เกณฑ์การให้คะแนน

Download Report

Transcript เกณฑ์การให้คะแนน

Preparation for EQA :
The new ONESQA Standard Indicators
By
QA Executive Committee
July 22, 2011
Are we ready for EQA?
ONESQA’s auditing is tentatively
on August 22, 2011
EQA Indicators
4
National Educational Standards:
1. ผลการจัดการศึกษา (Standard for Educational Outcomes)
2. การบริหารจัดการศึกษา (Standard for Educational Management)
3. การจัดการเรียนการสอนโดยเน้ นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ (Standard for
T-L utilizing Student Centered-Approach)
4. การประกันคุณภาพภายใน (Standard for Internal Quality
Assurance)
Standard Criteria of ONESQA (18 Indicators)
1. ด้านคุณภาพบัณฑิต Indicators 1 – 4 (4)
2. ด้านงานวิจยั และงานสร้างสรรค์ Indicators 5 – 7 (3)
3. ด้านการบริการวิชาการแก่สงั คม Indicators 8 – 9 (2)
4. ด้านการทานุบารุงศิลปและวัฒนธรรม Indicators 10 – 11 (2)
5. ด้านการบริหารและการพัฒนาสถาบัน Indicators 12 – 14 (3)
6. ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน Indicator 15 (1) พืน้ ฐาน
Indicators 16 (16.1 & 16.2) – 17 (2) ตัวบ่งชี้อตั ลักษณ์ 15%
Indicators 18 (18.1 & 18.2)
(1) ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม 10%
ตัวบ่งชี้
พืน้ ฐาน
75%
การรับรองมาตรฐานคุณภาพ
1. ตัวบ่งชี้แต่ละตัวมีคะแนนเต็ม 5 ใช้ค่าคะแนนตัง้ แต่ 0 – 5
2. ตัวบ่งชี้เชิงปริมาณใช้ค่าเฉลี่ยทศนิยม 2 ตาแหน่ ง
3. หากสถาบัน/คณะฯไม่ประเมินตัวบ่งชี้ใด จานวน
ตัวหารจะลดลงไปเท่าจานวนตัวบ่งชี้ที่ไม่ประเมิน
4. รับรองทัง้ ระดับคณะและระดับสถาบัน
* ของ Au ถ้าตก 1 คณะ ถือว่าสถาบันไม่ผา่ นการรับรอง
การรับรองมาตรฐานคุณภาพสถานศึกษา
ในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
ประเภทตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้พืน้ ฐาน
ตัวบ่งชี้อตั ลักษณ์
ตัวบ่งชี้ที่เป็ นมาตรการ
ส่งเสริม
ตัวบ่งชี้พนั ธกิจหลักของ
สถานศึกษา (ตัวบ่งชี้ที่ 1 – 11)
ภาพรวม (ตัวบ่งชี้ที่ 1 – 18)
จานวนตัวบ่งชี้ ค่าน้าหน้ ก
15
2 (3)
1 (2)
การผ่านเกณฑ์
มาตรฐาน สมศ.
75%
15%
10%
11
ค่าเฉลี่ย 3.51 ขึน้ ไป
18 (20)
ค่าเฉลี่ย 3.51 ขึน้ ไป
ข้อมูลการดาเนินงานที่ใช้ประกอบการพิจารณา
1. ตัวบ่งชี้เชิงปริมาณ – ใช้ผลการดาเนินงาน 3 ปี ก่อนปี ที่ประเมิน (2551 – 2553)
2. กรณี ที่ไม่มีข้อมูลย้อนหลังครบ 3 ปี ให้ใช้ข้อมูลล่าสุดที่มี
3. ตัวบ่งชี้เชิงคุณภาพ – ใช้ผลการดาเนินงาน 1 ปี ก่อนปี ที่ประเมิน (2553)
4. ข้อมูลผลการดาเนินงานส่วนใหญ่ใช้ตามปี การศึกษา ยกเว้น ตัวบ่งชี้ที่จดั เก็บ
ข้อมูลตามปี ปฏิทินให้ใช้ข้อมูลตามปี ปฏิทิน เช่น ผลงานวิจยั ที่ตีพิมพ์หรือ
ผลงานสร้างสรรค์ที่เผยแพร่ (ปี ปฏิทิน/ปี งบประมาณ/ปี การศึกษา)
วิธีการนับ
1. บทความจากผลงานวิจยั ที่ได้รบั การตีพิมพ์ตามเกณฑ์ของ สมศ. นับได้เฉพาะ
Article หรือ Conference paper หรือ Review เท่านัน้ ถ้าตีพิมพ์ใน Proceeding
ของการประชุมวิชาการ ต้องเป็ น Full paper เท่านัน้
2. ผลงานที่ตีพิมพ์/เผยแพร่มากกว่า 1 ครัง้ ให้นับเพียง 1 ชิ้นงาน
3. ผลงานวิจยั /งานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์ – นับจากวันที่นาผลงานวิจยั /งาน
สร้างสรรค์ไปใช้ให้เกิดผลชัดเจน นับปี ปฏิทิน/ปี งบประมาณ/ปี การศึกษาก็ได้ แต่
ให้นับ 1 ชิ้นงานเท่านัน้ แม้นาไปใช้ประโยชน์ มากกว่า 1 ครัง้ ยกเว้นการใช้
ประโยชน์ นัน้ ต่างกันอย่างชัดเจน
4. ผลงานทางวิชาการทีได้รบั รองคุณภาพต้อง Contribute ให้งานนัน้ > 50% ของ
ชิ้นงาน จึงนับได้ และถ้าตีพิมพ์มากกว่า 1 ครัง้ ให้นับเพียง 1 ชิ้นงาน
5. นับอาจารย์และนักวิจยั ทางาน
> 9 เดือน = 1 คน
6 – 9 เดือน = 0.5 คน
< 6 เดือน = นับไม่ได้
การคานวณผลการดาเนินงาน 3 ปี
= ตัวตัง้ ของปี ที่ 1 + ตัวตัง้ ของปี ที่ 2 + ตัวตัง้ ของปี ที่ 3
ตัวหารของปี ที่ 1 + ตัวหารของปี ที่ 2 + ตัวหารของปี ที่ 3
เช่น การเผยแพร่ผลงานวิจยั
= ผลรวมถ่วงน้าหนักของงานวิจยั ปี ที่ 1 + ผลฯปี ที่ 2 + ผลปี ที่ 3
จานวนอาจารย์ & นักวิจยั ปี ที่ 1 + จานวนฯปี ที่ 2 + จานวนฯปี ที่ 3
การปัดเศษควรปัดเศษในการคานวนสุดท้าย
การคานวณค่าคะแนน

