Transcript Document

รายวิชา 204215
การจัดการบริการสารสนเทศ
หน่ วยที่ 3
วิธีให้บริการและกิจกรรมบริการสารสนเทศ
โดย
อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
1
3. การกาหนดประเภทกิจกรรมและวิธีให้ บริการ
สารสนเทศ
3.1 แนวคิดในการกาหนดประเภทกิจกรรมและวิธี
ให้บริการสารสนเทศ
3.2 ประเภทของบริการสารสนเทศ
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
2
3.1 แนวคิดในการกาหนดวิธีให้ บริ การและกิจกรรม
บริการสารสนเทศ
ในการกาหนดวิธีให้บริการและประเภทกิจกรรมบริการ
สารสนเทศต้องคานึ งถึงพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ
(Information Seeking Behavior) ของผูใ้ ช้
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
3
Information- seeking Behavior

Location of Information
Retrieval of Information
 Bibliographic Identification of Document
 Exchange of Documents
 Reading at Home
 Silent Place for Doing Research
 Exchange of Opinion

IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
4
ประเภทของบริการสารสนเทศ
1. บริการอ่าน ( Reading Service)
2. บริการช่วยการค้นคว้า (Reference Service)
3. บริการยืม – คืน (Circulation)
4. บริการสารอง (Reserved Book Service)
5. บริการจอง (Book Holding Service)
6. บริการยืมระหว่างห้องสมุด (Interlibrary Loan)
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
5
ประเภทของบริการสารสนเทศ
(ต่อ)
7. บริการค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval (IR))
8. บริการเลือกสรรสารสนเทศเฉพาะบุคคล
(Selective Dissemination of Information-SDI)
9. บริการสารสนเทศทันสมัย (Current Awareness Service)
10. บริการนาส่งทรัพยากรสารสนเทศ (Document Delivery Service)
11. บริการแปล (Translation Service)
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
6
1. บริการอ่าน (Reading Service)
1.1 ความหมายของบริการอ่าน
1.2 ประเด็นสาคัญที่ควรคานึ งในการจัดบริการอ่าน
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
7
1.1 ความหมายของบริการอ่าน
หมายถึงการจัดพื้นที่ สภาพแวดล้อม และ
สิง่ อานวยความสะดวกสาหรับให้ผูใ้ ช้ได้อา่ นและ
ใช้ทรัพยากรสารสนเทศสมความมุ่งหมาย
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
8
1.2 ประเด็นที่ควรคานึ งในการจัดบริการอ่าน
• จัดโต๊ะ เก้าอี้ ในจานวนที่เพียงพอและนัง่ สบาย
ถูกหลักการยศาสตร์ (Ergonomics)
• มีการแบ่งพื้นที่เหมาะสมกับกิจกรรมแต่ละประเภท
เช่น บริเวณเงียบสงบ บริเวณเสียงดัง ห้องค้นคว้ากลุ่ม
ห้องค้นคว้าเดี่ยว ห้องใช้สอ่ื โสตทัศน์
• จัดแสงสว่างให้เพียงพอ และอากาศถ่ายเทได้ดี
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
9
2. บริการช่วยการค้นคว้า (Reference Service)
2.1 ความหมายของบริการช่วยการค้นคว้า
2.2 ขอบเขตของบริการช่วยการค้นคว้า
2.3 ประเด็นสาคัญที่ควรคานึ งในการดาเนิ นงาน
บริการช่วยการค้นคว้า
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
10
2.1 ความหมายของบริการช่วยการค้นคว้า
หมายถึงบริการช่วยผูใ้ ช้รายบุคคลเข้าถึง
สารสนเทศที่ตอ้ งการ
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
11
2.2 ขอบเขตของบริการช่วยการค้นคว้า
• หาสารสนเทศเพือ่ ตอบคาถามใดคาถามหนึ่ ง
• ช่วยให้ผูใ้ ช้สามารถหาสารสนเทศด้วยตนเอง
• สอนผูใ้ ช้ให้รูจ้ กั ใช้ทรัพยากรสารสนเทศและ
เครื่องมือในการเข้าถึงสารสนเทศ เพือ่ การศึกษา
ค้นคว้าและเพือ่ การวิจยั
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
12
2.3 ประเด็นสาคัญที่ควรคานึ งในการดาเนิ นงาน
บริการช่วยการค้นคว้า
