ
4 ข้อ
มีการ
ดาเนินการ
5 ข้อ
ี้ น
ตัวบ่งชพ
ื้ ฐาน
ั
ด้านการบริการวิชาการแก่สงคม
๘. ผลการนาความรูแ
้ ละประสบการณ์จากการ
ให้บริการวิชาการมาใชใ้ นการพ ัฒนาการเรียนการ
สอนและ/หรือการวิจ ัย
๙. ผลการเรียนรูแ
้ ละเสริมสร้างความเข้มแข็งของ
ชุมชนหรือองค์กรภายนอก
71
ี้ าตรการสง
่ เสริม
ต ัวบ่งชม
ั
ี้ า ป้องก ัน หรือแก้ปญ
๑๘. ผลการชน
ั หาของสงคมใน
ด้านต่าง ๆ
ี้ า ป้องก ัน หรือแก้ปญ
๑๘.๑ ผลการชน
ั หาของ
ั
สงคมในประเด็
นที่ ๑ ภายในสถาบ ัน
้ี า ป้องก ัน หรือแก้ปญ
๑๘.๒ ผลการชน
ั หาของ
ั
สงคมในประเด็
นที่ ๒ ภายนอกสถาบ ัน
72
๘. ผลการนาความรูแ
้ ละประสบการณ์จากการ
ให้บริการวิชาการ มาใชใ้ นการพ ัฒนา
การเรียนการสอนและ/หรือการวิจ ัย
วิธก
ี ารคานวณ
จานวนโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการ
ทีน
่ ามาใชใ้ นการพ ัฒนาการเรียนการสอน
และการวิจ ัย
จานวนโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการ
ตามแผนทีส
่ ภาสถาบ ันอนุม ัติ
X
๑๐๐
เกณฑ์การให้คะแนน
้ ัญญ ัติไตรยางศเ์ ทียบ โดยกาหนดร้อยละ ๓๐ เท่าก ับ ๕ คะแนน
ใชบ
73
๙. ผลการเรียนรูแ
้ ละเสริมสร้างความเข้มแข็ง
ของชุมชนหรือองค์กรภายนอก
ประเด็นการพิจารณา
๑. มีการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) โดยการมีสว่ นร่วมของ
ชุมชนหรือองค์กร
๒. บรรลุเป้ าหมายตามแผนประจาปี ไม่ตา่ กว่าร ้อยละ ๘๐
ิ ทีม
๓. ชุมชนหรือองค์กรมีผู ้นาหรือสมาชก
่ ก
ี ารเรียนรู ้และดาเนิน
กิจกรรมอย่างต่อเนือ
่ ง
๔. ชุมชนหรือองค์กรสร ้างกลไกทีม
่ ก
ี ารพัฒนาตนเอง โดยคงอัตลักษณ์
ของคนในชุมชนและเอกลักษณ์ของท ้องถิน
่ อย่างต่อเนือ
่ งหรือยัง่ ยืน
๕. มีผลกระทบทีเ่ กิดประโยชน์สร ้างคุณค่าต่อสงั คม หรือชุมชน/องค์กร
มีความเข ้มแข็ง
74
เกณฑ์การให้คะแนน
๑
ปฏิบ ัติได้
๑ ข้อ
๒
ปฏิบ ัติได้
๒ ข้อ
๓
ปฏิบ ัติได้
๓ ข้อ
๔
ปฏิบ ัติได้
๔ ข้อ
๕
ปฏิบ ัติได้
๕ ข้อ
๑. “ต่อเนือ
่ ง” หมายถึง มีการดาเนินงานตัง้ แต่ ๒ ปี ขน
ึ้ ไป
๒. “ยัง่ ยืน” หมายถึง มีการดาเนินงานตัง้ แต่ ๕ ปี ขน
ึ้ ไป
๓. “ชุมชน/องค์กร เข ้มแข็ง” หมายถึง สามารถพึง่ พาตนเองได ้
ึ ษาระดับอุดมศก
ึ ษาทีไ่ ด ้รับการประเมินปี ๒๕๕๕ เป็ นต ้น
หมายเหตุ สาหรับสถานศก
้
ไป สามารถใช โครงการ/กิ
จ กรรมใหม่ท ี่ป รากฏอยู่ใ นแผนระยะยาว โดยได ้รั บ การ
อนุ มั ต จ
ิ ากสภาสถาบั น เป็ นโครงการ/กิจ กรรมที่ต่ อ เนื่ อ งในอนาคตและจะยั่ ง ยื น
เข ้มแข็ง สามารถพึง่ พาตนเองได ้ โดย สมศ. จะพิจารณาให ้คะแนนล่วงหน ้า
75
ี้ า ป้องก ัน หรือแก้ปญ
๑๘. ผลการชน
ั หาของ
ั
สงคมในด้
านต่าง ๆ
ั
ี้ า ป้องก ัน หรือแก้ปญ
๑๘.๑ ผลการชน
ั หาของสงคม
ในประเด็นที่ ๑ ภายในสถาบ ัน
ั
ี้ า ป้องก ัน หรือแก้ปญ
๑๘.๒ ผลการชน
ั หาของสงคม
ในประเด็นที่ ๒ ภายนอกสถาบ ัน
โดยได้ร ับความเห็นชอบจากสภาสถาบ ัน
76
ั
ี้ า ป้องก ัน หรือแก้ปญ