เกณฑ์กาหนดค่าคะแนนเต็ม 5 คะแนน เช่น งานวิจยั /สร้างสรรค์
ที่ได้รบั การตีพิมพ์หรือเผยแพร่
สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร้อยละ 20 = 5 คะแนน
ถ้าคานวณได้ร้อยละ 12
คานวณคะแนน
= ผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้
ผลการดาเนินงานที่กาหนดเป็ น 5 คะนน
= 12 X 5 = 3 คะแนน
20
X5
Draft I SAR ระดับสถาบัน
ผลประเมินตามตัวบ่งชี้ของ สมศ. (Table 1 และ Table
2)
ข้อสังเกต
1. ข้อมูลระดับคณะยังไม่ครบถ้วน – ต้องกลับไป Verify
ใหม่ให้ถกู ต้อง
2. ตัวบ่งชี้ 12, 16.1, 17, 18.1, 18.2 ประเมินระดับสถาบัน
เท่านัน้ CFE จะต้องหาหลักฐานประกอบให้ครบถ้วน
ี้ ี่ 1 บ ัณฑิตปริญญาตรีทไี่ ด้งานทาหรือประกอบอาชพ
ี
ต ัวบ่งชท
อิสระภายใน 1 ปี (AU 2.9)
วิธีการคานวณ :
จำนวนบัณฑิตปริญญำตรีท่ ไี ด้ งำนทำหรือประกอบอำชีพอิสระภำยใน 1 ปี x 100
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจทัง้ หมด
หมายเหตุ:
ไม่นับรวมบัณฑิตที่มีงานทาก่อนเข้าศึกษาหรือมีกิจการของตนเองที่มีรายได้ประจาอยู่
แล้ว และผูท้ ี่ศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษาผูอ้ ปุ สมบทและผูท้ ี่เกณฑ์ทหาร (หักออก
ทัง้ ตัวตัง้ และตัวหาร)
เกณฑ์การให้คะแนน:
ใช้บญ
ั ญัติไตรยางศ์เทียบ กาหนดร้อยละ 100 เท่ากับ 5 คะแนน
 Check ผล
ข้อมูลและหลักฐาน
1. สารวจการมีงานทาของบัณฑิตในระดับ AU โดย RIAU ปี ละ 1 ครัง้
2. คณะวิชาสารวจเองและแจ้งผลมาใน SAR ของตัวเอง
3. ระดับ AU จะใช้ผลคะแนนที่สารวจโดย RIAU
คุณภาพข้อมูล:
การสารวจต้องเป็ นตัวแทนผูส้ าเร็จการศึกษาอย่างน้ อย
70%ติดตามซา้ ถ้าได้ไม่ถึง 70%
Verify ข้อมูลและหลักฐาน
1.
2.
3.
4.
ตัดผูท้ ี่บวช (ยาว) หรือเกณฑ์ทหารออก
ตัดผูท้ ี่มีงานทาก่อนเข้าศึกษาออก ยกเว้นได้งานใหม่หลังจบการศึกษา
นับงานสุจริตทุกประเภทที่สร้างรายได้ประจาเพื่อเลี้ยงชีพ
นับจานวนผูม้ ีงานทาของผูส้ าเร็จการศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในภาค
พิเศษหรือภาคนอกเวลา
5. ข้อมูลนี้ ได้จากแบบสอบถาม ตัวหารจึงคิดเทียบกับจานวนบัณฑิตที่
ตอบแบบสอบถาม ถ้าผูต้ อบศึกษาต่อระดับปริญญาโท ให้หกั ออกทัง้ ตัว
ตัง้ และตัวหาร
ตัวบ่งชี้ที่ 2 คุณภาพบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอก ตามกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
วิธีการคานวณ :
ผลรวมของค่ ำคะแนนที่ได้ จำกกำรประเมินบัณฑิต
จำนวนบัณฑิตที่ได้ รับกำรประเมินทัง้ หมด
เกณฑ์การให้คะแนน:
ใช้ข้อมูลเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม 5 คะแนน)
 จัดทาแบบสอบถามเพื่อถามผูเ้ กี่ยวข้องทัง้ ตรี โท เอก
 แบบสอบถามต้องครอบคลุม TQF 5 ด้าน + บ่งชี้ที่ 16.2 เรื่องผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัต
ลักษณ์
 จานวนผูต้ อบแบบสอบถามทุกคณะ ทุกระดับอย่างน้ อย 35% ของผูจ้ บการศึกษาในแต่ละ
ระดับ
ข้อมูลและหลักฐาน
1.
จานวนผูส้ าเร็จการศึกษา ตรี และโท ทัง้ หมด
2.
จานวนผูส้ าเร็จการศึกษาปริญญาตรี ที่ได้รบั การประเมินคุณภาพตามกรอบ TQF
แบ่งเป็ น 2 กรณี
ผลการสอบในกลุ่มสาขาวิชาที่จบการศึกษาตามกรอบ TQF เฉลี่ย
ผลการประเมินความพึงพอใจนายจ้าง/อาจารย์ที่มีต่อบัณฑิต
จานวนผูส้ าเร็จการศึกษาปริญญาโท เอก ที่ได้รบั การประเมินคุณภาพตามกรอบ TQF
แบ่งเป็ น 2 กรณี
 ผลการประเมินโดย Exit Exam ในกลุ่มสาขาวิชาที่จบการศึกษาตามกรอบ
TQF เฉลี่ย
 ผลการประเมินความพึงพอใจนายจ้างที่มีต่อบัณฑิต
3.
ข้ อสั งเกต
 ใช้เกณฑ์มาตรฐานอุดมศึกษา ปี พ.ศ. 2548
เตรียมเอกสารของคณะ เช่น เล่มหลักสูตร รายงานการประชุม จดหมาย
แต่งตัง้ คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร สมอ. 07 ย้อนหลัง 3 ปี เป็ นต้น
คณะที่ Implement TQF แล้ว ต้องใช้แบบการประเมินตามเกณฑ์ที่กาหนด
 ข้อมูลปัจจุบนั เฉลี่ย 3 ปี 3.77 คะแนน
Exit examination
 การบูรณาการความรู้ส่ก
ู ารปฏิบตั ิ ภารกิจตามวิชาชีพ
 การใช้ภาษาอังกฤษ
 การใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร
ฯลฯ
คณะที่มี ป.โท & ป.เอก ต้องกาหนดรายวิชาที่จะวัดผลตาม TQF เอง
ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผลงานของผูส้ าเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รบั การตีพิมพ์หรือเผยแพร่
ผลงานของบัณฑิตป.โทไม่สามารถนับเป็ นผลงานของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ได้
เกณฑ์การประเมิน ดู P 21-22 ในคู่มือ
เกณฑ์ ร้อยละ 25 เท่ากับ 5 คะแนน
วิธีคานวณ
1 thesis ตีพิมพ์หลาย paper นับได้หมดเพราะไม่ได้นับคนแต่นับชิ้นงาน
ผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่
ของผูส้ าเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
x 100
จานวนผูส้ าเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททัง้ หมด
*นับจานวนผูส้ าเร็จการศึกษาที่ได้รบั การอนุมตั ิ ปริญญาในปี นัน้ (ปี ปฎิทิน)
1. ใช้คะแนน 2 ปี ย้อนหลัง และให้คณะวิชาถ่วงน้าหนักมาให้เรียบร้อย
2. แจก List รายการ Journal ที่ได้รบั การรับรองเพื่อให้คณะใช้ตรวจสอบการตี พิมพ์
3. ทาตาราง Excel Template ให้คณะช่วยกรอกข้อมูลให้ CFE
การรวบรวมข้อมูลในตัวบ่งชี้ 3
1. การตีพิมพ์นับได้ทงั ้ วิทยานิพนธ์และสาระนิพนธ์
2. นับตามปี ที่เขียน SAR หรือปี ตามปฎิทิน
3. ไม่นับเป็ นผลงานอาจารย์
การประชุ มวิชาการระดับชาติ
เกณฑ์การประเมินการเผยแพร่ผลงานวิจยั
ค่าน้าหนัก
ระดับคุณภาพงานวิจยั
0.125
บทความวิจยั ฉบับสมบูรณ์ (Full paper) ที่ตีพิมพ์ในรายงาน
สืบเนื่ องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ที่มีกองบรรณาธิการจัดทารายงานฯ หรือผูท้ รงคุณวิฒิ
(ระดับปริญญาเอก) หรือผูท้ รงคุณวุฒิที่มีผลงานเป็ นที่ยอมรับ
ในสาขาวิชานัน้ ๆ จากนอกสถาบันเจ้าภาพอย่างน้ อย 25%
การประชุ มวิชาการระดับชาติ
เกณฑ์การประเมินการเผยแพร่ผลงานวิจยั
ค่าน้าหนัก
ระดับคุณภาพงานวิจยั
0.25
1. รายงานสืบเนื่ องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
ที่มีกองบรรณาธิการจัดทารายงานฯหรือคณะกรรมการจัด
ประชุม ประกอบดัวยศาสตราจารย์หรือผูท้ รงคุณวุฒิที่มีผลงาน
เป็ นที่ยอมรับในสาขาวิชานัน้ ๆ จากต่างประเทศอย่างน้ อย 25%
หรือ
0.50
2. บทความจากผลงานวิจยั ที่ได้รบั การตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ
ระดับชาติที่ปรากฎในฐานข้อมูล TCI
ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติที่มาชื่อปรากฏอยู่ในประกาศของ
สมศ.
เกณฑ์การประเมินการเผยแพร่ผลงานวิจยั
ค่าน้าหนัก
ระดับคุณภาพงานวิจยั
0.75
1. ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ระดับนานาชาติ
ที่มีปรากฎในฐานข้อมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago
Journal Rank: www.scimagojr.com
โดยวารสารถูกจัดอยู่ในควอไทล์ที่ 3 หรือ 4 (Q3/Q4) ในปี ล่าสุดใน
subject category ที่ตีพิมพ์
หรือ
2. ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ระดับนานาชาติ ที่มีชื่อปรากฎ
ในประกาศ สมศ.
1.00
1. ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ระดับนานาชาติ อยู่ในควอไทล์
ที่ 1 หรือ 2 (Q1/Q2) จาก www.scimagojr.com
หรือ
2. ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ระดับนานาชาติที่ปรากฎใน
ฐานข้อมูลสากล ISI
ตรวจสอบ Ranking http://www.scimagojr.com/
งานสร้างสรรค์ ผลงานวิทยานิพนธ์/ศิลปนิพนธ์/สารนิพนธ์
ของผูส้ าเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รบั การเผยแพร่
Exhibition หรือ Performance (ดู P. 22)
ค่าน้าหนัก
ระดับคุณภาพงานสร้างสรรค์
0.125
งานสร้างสรรค์ที่ได้รบั การเผยแพร่ในระดับสถาบันหรือจังหวัด
0.25
งานสร้างสรรค์ที่ได้รบั การเผยแพร่ในระดับชาติ
0.50
งานสร้างสรรค์ที่ได้รบั การเผยแพร่ในระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ
0.75
งานสร้างสรรค์ที่ได้รบั การเผยแพร่ในระดับภูมิภาคอาเซียน อย่างน้ อย 5
จาก 10 ประเทศ
1.00
งานสร้างสรรค์ที่ได้รบั การเผยแพร่ในระดับนานาชาติ (ทัง้ ในและนอก
ประเทศ) ที่เปิดกว้างสาหรับทุกประเทศโดย อย่างน้ อย 5 ประเทศที่ไม่ได้
อยู่ในกลุ่มอาเซียน
ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผลงานของผูส้ าเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ได้รบั การตีพิมพ์หรือเผยแพร่
เกณฑ์ การประเมิน ดู P. 23-24
เกณฑ์ ร้อยละ 50 เท่ากับ 5 คะแนน
วิธีการคานวณ
ผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่
ของผูส้ าเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก
จานวนผูส้ าเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทัง้ หมด
x 100
1. ใช้คะแนน 2 ปี ย้อนหลัง และให้คณะวิชาถ่วงน้าหนักมาให้เรียบร้อย
2. แจก List รายการ Journal ที่ได้รบั การรับรองเพื่อให้คณะใช้ตรวจสอบการตีพิมพ์
3. ทาตาราง Excel Template ให้คณะช่วยกรอกข้อมูลให้ CFE
1 Dissertation ตีพิมพ์หลาย paper นับได้หมด
ไม่สามารถนับเป็ นผลงานของอาจารย์ที่ปรึกษา
วิทยานิพนธ์ได้
ผลงานที่ตีพิมพ์นับปี ปฎิทินหรือปี การศึกษา
การเตรียมหลักฐานสาหรับตัวบ่งชี้ 3 และ 4ให้ผา่ นการรับรอง
1) วิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์