2.3.1 การจาแนกประเภทของคาถาม
2.3.2 การสัมภาษณ์
2.3.3 การบันทึกคาถาม – คาตอบ
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
13
2.3.1 การจาแนกประเภทของคาถาม
• คาถามที่สามารถหาคาตอบได้ทนั ที (Directional
Questions) เป็ นคาถามที่ตอ้ งการคาตอบเกี่ยวกับการชี้แหล่ง
ทรัพยากรสารสนเทศ วิธีการเข้าถึงสารสนเทศ หรือชี้สถานที่
ภายในสถาบันบริการสารสนเทศ เช่น จะหาน้ าดื่มได้ท่ไี หน
จะถ่ายเอกสารได้ท่ไี หน นักศึกษาปริญญาโทยืมหนังสือ
ได้ก่เี ล่ม วันเสาร์-อาทิตย์หอ้ งสมุดเปิ ดบริการหรือไม่
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
14
2.3.1 การจาแนกประเภทของคาถาม (ต่อ)
•
คาถามที่มีการอ้างอิงคาตอบไว้แล้ว (Ready
Reference Questions) มักเป็ นคาถามเกี่ยวกับข้อเท็จจริง
พื้นฐาน ได้แก่ เมืองหลวงของประเทศสเปน ชื่ออะไร น้ าหนัก
หนึ่ งตันมีก่กี โิ ลกรัม หน่ วยวัดระยะทางของประเทศฝรัง่ เศสคือ
อะไร ซึ่งคาถามเหล่านี้ สามารถหาคาตอบได้จาก
ทรัพยากรสารสนเทศอ้างอิงพื้นฐานประเภทต่างๆ เช่น
สารานุ กรม พจนานุ กรม นามานุ กรม หนังสือสถิติรายปี เป็ นต้15น
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
2.3.1 การจาแนกประเภทของคาถาม (ต่อ)
• คาถามที่ตอ้ งการการค้นคว้า (Reference Questions)
คาถามประเภทนี้ ตอ้ งการการสัมภาษณ์และการค้นคว้าหลาย
ขัน้ ตอนกว่าจะได้คาตอบ เช่น ต้องการข้อมูลเกี่ยวกับ FTA
(Free Trade Agreement) ที่ประเทศไทยทาความตกลง
กับต่างประเทศ เพือ่ ประกอบการสอน ต้องการข้อมูลเรื่อง
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic
Community – AEC) เพือ่ ประกอบการทารายงาน
16
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
2.3.1 การจาแนกประเภทของคาถาม (ต่อ)
• คาถามวิจยั (Research Questions) เป็ นคาถาม
ที่ตอ้ งการการค้นคว้าอย่างลุม่ ลึก เพือ่ วิจยั หาคาตอบ
ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ ง ต้องค้นคว้าจากทรัพยากร
สารสนเทศจานวนมากที่ศึกษาในเรือ่ งที่เกีย่ วข้อง เป็ นการ
ค้นคว้าหาข้อมูลประกอบการทาวิจยั ของนักวิจยั คณาจารย์
นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
17
2.3.2 การสัมภาษณ์
• เพือ่ ให้ทราบถึงความต้องการที่ชดั เจนของผูใ้ ช้
• ประเด็นที่ควรสัมภาษณ์ คือ ประเภทของทรัพยากร
สารสนเทศที่ตอ้ งการ วัตถุประสงค์ของการใช้
จานวนที่ตอ้ งการ ภาษา เวลาที่ตอ้ งการ
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
18
ตัวอย่างบทสัมภาษณ์ผูใ้ ช้
นักศึกษา : “I have to write a term paper.”
บรรณารักษ์ : “Oh, that sounds interesting.
on what topic?”
นักศึกษา : “Oh, I don’t know. Anything,
I guess.”
บรรณารักษ์ : “Did your teacher give you
something that describes
the assignment, like a handout?”
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
19
ตัวอย่างบทสัมภาษณ์ผูใ้ ช้ (ต่อ)
“Yes, but I left it at home.”
“Do you remember what it said?”
“No, Just to write a paper is all.”
“What subject are you taking
with this teacher?”
นักศึกษา : “Well, history.”
บรรณารักษ์ : “History of what? The U.S.?
European history? Asian history?...”
นักศึกษา
บรรณารักษ์
นักศึกษา
บรรณารักษ์
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
:
:
:
:
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
20
ตัวอย่างบทสัมภาษณ์ผูใ้ ช้ (ต่อ)
นักศึกษา : “European history.”
บรรณารักษ์ : “What are you interested in writing
about”
นักศึกษา : “Oh, I don’t know. Anything, I guess.,”
บรรณารักษ์ : “What are you studying in that class
now?”
นักศึกษา : “About the civil war.”