๑๘. ผลการชน
ั หาของสงคม
ในด้านต่าง ๆ
สถาบันเลือกดาเนินการ ๒ ประเด็น ในการชี้นาหรือแก้ปัญหาสังคม
ในด้านต่าง ๆ
ประเด็นการพิจารณา ๑๘.๑
๑. มีการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA)
๒. บรรลุเป้ าหมายตามแผนประจาปี ไม่ตา่ กว่าร้อยละ ๘๐
๓. มีประโยชน์ และสร้างคุณค่าต่อคนในสถาบัน
๔. มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์ และสร้างคุณค่าต่อสถาบัน
๕. ได้รบั การยกย่องระดับชาติและ/หรือนานาชาติ
77
ี้ า ป้ องกัน หรือแก ้ปั ญหาของสงั คม
๑๘. ผลการชน
ในด ้านต่าง ๆ
สถาบันเลือกดาเนินการ ๒ ประเด็น ในการชี้นาหรือแก้ปัญหาสังคม
ในด้านต่าง ๆ
ประเด็นการพิจารณา ๑๘.๒
๑. มีการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA)
๒. บรรลุเป้ าหมายตามแผนประจาปี ไม่ตา่ กว่าร้อยละ ๘๐
๓. มีประโยชน์ และสร้างคุณค่าต่อคนในชุมชน
๔. มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์ และสร้างคุณค่าต่อชุมชนหรือสังคม
๕. ได้รบั การยกย่องระดับชาติและ/หรือนานาชาติ
78
เกณฑ์การให้คะแนน
๑
๒
๓
๔
๕
-
ปฏิบต
ั ไิ ด ้
๑ ข ้อ
ปฏิบต
ั ไิ ด ้
๒ ข ้อ
ปฏิบต
ั ไิ ด ้
๓ ข ้อ
ปฏิบต
ั ไิ ด ้
๔ – ๕ ข ้อ
หมายเหตุ
๑. มาตรการสง่ เสริมของคณะอาจเหมือน หรือแตกต่าง หรือสง่ ผลกับมาตรการสง่ เสริม
ของสถาบันก็ได ้ ทัง้ นีต
้ ้องผ่านความเห็นชอบจากสภาสถาบัน
๒. คณะจะดาเนินการแยกหรือดาเนินการร่วมกับสถาบันก็ได ้
๓. กรณีทค
ี่ ณะดาเนินการร่วมกับสถาบัน จะต ้องรายงานไว ้ใน SAR ของคณะ และ
้
แสดงหลักฐานการดาเนินงานด ้วย โดยใชผลการประเมิ
นของสถาบัน
การคิดคะแนน
๑. กรณีทค
ี่ ณะมีการดาเนินงานในประเด็นเดียวกับสถาบันและมีสว่ นร่วมในการ
ดาเนินการ ผลการประเมินจะพิจารณาข ้อมูลในระดับสถาบัน โดยคณะทีม
่ ส
ี ว่ นร่วมให ้ใช ้
คะแนนเดียวกับสถาบัน
๒. กรณีทค
ี่ ณะมีการดาเนินงานในประเด็นทีต
่ า่ งจากสถาบัน ผลการประเมินจะพิจารณา
ในระดับคณะด ้วย
79
องค์ประกอบที่ ๖ การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม

สกอ.จานวน ๑ ตัวบ่งชี้
 สมศ.จานวน ๒ ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ระบบและกลไกการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม(P)
1. มีระบบและกลไกการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม และ
ดาเนินการตามระบบที่กาหนด
2. มีการบูรณาการงานด้านทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมกับ
การจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา
3. มีการเผยแพร่กิจกรรมหรือการบริการด้านทานุบารุง
ศิลปวัฒนธรรมต่อสาธารณชน
(เช่น:มีหอศิ ลป์ หอประวัติ พิพิธภัณฑ์ หรือเวทีการแสดง
วารสารศิ ลปะและวัฒนธรรม ฯลฯ )
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ระบบและกลไกการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม (ต่อ)
4.