ต้องรีบนาไปเผยแพร่
ไม่มีข้อห้ามอาจารย์ที่ปรึกษานาไปเผยแพร่ แต่ควรตกลงกับ
นักศึกษาและมีชื่อร่วมกัน
ถ้าอาจารย์สอนวิชาวิจยั : ให้นักศึกษารับไปทางาน Assignment จะ
ได้เรียนรู้วิธีเตรียมต้นฉบับ manuscript เพื่อการตีพิมพ์ ซึ่งจะทาให้มีงาน
ตีพิมพ์ได้ทนั เวลา
2) เอาผลงานปี ใดไปเผยแพร่กไ็ ด้เพราะนับปี ที่เผยแพร่
3) วางแผนล่วงหน้ าเผือ่ เวลาให้ Peer review 3 เดือน
4) คัดเลือกวารสารที่ สมศ ยอมรับในการตีพิมพ์
แนวทางพัฒนาของตัวบ่งชี้ที่ 3 - 4
• ตัวบ่งชี้ 3 และ 4 ในระดับสถาบันทาง Au ยังมีคะแนนไม่สงู หลักฐานยัง
มีน้อยแต่เวลาจากัดต้องรายงานผลเท่าที่มี
• ต้องสร้างความเข้าใจ ให้กรรมการ QT เข้าใจเกณฑ์ด้านการวิจยั จะ
ได้ Verify ผลงานวิจยั ในคณะวิชา ให้แต่ละชิ้นอยู่ในค่าน้าหนักที่
ถูกต้อง
ตัวบ่งชี้พืน้ ฐาน: ด้านงานวิจยั และงานสร้างสรรค์มี 3 ตัวบ่งชี้ (P.25)
ตัว
ชื่อตัวบ่งชี้
บ่งชี้
5 งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รบั การ
ตีพิมพ์หรือเผยแพร่
น้าหนัก (ร้อยละ)
5
6
งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้
ประโยชน์
5
7
ผลงานวิชาการที่ได้รบั การรับรอง
คุณภาพ
5
การคิดคะแนน
ระดับคณะ -- ให้นับ
คะแนนที่คิดได้ของ
แต่ละกลุ่ม
สาขาวิชามาหา
ค่าเฉลี่ย
ระดับสถาบัน -- ให้
นับคะแนนของแต่
ละคณะมาเฉลี่ย
งานวิจยั และงานสร้างสรรค์มีลกั ษณะอย่างไร (ดู P.25)
- งานวิจยั ที่ทากับหน่ วยงานภายนอกสถาบันและเป็ นงานวิจยั และงาน
สร้างสรรค์ที่มีคณ
ุ ภาพ
- เป็ นงานวิจยั ที่พฒ
ั นาและสร้างองค์ความรู้ใหม่
- เป็ นงานวิจยั เชิงวิชาการสามารถนาไปตีพิมพ์ได้
- เป็ นงานที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ ได้ตามความต้องการของผูใ้ ช้จริง
- ไม่ว่างานวิจยั พืน้ ฐานหรืองานวิจยั ประยุกต์ต้องเป็ นงานวิจยั แท้
- เป็ นงานที่ใช้ประโยชน์ เชิงวิชาการ เชิงสาธารณะ เชิงนโยบาย เชิงพาณิชย์
ฯลฯ
ตัวบ่งชี้ที่ 5 งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รบั การตีพิมพ์หรือ
เผยแพร่ (ของอาจารย์และนักวิจยั )
เกณฑ์การประเมินดู P. 26-27 ในคู่มือ( เหมือน ป.โท / ป.เอก)
วิธีการคานวณ
ผลรวมถ่วงน้าหนักของงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์
ตีพิมพ์หรือเผยแพร่
อาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจาทัง้ หมด
x 100
นับอาจารย์และนักวิจยั ที่ลาศึกษาต่อด้วย ต่างจาก สกอ. เดิม
วิธีนับผลงานวิจยั
 ทางานหลายคนใน 1 paper ให้นับได้ทกุ คนทัง้ ในสถาบันและ
ต่างสถาบัน
 ถ้าทาร่วมหลายคณะนับได้หมด พอเป็ นสถาบัน ห้ามนับซา้ จึง
ควรเสนอให้ สกอ. แก้ไข
 Thesis ของนักศึกษาที่ตีพิมพ์ให้นับเฉพาะนักศึกษา ไม่
นับเป็ นผลงานของอาจารย์ (กาลังแย้งว่าบางสาขาให้นับ
เพราะเป็ นสากลและอาจารย์ทางานร่วมกับนักศึกษาและหา
ทุนด้วย)
 Thesis ของอาจารย์เรียนต่อที่ตีพิมพ์นับได้
เกณฑ์การให้คะแนน ดู P. 22 - 27 ในคู่มือ
คะแนนเต็ม 5 คะแนน จาแนกตามกลุ่มสาขาวิชา (ไม่ใช่คณะวิชา)
กลุ่มสาขาวิชา
วิทยาศาสตร์สขุ ภาพ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
5 คะแนน
20
20
10
คณะวิชาอยู่กลุ่มสาขาวิชาใด คิดคะแนนเต็มตามตารางเกณฑ์
ตีพิมพ์ จัดแสดงผลงาน บัณฑิตศึกษา/อาจารย์ เหมือนกันด้าน
การคิดถ่วงน้าหนักระหว่าง 0.125 – 5 คะแนน
ตัวบ่งชี้ที่ 6 งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์ประจา + นักวิจยั )
ร้อยละ 20 เท่ากับ 5 คะแนน ทุกกลุ่มสาขาวิชา
วิธีการคานวณ
ผลรวมของจานวนงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ที่
นาไปใช้ประโยชน์
จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจาทัง้ หมด
เน้ นนาไปใช้ประโยชน์ แก้ปัญหาของชุมชน + องค์กรภายนอก
สถาบัน
เชิงสาธารณะเชิงนโยบาย เชิงพาณิชย์ (งานวิจยั สู่ผลิตภัณฑ์)
ประโยชน์ ทางอ้อม สร้างสุข (ต้องมีการประเมินไว้)
x 100
การนาไปใช้ประโยชน์ ของงานวิจยั
 ตามวัตถุประสงค์ของโครงการ+รายงาน+กลุ่มเป้ าหมาย
 สามารถนาไปแก้ปัญหาได้เป็ นรูปธรรมกับกลุ่มเป้ าหมาย
 มีหลักฐานปรากฎอย่างชัดเจนถึงการนาไปใช้จนก่อให้เกิด
ประโยชน์ ได้จริงตามวัตถุประสงต์ และ+++
 ได้การรับรองการใช้ประโยชน์ จากหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง
ข้อควรจา:
• นับทัง้ อาจารย์และนักวิจยั ที่ลาศึกษาต่อด้วย
• ต้องเป็ นการใช้ประโยชน์ นอกสถาบันเท่านัน้ (P. 12 - 13 ในคู่มือ)
• งานวิจยั เก่าปี ใดก็ได้ขอให้มีการใช้ประโยชน์ ตรงกับปี ที่ประเมิน
การนาไปใช้ประโยชน์ ของงานสร้างสรรค์
- ตามวัตถุประสงค์ของโครงการสร้างสรรค์ ซึ่งได้นาเสนอ
รายงานขัน้ ตอนการสร้างสรรค์
- มีการนาเสนอที่ผา่ นการวิเคราะห์และสรุปผลอย่างเป็ นระบบ
- สามารถนาผลงาน/รายงานผลไปใช้เป็ นประโยชน์จริงตาม
วัตถุประสงค์
- ได้นาเสนอผลการนาไปใช้จากผูเ้ กี่ยวข้อง เช่น
สถาบันการศึกษา สถาบันศิลปะ เป็ นต้น
งานอะไรบ้างที่นับไม่ได้?
ไม่นับว่าเป็ นการใช้ประโยชน์ จากงานวิจยั และสร้างสรรค์