บรรณารักษ์ : “Which civil war?”
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
21
ตัวอย่างบทสัมภาษณ์ผูใ้ ช้ (ต่อ)
นักศึกษา : “You know, the civil war.”
บรรณารักษ์ : “Do you mean the English civil war?
Cromwell and all that?”
นักศึกษา : “Yeah, I guess so.”
บรรณารักษ์ : “So would you like to write about the
Roundheads or about the Cavaliers?”
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
22
ตัวอย่างบทสัมภาษณ์ผูใ้ ช้ (ต่อ)
นักศึกษา : “Who?”
บรรณารักษ์ : “You know, the soldiers of Oliver
Cromwell or the army of the King
of England.”
นักศึกษา : “Well, how about Robert E. Lee?”
บรรณารักษ์ : “Robert E. Lee? He fought in the
American Civil War. Here, in the
U.S.A.”
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
23
ตัวอย่างบทสัมภาษณ์ผูใ้ ช้ (ต่อ)
นักศึกษา : “That’s what we’re studying.”
บรรณารักษ์ : “You mean about Abe Lincoln and
Jefferson Davis and Stonewall
Jackson and Ulysses S. Grant?”
นักศึกษา : “Yeah, that stuff.”
บรรณารักษ์ : “Oh, okay. Let’s go over and look at
a couple of good sources on Robert
E. Lee to get you started...”
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
24
2.3.3 การบันทึกคาถาม - คาตอบ
• เพือ่ ประโยชน์ในการติดตามความก้าวหน้าของการให้บริการ
• เพือ่ ประโยชน์ในการตอบคาถามซ้า
• ประเด็นที่ควรบันทึกประกอบด้วย
•• ข้อมูลเกี่ยวกับผูถ้ าม
•• ข้อมูลคาถาม
•• ข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศที่ใช้ตอบคาถาม
•• ข้อมูลกระบวนการในการตอบคาถาม
25
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
3. บริการยืม – คืน (Circulation)
3.1 ความหมายของบริการยืม – คืน
3.2 องค์ประกอบของระบบบริการยืม – คืน
3.3 กระบวนการของระบบบริการยืม – คืน
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
26
3.1 ความหมายของบริการยืม – คืน
บริการยืม – คืน คือ บริการที่อนุ ญาตให้ผูใ้ ช้
นาทรัพยากรสารสนเทศรายการที่ตอ้ งการออกไป
ใช้นอกสถาบันบริการสารสนเทศได้ โดยกาหนด
ระยะเวลาการให้ยืมแตกต่างไปตามประเภทของ
ทรัพยากรสารสนเทศและประเภทของผูใ้ ช้
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
27
3.2 องค์ประกอบของระบบบริการยืม – คืน
3.2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
3.2.2 ผูใ้ ช้
3.2.3 ทะเบียนสมาชิก
3.2.4 ระบบบันทึกข้อมูลการยืม – คืน
3.2.5 ระเบียบการยืม – คืน
3.2.6 ผูใ้ ห้บริการยืม – คืน
3.2.7 ระบบป้ องกันความปลอดภัย
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
28
3.2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
• ประเภททรัพยากรสารสนเทศที่อนุ ญาตให้ยืม
• จานวนทรัพยากรสารสนเทศที่ให้ยม
ื
• ระยะเวลาที่อนุ ญาตให้ยืม
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
29
3.2.2 ผูใ้ ช้
• กลุ่มผูใ้ ช้ท่อี นุ ญาตให้ยืม
• สิทธิในการยืมของผูใ้ ช้แต่ละกลุ่ม
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
30
3.2.3 ทะเบียนสมาชิก
• รายชื่อและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผูใ้ ช้ท่สี มัครเป็ นสมาชิก
• อาจบันทึกในรูปสมุดทะเบียน บัตรทะเบียนหรือ
ฐานข้อมูล
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
31
3.2.4 ระบบการบันทึกข้อมูลการยืม – คืน
• เป็ นข้อมูลหลักฐานการยืม – คืน
• แสดงสถิติการยืม – คืน
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
32
3.2.5 ระเบียบการยืม – คืน
• เป็ นแนวทางสาหรับการให้บริการยืม – คืน
• กาหนดเป็ นลายลักษณ์อกั ษรและประกาศให้
