ผศ.น.สพ.ดร.สาธร พรตระกูลพิพัฒน์

Download Report

Transcript ผศ.น.สพ.ดร.สาธร พรตระกูลพิพัฒน์

ผศ.ดร.สาธร พรตระกูล พิพฒ
ั น์
 “ Inadequate sow milk production
leads to reduced piglet growth and, in
certain cases, to increased mortality in
the litter.”
 จานวนเซลล์ผลิตน้านม
(lactocytes) หรือ เต้านม
 ความเข้มข้นของการสังเคราะห์
น้านมโดยเซลล์ผลิตน้านม
 ความสามารถของอวัยวะและ
ระบบอื่นทีจ่ ะจัดหาสารอาหารที่
ต่อมสร้างน้านมต้องการ
 เต้านมเริม่ เจริญเติบโตตัง้ แต่เป็ นตัวอ่อนอยูใ่ นท้องแม่ ไปจนถึงระหว่าง
การให้นม
 ส่วนใหญ่แล้วจะเจริญมากในช่วงท้ายของการตัง้ ท้อง
 ปจั จัยทีม่ ผี ลต่อการพัฒนาของต่อมน้ านม
 ฮอร์โมน
 เอสโตรเจน จะมีผลทาให้อตั ราการพัฒนาของเต้านมเร็วขึน
้ ซึง่ พบว่ามีผล
ต่ออัตราการพัฒนาของเต้านม ในสุกรอายุเก้าสิบวันซึง่ เป็ นช่วงเดียวกับที่
รังไข่เริม่ พัฒนา
 โปรแลคติน มีผลต่อการพัฒนาเต้านมก่อนเข้าสูว่ ยั เจริญพันธ์ (จานวน
เซลล์หลังน
่ ้านมเพิม่ ขึน้ )
 ระหว่างการตัง้ ท้องการสร้างเซลล์ผลิตน้ านมเกีย่ วข้องกับการเพิม่ ความ
เข้มข้นของฮอร์โมน เอสโตรเจนและโปรเจสเตอร์โลนในกระแสเลือดแม่
สุกร (โปรแลคตินยังต่าอยู)่
 ปจั จัยทีม่ ผี ลต่อการพัฒนาของต่อมน้ านม
 ฮอร์โมน
 หลังวันที่ 105 ของการตัง้ ท้อง ซึง่ โปรเจสเตอร์โลนลดและความ
เข้มข้นของเอสโตรเจนเพิม่ ขึน้ พบว่า เซลล์เต้านมจะมีอตั ราการเผา
ผลาญพลังงานเพิม่ ขึน้ อย่างมากมาย (เป็ นไปได้วา่ เกิดจากการ
เหนี่ยวนาให้เกิด ตัวรับโปรแลคติน (prolactin receptors)
ในเต้านม
 ปจั จัยทีม่ ผี ลต่อการพัฒนาของต่อมน้ านม
 ฮอร์โมน
 นอกจากนี้ยงั พบความสัมพันธ์ทางบวกระหว่างระดับของ โปรแลคตินและ
น้าหนักเต้านมทีว่ นั ที่ 110 ของการตัง้ ท้องอีกด้วย
 โปรแลคตินมีผลต่อการสร้างเต้านมอย่างมากในช่วง 90 ถึง 109 วัน
 ในสุกรสาว รีแลคซิน ช่วยกระตุน
้ การเจริญของเนื้อเต้านมและลดไขมัน
เต้านม
 ปจั จัยทีม่ ผี ลต่อการพัฒนาของต่อมน้ านม
 อาหาร
 การให้อาหารแม่สกุ รสาวและแม่นางในช่วงสาคัญสองช่วงต่อไปนี้มผี ล
ต่อการพัฒนาเต้านมอย่างรวดเร็ว
 ช่วง สุกรอายุ 90 วันไปจนถึงเข้าสูว่ ยั เจริญพันธ์
 ให้อาหารเต็มที่
 ช่วงเดือนสุดท้ายของการตัง้ ท้อง (สาคัญต่อการพัฒนาเนื้อเยือ่ ขับน้ านม)
 ไม่ควรเลีย้ งสุกรให้อว้ นเกินไป
 การให้อาหาร
 ระยะเวลาการให้นม
 ฮอร์โมน
 การให้อาหาร
 แหล่งของสารอาหารสาหรับการสร้างน้ านมมาจากสองแหล่ง
ใหญ่คอื อาหารทีแ่ ม่กนิ และ สารอาหารทีส่ ะสมในร่างกายแม่
สุกร
 การได้รบั อาหารไม่พอเพียงของแม่สกุ รในช่วงท้ายของการให้
นมมีผลลดการเจริญเติบโตของลูกสุกร
 การให้อาหาร
 Lysine จะต้องพอเพียง (26 g ต่อ kg ทีเ่ พิม่ ของครอก
ต่อ วัน)
 การเพิม่ ปริมาณ valine และ isoleucine จะทาให้การ
ผลิตน้านมเพิม่ ขึน้
 การให้อาหาร
 การทีแ่ ม่สกุ รได้รบั พลังงานเพิม่ ขึน้ จะทาให้สามารถผลิตน้ านม
มากขึน้
 ME ทีแ่ ม่สกุ รได้รบั เข้าไป 1 MJ จะทาให้น้ าหนักลูกสุกรเพิม่
1 กรัม ต่อ วัน
 ในสุกรสาว หากได้รบั พลังงานเกิน 75 MJ ลูกสุกรจะไม่โต
เพิม่ ขึน้ อีก (แม่สกุ รท้องแรกก็ให้ผลเช่นเดียวกัน
 การให้อาหาร
 ต้องให้แม่กนิ อาหารช่วงเลีย้ งลูกให้มากทีส่ ดุ และ ในช่วงท้อง
ต้องเลีย้ งให้แม่ได้รบั lean tissue มาก
 ระยะเวลาการให้นม
 ยิง่ ลูกดูดนมถีม่ าก จะมีผลให้เต้านมเจริญขึน้ มากและผลิตน้ านม
มากขึน้
 เปิ ดเทปเสียงเรียกดูดนม
 ลดการรบกวนการดูดนมของลูก
 ฮอร์โมน
 Growth Hormone (GH)
 GH-releasing factor (GHRF)
 GH
 GH มีบทบาทในการควบคุมการผลิตน้ านม
 GHRF
 เพิม่ ความเข้มข้นของ GH
 การจัดการให้แม่สกุ รกินอาหารได้ดี ร่วมกับการให้ GHRF มีผล
ทาให้แม่สกุ รผลิตน้านมได้ดี
 Thyrotropin-releasing factor (TRF)
 เพิม่ น้ าหนักเฉลีย่ ลูกสุกร
 มีผลให้กลับสัดช้าลง