การ Citation
ลิขสิทธ์ ิ /สิทธิบตั ร/อนุสิทธิบตั ร โดยแสดงหลักฐานด้วยว่าเอาไปใช้อย่างไร

ใบเสร็จการให้บริการวิชาการใช้เป็ นหลักฐานไม่ ได้(บริการวิชาการที่มี
เป็ นผลมาจากงานวิจยั )

ตาราที่ผา่ นผูท้ รงคุณวุฒิแล้วใช้ในห้องสมุดของโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย
อื่น โดยมีหนังสือตอบรับ

ระบบ MIS ที่มหาวิทยาลัย/คณะอื่น ซื้อ/ขออนุเคราะห์

ใช้ประโยชน์ ภายในสถาบัน
งานอะไรบ้างที่นับได้?
นับว่าเป็ นการใช้ประโยชน์ จากงานวิจยั และสร้างสรรค์
- การถ่ายทอดเทคโนโลยีตามวัตถุประสงค์ของโครงการวิจยั โดยการ
ให้สมั ภาษณ์สื่อ ลงข่าวในหนังสือพิมพ์ เว็บไซต์ ซึ่งถือว่าเป็ นการ
เผยแพร่งานวิจยั เช่นกัน โดยไม่มีหน่ วยงานไหนทาหนังสือรับรอง (ต้อง
ลงเนื้ อหาผลงานวิจยั ไม่ใช่แค่ข่าววิจยั )
- หากเป็ นการนาไปใช้ประโยชน์ หลายปี จะนับได้อีกถ้างานนัน้ ได้รบั การ
ปรับปรุง ต่อยอด แล้วนาไปใช้ต่อหรือใช้ต่างพืน้ ที่/ต่างองค์กร ดังนัน้ ถ้า
ใช้ในปี ต่อไปนับได้อีก
- ถ้าเป็ นงานที่นาไปใช้อบรมผูอ้ ื่นจะนับได้กต็ ่อเมื่อมีการติดตามผลว่า
ผูร้ บั การอบรมเอาไปใช้จริง
แนวทางพัฒนาของตัวบ่งชี้ที่ 5 - 6
ตัวบ่งชี้ที่ 5 และ 6
ตัวบ่งชี้ที่ 5 และ 6
ตัวบ่งชี้ที่ 5 งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รบั การ ตัวบ่งชี้ที่ 6 งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้
ตีพิมพ์หรือเผยแพร่
ประโยชน์
คานวณว่าขณะนี้ ทาได้เท่าไรและต้องทาอีกเท่าไร มีโอกาสทาคะแนนทัง้ ปี 2553 (มค. – ธค. 53) และ
หางานเก่าที่ยงั ไม่ได้ตีพิมพ์หรืองานใหม่ที่ใกล้
ปี 2554 (มค. – ธค. 54)
โดยร่างหนังสือเพื่อให้หน่ วยงาน/ชุมชน/องค์กร
เสร็จ
สร้างแรงจูงใจ
รับรอง โดยระบุว่างานวิจยั ชื่ออะไร เอาไปใช้
หัวหน้ าภาคจะรู้ว่ามีอาจารย์ท่านใดมีงานที่จะ
ประโยชน์ อะไรที่ชดั เจน และใช้ประโยชน์ เมื่อไร ถ้า
ออกเผยแพร่ได้
สามารถระบุว่าเกิดผลกระทบอะไรต่อชุมชน ที่เอา
ประสานวารสาร อาจจาเป็ นต้องจัดทาฉบับพิเศษ
ไปใช้จะดีมากและมีรปู ภาพประกอบ
ตัวบ่งชี้ที่ 7 ผลงานวิชาการที่ได้รบั การรับรองคุณภาพ (ไม่ใช่งานวิจยั )
ร้อยละ 10 = 5 คะแนน
วิธีการคานวณ
ผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานวิชาการที่ได้รบั รอง
คุณภาพ
อาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจาทัง้ หมด
x 100
ผลงานวิชาการที่มีคณ
ุ ภาพ สะท้อนถึงสมรรถนะในการศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ สังเคราะห์
วิจยั
 ผลการปฏิบตั ิ จริงและได้นาไปใช้ในการแก้ปัญหา
หรือ
พัฒนางานในหน้ าที่จนเกิดผลดีต่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา และเป็ นประโยชน์ ต่อ
ความก้าวหน้ าทางวิชาการ
งานวิชาการอาจารย์+นักวิจยั : บทความ ตารา หนังสือ
ค่าน้าหนัก
ระดับคุณภาพงานวิจยั
0.25
บทความวิชาการ (ไม่ต้องมาจากวิจยั ของตน) ที่ได้รบั การตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ
0.50
บทความวิชาการ ที่ได้รบั การตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ
0.75
ตาราหรือหนังสือ ที่มีการตรวจอ่านโดยผูท้ รงคุณวุฒิ
1.00
ตาราหรือหนังสือที่ใช้ในการขอผลงานทางวิชาการและผ่านการพิจารณาตามเกณฑ์
หลักฐาน การขอตาแหน่ งทางวิชาการแล้ว หรือ ตาราหรือหนังสือที่มีคณ
ุ ภาพสูง มีผทู้ รงคุณวุฒิ
ชื่อผูอ้ ่าน ตรวจอ่านตามเกณฑ์การขอตาแหน่ งทางวิชาการ (ไม่ได้ยื่นขอ)
ตัวอย่างผลงานวิชาการที่นับไม่ได้