มีการประเมินผลความสาเร็จของการบูรณาการงานด้านทานุบารุง
ศิลปวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา
(กาหนดตัวบ่งชี้และติดตามผลการดาเนินงานอย่างเป็ นระบบ)
5. มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานด้านทานุบารุง
ศิลปวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา
6. มีการกาหนดหรือสร้างมาตรฐานคุณภาพด้านศิลปวัฒนธรรมและมี
ผลงานเป็ นที่ยอมรับในระดับชาติ
(มีศิลปิ นแห่ งชาติ ได้รบั เชิญเป็ นวิทยากรหรือผูท้ รงคุณวุฒิ
มีผลงานวิจยั และงานสร้างสรรค์เผยแพร่ระดับชาติ ภูมิภาค หรือ
นานาชาติ หรือมีผลงานได้รบั รางวัล)
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 1
คะแนน 2
คะแนน 3
คะแนน 4
มีการ
ดาเนินการ
1 ข้อ
มีการ
ดาเนินการ
2 ข้อ
มีการ
ดาเนินการ
3 ข้อ
มีการ
ดาเนินการ
4 ข้อ
คะแนน 5
มีการ
ดาเนินการ
5 หรือ 6 ข้อ
ี้ น
ต ัวบ่งชพ
ื้ ฐาน
ิ ปะและว ัฒนธรรม
ด้านการทานุบารุงศล
่ เสริมและสน ับสนุนด้านศล
ิ ปะและ
๑๐. การสง
ว ัฒนธรรม
ิ ปะและ
๑๑. การพ ัฒนาสุนทรียภาพในมิตท
ิ างศล
ว ัฒนธรรม
84
่ เสริมและสน ับสนุนด้านศล
ิ ปะและ
๑๐. การสง
ว ัฒนธรรม
ประเด็นการพิจารณา
๑. มีการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA)
๒. บรรลุเป้าหมายตามแผนประจาปี ไม่ตา
่ กว่าร้อยละ ๘๐
๓. มีการดาเนินงานสมา
่ เสมออย่างต่อเนือ
่ ง
๔. เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อชุมชนภายใน/ภายนอก
๕. ได้ร ับการยกย่องระด ับชาติและ/หรือนานาชาติ
เกณฑ์การให้คะแนน
๑
๒
๓
๔
๕
ปฏิบตั ิ ได้
๑ ข้อ
ปฏิบตั ิ ได้
๒ ข้อ
ปฏิบตั ิ ได้
๓ ข้อ
ปฏิบตั ิ ได้
๔ ข้อ
ปฏิบตั ิ ได้
๕ ข้อ 85
ิ ปะและว ัฒนธรรม
๑๑. การพ ัฒนาสุนทรียภาพในมิตท
ิ างศล
ประเด็นการพิจารณา
๑. การมีสว่ นร่วมของบุคลากรในสถาบันทีก
่ อ
่ ให ้เกิดวัฒนธรรมทีด
่ ี
๒. สงิ่ แวดล ้อมและความปลอดภัยของอาคารสถานที่ สะอาด ถูกสุขลักษณะ
และตกแต่งอย่างมีความสุนทรีย ์
๓. ปรับแต่งและรักษาภูมท
ิ ศ
ั น์ให ้สวยงาม สอดคล ้องกับธรรมชาติ และ
เป็ นมิตรกับสงิ่ แวดล ้อม
๔. การจัดให ้มีพน
ื้ ทีแ
่ ละกิจกรรมทางวัฒนธรรมทีเ่ อือ
้ และสง่ เสริมให ้
ึ ษาและบุคลากรมีสว่ นร่วมอย่างสมา่ เสมอ
นักศก
ึ ษาไม่ตา่ กว่า ๓.๕๑
๕. ระดับความพึงพอใจของบุคลากรและนักศก
จากคะแนนเต็ม ๕
เกณฑ์การให้คะแนน
๑
ปฏิบต
ั ไิ ด ้
๑ ข ้อ
๒
ปฏิบต
ั ไิ ด ้
๒ ข ้อ
๓
ปฏิบต
ั ไิ ด ้
๓ ข ้อ
๔
ปฏิบต
ั ไิ ด ้
๔ ข ้อ
๕
ปฏิบต
ั ไิ ด ้
๕ ข ้อ 86