ผลงานวิชาการที่เป็ นกรณี ศึกษา (Case Study) ที่มีลกั ษณะเป็ น Research
based case หรือ Field-Based Case และ Archival (Secondary Sources)
Case
Software ไม่ถือเป็ นผลงานวิชาการในกรณี ตวั บ่งชี้นี้

รายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์ ของอาจารย์ถึงแม้จะมี reader อ่าน เพราะเป็ นเรื่อง
ตารา

ผลงานที่ได้รบั รางวัลระดับชาติ นับไม่ได้ (ไม่ใช่ตารา)

หนังสือที่มีลกั ษณะเป็ น Book Chapter มีผเู้ ขียนหลายคนทัง้ ในและต่างประเทศ
(ต้อง contribute > 50% จึงนับได้)

ผลงานหลายคน นับได้ต้อง contribution > 50%
แนวทางหาหลักฐานสาหรับตัวบ่งชี้ที่ 7
- ใช้ตาราหรือหนังสือที่ใช้ในการขอผลงานทางวิชาการและผ่านการพิจารณา
ตามเกณฑ์การขอตาแหน่ งทางวิชาการแล้ว
- เร่งรัดการขอตาแหน่ งทางวิชาการ
- ตาราหรือหนังสือที่มีคณ
ุ ภาพสูง มีผท้ ู รงคุณวุฒิตรวจอ่านตามเกณฑ์การขอ
ตาแหน่ งทางวิชาการแต่ไม่ได้ยื่นขอ
กรณี ที่มีตาราหรือหนังสือที่ผ่านกระบวนการตรวจอ่านตามวิธีเดียวกับการขอ
ตาแหน่ งทางวิชาการ บางทีคณะวิชาไม่ทราบ ต้องเจาะลงภาควิชาและมีการ
เสริมแรง
- มีอาจารย์ที่ส่มุ เขียนหนังสือ แต่ไม่มีกระบวนการตรวจอ่าน จึงขอให้ภาควิชา
ช่วยเสาะหาเพื่อเร่งเข้าสู่กระบวนการให้ทนั
ตัวบ่งชี้พืน้ ฐาน: ด้านบริการวิชาการแก่สงั คมมี 2 ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้
ชื่อตัวบ่งชี้
น้าหนัก (ร้อยละ)
8
การนาความรู้และประสบการณ์จากการ
ให้บริการวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการเรียน
การสอนหรือการวิจยั
การเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของ
ชุมชนหรือองค์กรภายนอก
5
9
5
ตัวบ่งชี้ที่ 8 การนาความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมา
ใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนและการวิจยั
วิธีการคานวณ
ร้อยละ 30 = 5 คะแนน
จานวนโครงการบริการวิชาการที่นามาใช้ในการ
พัฒนาการเรียนการสอนและการวิจยั
จานวนโครงการบริการวิชาการทัง้ หมด
x 100
ควรนับเฉพาะโครงการใหญ่ ไม่ควรนับกิจกรรมย่อย
-คณะอาจตีความเกณฑ์ข้อนี้ ผิด ให้ตรวจเช็คซา้ ว่าโครงการบริการวิชาการนาไปสู่การเรียนการสอน วิจยั
ตารา หรือไม่?
- ในโครงหนึ่ งๆจะบูรณาการเฉพาะการเรียนการสอนหรือเฉพาะกับงานวิจยั หรือบูรณาการทัง้ การเรียนการ
สอนและงานวิจยั
ตัวอย่างหลักฐานที่ใช้
ใช้หลักฐาน เช่น โครงการบริการวิชาการ เอกสารประกอบการสอนที่
แสดงว่าบูรณาการกับการสอน
-
หลักฐานผลงานวิจยั -เอกสารประกอบการให้บริการ เช่น เอกสาร
ประกอบการอบรม ความเชื่อมโยงของงานบริการวิชาการกับการ
วิจยั
- การไปให้บริการชุมชน แล้วนาปัญหามาสู่การวิจยั เพื่อให้มีองค์
ความรู้ใหม่ ซึ่งสามารถนาไปขยายผลสู่การให้บริการวิชาการต่อไป
อีก
 จัดให้นักศึกษาหรือคนในสถาบัน นับไม่ได้
-
- การนับให้นับปี ที่มีการบูรณาการเสร็จสิ้น
ตัวบ่งชี้ที่ 9 ผลการเรียนรูแ้ ละเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
หรือองค์กรภายนอก
โครงการที่มีผลต่อการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ผลการดาเนินการ
ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึน้ ของชุมชน หรือ องค์กรภายนอกพึ่งตนเองได้
ตามศักยภาพ โดยดูจาก
1. มีการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
หรือองค์กร
2. บรรลุเป้ าหมายตามแผนไม่ตา่ กว่า 80%
การบริการวิชาการนับได้ทงั ้ ที่ให้เปล่าและคิดค่าบริการ
3. ชุมชนหรือองค์กรมีผน้ ู าหรือสมาชิกที่มีการเรียนรูแ้ ละดาเนิน
กิจกรรมอย่างต่อเนื่ อง
4. ชุมชนหรือองค์กรสร้างกลไกที่มีการพัฒนาตนเองอย่าง
ต่อเนื่ องและยังยื
่ น โดยคงอัตลักษณ์และวัฒนธรรมของชุมชน
หรือองค์กร (ต่อเนื่ อง = 2 ปี , ยังยื
่ น 3 ปี )
5. มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์ สร้างคุณค่าต่อสังคมหรือชุมชน/
องค์กรมีความเข้มแข็ง (พึ่งพาตนเองได้)
เกณฑ์การให้คะแนนให้ตามจานวนข้อที่ปฎิบตั ิ ได้ 1 ข้อ / 2 ข้อ / 3 ข้อ / 4 ข้อ / 5 ข้อ
การพิจารณาจากระยะเวลาดาเนินการ
“ต่อเนื่ อง”
“ยังยื
่ น”
“องค์กรเข้มแข็ง”
ดาเนินการระยะเวลา 2 ปี
ดาเนินการระยะเวลา 5 ปี
สามารถพึ่งพากันเองได้
กรณี เป็ นกิจกรรมใหม่ให้อนุโลมใช้ 1 ปี ได้เช่นประเมินปี 2554 ใช้ของปี 2553 ได้
1. คณะดาเนินการร่วมกับสถาบัน มีหลักฐานเข้าร่วมชัด นับได้ทงั ้ คณะ
และสถาบัน
2. นโยบาย แผน ผลการดาเนินงาน
แนวทางพัฒนาของตัวบ่งชี้ที่ 9
ตัวบ่งชี้ที่ 9 การเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็ง
ของชุมชนหรือองค์กรภายนอก
ใช้กี่โครงการ จะใช้ 1 หรือ > 1 ก็ได้ แต่ต้องครบถ้วน
ตามเกณฑ์ ไม่ควรใช้หลายโครงการ แต่มีหลักฐาน
ไม่ครบในคณะวิชา มีมากกว่า 1 สาขา/ภาควิชา จึง
ควรมี > 1 โครงการหรือใช้ area base
ทุกคณะและมหาวิทยาลัยต้องเร่งทาเอกสาร
ประกอบให้ครบถ้วน เช่น มีแผนที่ชดั เจน ปกติ
ในการทางานของชุมชน/องค์กรภายนอกของแต่
ละคณะวิชา อาจเริ่มจากคณะวิชา หรือ จาก
บุคลากร
ต้องรีบสื่อสารเพื่อคัดเลือกว่าจะใช้หลักฐาน
ของโครงการใด จึงชัดและไปได้ถึงเกณฑ์ข้อที่ 5
ยึดโครงการที่เด่น หลักฐานครบถ้วน มี
impact สูง
ชุมชนของท่านเป็ นใคร
โรงเรียน: พัฒนาโรงเรียนจนเกิดผลดี คือ ...
พัฒนาครูวิทยาศาสตร์ ค่ายพัฒนานักเรียน
โอลิมปิก วิชาการ : จนเกิดผล .. นักเรียนได้รบั
เหรียญ
อุตสาหกรรมในภูมิภาค (มากกว่า 1 โรงงาน
เช่น SME แล้วเกิดผลกระทบ คือ ...
แนวทางพัฒนาของตัวบ่งชี้ที่ 9
พัฒนาชุมชนผลิตภัณฑ์ชมุ ชน: เกิดการพัฒนาของ
ชุมชน จนเกิดผลกระทบอะไร ...
พัฒนาวงดนตรีแหล่งโบราณคดี : ส่งเสริมการ
ท่องเที่ยวของชุมชน จนเกิดผลกระทบต่อชุมชน ...
คณะวิชามีหลายภาควิชา จึงน่ าจะมีโครงการมากกว่า 1
โครงการ
ตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน: ด้ านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม 2 ตัวบ่ งชี้
ลาดับที่
น้าหนัก
(ร้อยละ)
ชื่อตัวบ่งชี้
10
การส่งเสริมและสนับสนุนด้าน
ศิลปะและวัฒนธรรม
5
11
การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทาง
ศิลปะและวัฒนธรรม
5
สะอาด – ไม่รก มีระเบียบ รักษาง่ายใช้สะดวก
สุขลักษณะ – สะอาด ปลอดภัย ไร้มลภาวะ สุขใจ สบายกาย
สวยงาม – จัดแต่งอาคาร สภาพแวดล้อมเหมาะสม ไม่สิ้นเปลีอง
ไม่ก่อผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม
ตัวบ่งชี้ที่ 10 การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและ
วัฒนธรรม ( P. 35)
ประเด็นการพิจารณา ทาอย่างมีเป้ าหมาย ต่อเนื่ อง ยังยื
่ น
1. มีการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA)
2. บรรลุเป้ าหมายตามแผนไม่ตา่ กว่าร้อยละ 80
3. มีการดาเนินงานสมา่ เสมออย่างต่อเนื่ อง
4. เกิดประโยชน์ และสร้างคุณค่าต่อชุมชน
5. ได้รบั การยกย่องระดับชาติ/นานาชาติ
เกณฑ์การให้คะแนน ให้ตามจานวนข้อที่ปฎิบตั ิ ได้ 1 ข้อ / 2 ข้อ / 3 ข้อ / 4 ข้อ / 5 ข้อ
ข้ อมูลประกอบการพิจารณา
นโยบาย แผน ระบบและกลไกในการส่งเสริมและสนับสนุนด้าน
ศิลปะและวัฒนธรรม
โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมและสนับสนุนฯ ที่มีตวั บ่งชี้และ
เป้ าหมายความสาเร็จ
 รายงานสรุปผลหรือประเมินโครงการ/กิจกรรม(ประโยชน์ & คุณค่าต่อชุมชน)
 หลักฐานที่อธิบายรายละเอียดและแสดงกระบวนการได้มาของการสรุปผล
สาเร็จ เช่น แบบสอบถาม สุ่มตัวอย่าง จานวนผูต้ อบ วิธีการวิเคราะห์ผล
 สรุปรางวัลที่ได้รบั การประกาศเกียรติคณ
ุ ยกย่องระดับชาติ/นานาชาติ จาก
สถาบัน/หน่ วยงานที่เป็ นที่ยอมรับ
แนวทางพัฒนาของตัวบ่งชี้ที่ 10
คณะวิชาทางวิทยาศาสตร์ฯ มักจะมีปัญหาด้านการส่งเสริมและสนับสนุน
ด้านศิลปะและวัฒนธรรมขอให้ยึดการส่งเสริมและสนับสนุนที่ใช้ความรู้
จาก ศาสตร์ของคณะวิชาที่นาไปส่งเสริมต่อยอด สร้างสรรค์ เช่น
 การส่งเสริมคุณภาพการผลิตยาสมุนไพร
 การส่งเสริมการใช้สีธรรมชาติฟอกย้อมผ้า และเส้นใยอื่น ๆ เพื่อใช้ใน
การผลิตสินค้าหัตถกรรมไทย
 การใช้สมุนไพรเพื่อรักษาสัตว์
 การผลิตขนมไทยที่ใส่ใจสุขภาพผูบ้ ริโภค
แนวทางพัฒนาของตัวบ่งชี้ที่ 10
• การเผยแพร่ความรู้จากภูมิปัญญาไทยในการรักษา
สิ่งแวดล้อม
• การใช้พลังงานแสงอาทิตย์ส่งเสริมการผลิตอาหารจากภูมิ
ปัญญาไทย
• การคัดเลือกพันธุพ์ ืชสมุนไพรและส่งเสริมการเพาะปลูกเพื่อให้
ชุมชนนาไปใช้ในโครงการ กินอาหารจากภูมิปัญญาไทยเพื่อ
การเสริมสร้างสุขภาวะโดยไม่ใช้ยา
พิจารณาว่าไปถึงขัน้ ได้รบั การยกย่องระดับชาติ/นานาชาติได้ไหมซึ่ง
ต้องวางแผนให้ดีโดยตัง้ เป้ าว่าจะให้องค์กรใดยกย่องทาอย่างไรจึงจะ
ได้รบั การยกย่อง
ตัวบ่งชี้ที่ 11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม
ประเด็นการพิจารณา
1. การมีส่วนร่วมของบุคลากรในสถาบันที่ก่อให้เกิดวัฒนธรรมที่ดี
2. อาคารสถานที่ สะอาดถูกสุขลักษณะ และตกแต่งอย่างมีสนุ ทรีย์
3. ปรับแต่งและรักษาภูมิทศั น์ ให้สวยงามสอดคล้องกับ ธรรมชาติและเป็ นมิตร
กับสิ่งแวดล้อม
4. มีพืน้ ที่ทางวัฒนธรรมที่เอื้อและส่งเสริมต่อการจัดกิจกรรม และมีการจัด
กิจกรรมอย่างสมา่ เสมอ
5. ระดับความพึงพอใจของบุคลากรและนักศึกษา ไม่ตา่ กว่า 3.51 จาก
คะแนนเต็ม 5
เกณฑ์การให้คะแนนให้ตามจานวนข้อที่ปฎิบตั ิ ได้ 1 ข้อ / 2 ข้อ / 3 ข้อ / 4 ข้อ / 5 ข้อ
ข้ อมูลประกอบการพิจารณา
โครงการ / กิจกรรมที่สมบูรณ์ / ชัดเจนที่ดาเนินการในแต่ละปี
การศึกษา
สรุปผลโครงการ / ประเมินโครงการ
การมีส่วนร่วมของบุคลากรในการประเมิน
การเก็บข้อมูลการประเมิน
แนวทางพัฒนาของตัวบ่งชี้ที่ 11
ประเด็นตัวบ่งชี้ที่ 11 อาจดูไม่ยาก แต่การจะทาให้ได้ คะแนนครบ 5 ข้ อ ไม่ ใช่ ง่าย
ต้องจัดเวทีคิดแบบมีส่วนร่วม
 ต้องมีการสื่อสารที่ดี ทาเฉยๆ ทาดี แต่ไม่มีคนทราบ ทาอย่างไรจะทา
ร่วมกัน ขับเคลื่อนกันทัง้ สถาบัน ทุกคณะวิชา และทุกหน่ วยงาน
 การออกแบบสอบถามสาคัญและการแจก แบบสอบถามก็สาคัญ ถ้าไป
วางไว้ท้ายห้องเรียน ต้องดูความพร้อมของผูต้ อบด้วย
 การตกแต่งอาคารด้วยภาพศิลปะ
ตัวบ่งชี้พืน้ ฐาน: ด้านการบริหารและการพัฒนาสถาบัน
ตัวบ่งชี้
ชื่อตัวบ่งชี้
น้าหนัก (ร้อยละ)
12
การปฎิบตั ิ ตามบทบาทหน้ าที่ของสภาสถาบัน
คณะไม่ต้องประเมินตัวบ่งชี้
5
13
การปฎิบตั ิ ตามบทบาทหน้ าที่ของผูบ้ ริหาร
สถาบัน (อธิการ, คณะ = คณบดี)
5
14
การพัฒนาคณาจารย์ ( นับอาจารย์ทงั ้ หมด)
5
ตัวบ่งชี้ที่ 12 การปฏิบตั ิ ตามบทบาทหน้ าที่ของสภาสถาบัน (P. 38)
ใช้คะแนน ผลการประเมินตนเอง (เต็ม 5 คะแนน)
ทาหน้ าที่ตาม พรบ.สถานศึกษาครบถ้วน
 กาหนดยุทธศาสตร์ ทิศทาง กากับนโยบาย ข้อบังคับ ระเบียบ ทบทวนทิศทาง
การดาเนินงานตามหน้ าที่และบทบาท
 มีระบบการกากับดูแลเพื่อให้เกิดการควบคุมและ ตรวจสอบ ควรพบใน
รายงานการประชุม + ธรรมาภิบาล
 ทาตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับของต้นสังกัดและหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง และติดตาม
การดาเนินงานตามมติสภาฯ
 ติดตามผลการดาเนินงานของผู้บริหารสถาบันการศึกษา
 สภามีนโยบายของสภาให้มีระบบการประเมินตนเอง
คณะวิชาไม่ต้องดาเนินการ
ตัวบ่งชี้ 13 การปฏิบตั ิ ตามบทบาทหน้ าที่ของผูบ้ ริหารสถาบัน (P. 39)
ใช้ค่าคะแนนการประเมินผลผู้บริหารโดยคณะกรรมการที่สภาสถาบันแต่งตัง้ (คะแนนเต็ม 5)
- แนวทางประเมินคล้าย ตัวบ่งชี้ 12
- ผูบ้ ริหาร คือ อธิการบดี คณบดี
- มีระบบการประเมินผู้บริหารโดยคณะกรรมการที่สภาแต่งตัง้ และมีการ
ดาเนินการตามระบบ
- มีการสังเคราะห์มติหรือนโยบาย รวมทัง้ ผลกระทบที่เกิดขึน้ จากการตัดสินใจ
ของผูบ้ ริหารสถาบันอุดมศึกษา
คณะวิชาไม่ต้องดาเนินการ หรือคณะวิชาพัฒนาระบบการประเมิน คณบดีเป็ น
การภายใน
ตัวบ่งชี้ 14 การพัฒนาคณาจารย์ (P.40)
ค่าดัชนี คณ
ุ ภาพอาจารย์เป็ น 6 เท่ากับ 5 คะแนน
วิธีการดาเนินการ
ผลรวมถ่วงน้าหนักของอาจารย์ประจา
อาจารย์ประจาทัง้ หมด
เกณฑ์ พจิ ารณา
วุฒิการศึกษา
ตาแหน่ งทางวิชาการ
อาจารย์
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
0
2
5
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์
1
3
6
รองศาสตราจารย์
3
5
8
ศาสตราจารย์
6
8
10
ตารางตัวอย่างคณะวิชามีอาจารย์ 60 คน
จาแนกตามวุฒิการศึกษาตาแหน่ งทางวิชาการ
วุฒิการศึกษา
ตาแหน่ งทางวิชาการ
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
อาจารย์
3 คน *(0) = 0
30 คน *(2) = 60
8 คน *(5) = 40
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์
1 คน *(1) = 1
3 คน *(3) = 9
4 คน *(6) = 24
รองศาสตราจารย์
-
5 คน *(5) = 25
5 คน *(8) = 40
ศาสตราจารย์
-
-
1 คน *(10) = 10
209 = 3.48
60
3.48 x 5 = 2.9 คะแนน
6
ตัวบ่งชี้พืน้ ฐาน: ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน 1 ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้
15
ชื่อตัวบ่งชี้
ผลการประเมินการประกันคุณภาพภายใน
รับรองโดยต้นสังกัด คิดให้ครบ 23 ตัวถ้าคณะ
ไม่ครบให้เอาคะแนนตัวบ่งชี้นัน้ จากของ
สถาบันมา
น้าหนัก (ร้อยละ)
5
ตัวบ่งชี้ 15 ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยต้นสังกัด (P.42)
วิธีการคานวณ
ผลรวมคะแนนประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในโดยต้นสังกัด
จานวนปี
ประเมิน EQA ปี 2554 ใช้ผล IQA ปี 2553
2555 ใช้ผล IQA ปี 2553 + 2554 หาร 2
2556 ใช้ผล IQA ปี 2553 + 2554 + 2555 หาร 3
ตัวบ่งชี้อตั ลักษณ์ 2 ตัวบ่งชี้
น้าหนัก (ร้อยละ)
5
5
5
อนุมตั ิ โดยสภาสถาบัน
ลาดับ
ชื่อตัวบ่งชี้ยอ่ ย
ที่
16 ผลการพัฒนาตามอัตลักษณ์ของสถาบัน
16.1 ผลการบริหารสถาบันให้เกิดอัตลักษณ์
(คณะทาแต่
ประเมินภาพรวมและเชื่อมโยงระดับ
สถาบัน)
16.2 ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ์
17 ผลการพัฒนาตามจุดเน้ นและจุดเด่นที่ส่งผล
สะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของสถาบัน
อัตลักษณ์
หมายถึง ผลผลิตของผูเ้ รียนตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจและ
วัตถุประสงค์ของสถาบันอุดมศึกษา ที่ได้รบั ความเห็นชอบจากสภาสถาบัน
ตัวบ่งชี้ที่ 16.1 และ 16.2 + 17 (เอกลักษณ์สถานศึกษา)
ตัวบ่งชี้ที่ 16 ผลการพัฒนาตามอัตลักษณ์ ของ
สถาบัน
ตัวบ่งชี้ที่ 16.1 ผลการบริหารสถาบันให้เกิดอัตลักษณ์
ตัวบ่งชี้ที่ 16.2 ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ์
เอกลักษณ์และอัตลักษณ์ ของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (AU’s Uniqueness and Identities)
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญในฐานะที่เป็ นประชาคมนานาชาติกาหนดอัตลักษณ์ ของบัณฑิต
ทุกระดับการศึกษาตามปรัชญา วิสยั ทัศน์ พันธกิจและวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัยไว้
3 ด้าน ดังต่อไปนี้
1. ความสามารถด้านการใช้ภาษาอังกฤษ
2. คุณธรรมจริยธรรม
3. ภาวะผูน้ าและความสามารถด้านการบริหารจัดการ
Assumption University as an International community has established the
identities of her graduates at all levels which are closely aligned with her
philosophy, vision, mission, and objectives as follows:
1. English proficiency
2. Integrity
3. Leadership and management skills
“Educating intelligences and active minds to change the world”
ตัวบ่งชี้ที่ 16.1 ผลการบริหารสถาบันให้เกิดอัตลักษณ์
เกณฑ์การพิจารณา
1. มีการกาหนดกลยุทธ์และแผนการปฏิบตั ิ งานที่สอดคล้องกับอัต
ลักษณ์ปรัชญา ปณิธาน วิสยั ทัศน์ พันธกิจและวัตถุประสงค์ของ
สถาบันโดยได้รบั การเห็นชอบจากสภาสถาบัน
เกณฑ์การให้คะแนน ตามจานวนข้อที่ปฎิบตั ิ ได้ 1 ข้อ / 2 ข้อ / 3 ข้อ / 4 ข้อ / 5 ข้อ
เกณฑ์การพิจารณา ตัวบ่งชี้ที่ 16.1
2. มีการสร้างระบบการมีส่วนร่วมของผูเ้ รียนและ บุคลากรในการปฏิบตั ิ ตาม
กลยุทธ์ที่กาหนดอย่างครบถ้วนสมบูรณ์
3. ผลการประเมินความเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับการปฏิบตั ิ งานของสถาบัน
ที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ ไม่ตา่ กว่า 3.51 ขึน้ ไป จาก 5 คะแนน
4. ผลการดาเนินงานก่อให้เกิดผลกระทบที่เป็ นประโยชน์ และ/หรือสร้าง
คุณค่าต่อสังคม
5. ได้รบั การยกย่องในระดับชาติและ/หรือนานาชาติในประเด็นที่เกี่ยวกับอัต
ลักษณ์
หลักฐานการได้รบั การยอมรับ:ได้รบั รางวัลยกย่องว่าเป็ นแบบอย่างในการ
ปฎิบตั ิ ที่ดีในการขับเคลื่อนอัตลักษณ์ หนังสือเชิดชูเกียรติ โล่รางวัล ใบประกาศ
เกียรติคณ
ุ เกียรติบตั ร
*ระดับคณะไม่ต้องประเมิน
ตัวบ่งชี้ที่ 16.2 ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ์
ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิตคะแนนเต็ม 5 คะแนน
แผนพัฒนาคุณภาพของสถาบันในด้านต่าง ๆ ที่ได้รบั ความ
เห็นชอบจากสภาสถาบัน
 รายงานผลการปฏิบตั ิ งานประจาปี ที่สภาเห็นชอบซึ่งแสดงผลและ
ความสาเร็จของการดาเนินงานที่สอดคล้องกับปรัชญา วิสยั ทัศน์
และพันธกิจของสถาบัน
เกณฑ์การพิจารณา
ร้อยละของบัณฑิตที่ได้รบั การประเมินจากผูใ้ ช้บณ
ั ฑิตว่ามีคณ
ุ ลักษณะที่สะท้อน
ถึงอัตลักษณ์ ปรัชญาปณิธาน พันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา (ทุกคณะ/ทุกระดับ
ต้องอย่างน้ อย 35% ของผูส้ าเร็จการศึกษาในแต่ละระดับ)
เอกลักษณ์
หมายถึง ความสาเร็จตามจุดเน้ นและจุดเด่นที่สะท้อนให้เห็น
เป็ นลักษณะโดดเด่นเป็ นหนึ่ งของสถาบัน
ตัวบ่งชี้เอกลักษณ์ได้แก่ ตัวบ่งชี้ที่ 17 ผลการพัฒนาตาม
จุดเน้ นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของสถาบัน
เอกลักษณ์ของ AU
ประชาคมนานาชาติ
ตัวบ่งชี้ที่ 17 ผลการพัฒนาตามจุดเน้ น & จุดเด่น ที่สะท้อนเป็ น
เอกลักษณ์ของสถาบัน
เกณฑ์การให้คะแนนตามจานวนข้อที่ปฎิบตั ิ ได้ 1 ข้อ / 2 ข้อ / 3 ข้อ / 4 ข้อ / 5 ข้อ
1. มีการกาหนดกลยุทธ์การปฏิบตั ิ งานที่สอดคล้องกับจุดเน้ น จุดเด่นหรือ
ความเชี่ยวชาญเฉพาะของสถาบันโดยได้รบั การเห็นชอบจากสภาสถาบัน
(คณะวิชาสอดคล้องกับสถาบัน)
2. มีการสร้างระบบการมีส่วนร่วมของผูเ้ รียนและบุคลากรในการปฏิบตั ิ ตาม
กลยุทธ์ที่กาหนดอย่างครบถ้วนสมบูรณ์
3. มีการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรเกี่ยวกับการดาเนินการตาม
จุดเน้ น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของสถาบัน ไม่ ต่ากว่ า 3.51 จาก
คะแนนเต็ม 5
4. มีผลการดาเนินงานบรรลุ ตามจุดเน้ น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะ
ของสถาบันและเกิดผลกระทบที่เกิดประโยชน์ และสร้างคุณค่าต่อสังคม
5. สถาบันมีเอกลักษณ์ ตามจุดเน้ น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะที่
กาหนดและได้รบั การยอมรับในระดับชาติ และ / หรือนานาชาติ
เกณฑ์การให้คะแนนตามจานวนข้อที่ปฎิบตั ิ ได้ 1 ข้อ / 2 ข้อ / 3 ข้อ / 4 ข้อ / 5 ข้อ
*คณะจะประเมินหรือไม่กไ็ ด้แต่ถ้าประเมินต้องเป็ นเอกลักษณ์ของคณะ
โดยความเห็นชอบของสภาสถาบัน
หลักฐาน
เอกสารแสดงถึงการกาหนดเอกลักษณ์ จุดเน้ น จุดเด่น
แผนกลยุทธ , OYPB
AR ที่ได้รบั ความเห็นชอบจากสภาสถาบัน
รางวัลประกาศเกียรติคณ
ุ ต่างๆ
กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม 1 ตัวบ่งชี้ (P.47 - 49)
ลาดับที่
18
ชื่อตัวบ่งชี้ย่อย
น้าหนัก (ร้อยละ)
ผลการชี้นา ป้ องกันหรือแก้ปัญหา
18.1 ในสถาบัน
สังคมในด้านต่าง ๆ
18.2 นอกสถาบัน
ทา 2 ประเด็น
ประเด็นที่ 1 กาหนดให้ต้องผ่าน
ประเด็นที่ 2 สภาสถาบัน
10
5
5
ข้อเสนอแนะในการดาเนินการ
ดูคาจากัดความตามมาตรการส่งเสริมในคู่มือ P. 47
เชิญชวนให้แต่ละคณะวิชาตัง้ คณะทางานขึน้ มาเป็ น
ผูร้ บั ผิดชอบ
ประสานความร่วมมือระหว่างคณะวิชา/
หน่ วยงาน
 เลือกประเด็นที่ชี้จะนาหรือแก้ปัญหาสังคมและผ่านความ
เห็นชอบจากสภาสถาบัน
ตัวบ่งชี้ 18 ผลการชี้นา หรือแก้ปัญหาสังคมในด้านต่าง ๆ (ทา 2 เรื่อง ค่า
น้าหนักเรื่องละ 5)
ประเด็นการพิจารณา
1. มีการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA)
2. บรรลุเป้ าหมายตามแผนไม่ตา่ กว่าร้อยละ 80
3. มีประโยชน์ และสร้างคุณค่าต่อสถาบัน (ต้องทาในสถาบันด้วย)
4. มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์ และสร้างคุณค่าต่อชุมชนหรือสังคม
5. ได้รบั การยกย่องระดับชาติและหรือนานาชาติ
เกณฑ์การให้คะแนนตามจานวนข้ อทีป่ ฎิบัติได้ 1 ข้อ / 2 ข้อ / 3 ข้อ / 4 ข้อ / 5 ข้อ
*คณะจะประเมินตัวบ่งชี้นี้หรือไม่กไ็ ด้
ข้อมูลประกอบการพิจารณา
โครงการหรือกิจกรรมด้านการสร้างคุณค่าสถาบัน ชี้นาหรือแก้ปญ
ั หา
สังคมต่างๆ
หลักฐานว่าโครงการได้รบั ความเห็นชอบจากสภาสถาบัน
รายงานสรุปผลโครงการ
หลักฐานเอกสารที่แสดงถึงการเกิดผลกระทบที่เกิดประโยชน์ ต่อสังคม
หลักฐานได้รบั การยกย่องระดับชาติหรือระดับนานาชาติ