สมาชิกทราบโดยทัว่ กัน
• กาหนดอยู่บนพื้นฐานที่ม่งุ ส่งเสริมการใช้ทรัพยากร
สารสนเทศ
• กาหนดอยู่บนพื้นฐานของความสุจริตของผูใ้ ช้
• เปิ ดโอกาสให้ผูใ้ ห้บริการได้ใช้ดุลพินิจ กรณี เกิดปัญหา
เฉพาะหน้าที่ตอ้ งตัดสินใจ
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
33
3.2.6 ผูใ้ ห้บริการยืม – คืน
• ประกอบด้วยผูใ้ ห้บริการระดับวิชาชีพและ
ระดับกึ่งวิชาชีพ
• ควรมีมนุ ษยสัมพันธ์ท่ด
ี ีและจิตใจบริการ
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
34
3.2.7 ระบบป้ องกันความปลอดภัย
• ป้ องกันการเสียหาย ทัง้ จากคนและสภาพแวดล้อม
• ป้ องกันการสูญหาย
• ป้ องกันภัยพิบตั ิ (Disaster) ทัง้ จากภัยธรรมชาติ
ได้แก่ แผ่นดินไหว น้ าท่วม พายุ และ
อุบตั ภิ ยั ได้แก่ ไฟไหม้ ท่อน้ าแตก เป็ นต้น
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
35
3.3 กระบวนการของระบบบริการยืม – คืน
3.3.1 กระบวนการยืม
3.3.2 กระบวนการคืน
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
36
3.3.1 กระบวนการยืม
เริ่มต้น
ตรวจสอบรายการทรัพยากรสารสนเทศจาก OPAC
ดึงตัวเล่มจากชัน้
แจ้งความจานงต้องการยืม
เจ้าหน้าที่บนั ทึกข้อมูลการยืม
เจ้าหน้าที่ลบสัญญาณแม่เหล็ก
ส่งทรัพยากรสารสนเทศให้ผูใ้ ช้
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
สิ้นสุด
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
37
3.3.2 กระบวนการคืน
เริ่มต้น
แจ้งความจานงต้องการคืน
เจ้าหน้าที่ตรวจสอบรายการยืมจากระบบ
เกินกาหนดส่ง
หรือไม่
ใช่
จ่ายค่าปรับ
ไม่ใช่
ลบรายการยืม
ตัง้ สัญญาณแม่เหล็ก
นาทรัพยากรสารสนเทศขึ้นชัน้
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
สิ้นสุด
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
38
4. บริการสารอง (Reserved Book Service)
4.1 ความหมายของบริการสารอง
4.2 วัตถุประสงค์ของบริการสารอง
4.3 การดาเนิ นงานบริการสารอง
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
39
4.1 ความหมายของบริการสารอง
หมายถึงการจัดบริการทรัพยากรสารสนเทศที่มี
จานวนน้อยแต่มีผูต้ อ้ งการใช้มากไว้ให้ผูใ้ ช้ได้ใช้ทวั ่ ถึง
โดยการนาทรัพยากรสารสนเทศที่จดั เก็บในระบบชัน้ เปิ ด
มาจัดเก็บและให้บริการในระบบชัน้ ปิ ด พร้อมทัง้ กาหนด
ช่วงเวลาให้ยมื สัน้ กว่าปกติ
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
40
4.2 วัตถุประสงค์ของบริการสารอง
• เพือ่ แก้ปญั หาความต้องการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ
รายการที่มีจานวนจากัด
• เพือ่ การใช้ประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศอย่างคุม้ ค่า
โดยไม่ตอ้ งใช้งบประมาณในการจัดหาเพิ่มเติม
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
41
4.3 การดาเนิ นงานบริการสารอง
• กาหนดรายการทรัพยากรสารสนเทศที่จดั เป็ น
บริการสารอง
• เตรียมทรัพยากรสารสนเทศให้พร้อมสาหรับ
บริการสารอง
• จัดทารายการทรัพยากรสารสนเทศที่จดั บริการ
สารอง (ทะเบียน/บัตร/OPAC)
• กาหนดเงือ่ นไขการให้บริการ ได้แก่ ระยะที่ให้ยมื
และค่าปรับ
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
42
5. บริการจอง
5.1 ความหมายของบริการจอง
5.2 การดาเนิ นงานบริการจอง
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
43
5.1 ความหมายของบริการจอง
หมายถึงบริการที่จดั ขึ้นเพือ่ อานวยความสะดวก
แก่ผูใ้ ช้ในกรณี ท่ตี อ้ งการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ
รายการที่มีผูอ้ น่ื ยืมออกไป เป็ นการแสดงความจานง
ล่วงหน้าว่าต้องการใช้ทรัพยากรสารสนเทศดังกล่าว
ต่อจากผูท้ ่ยี ืมไปก่อนหน้าตน
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
44
5.2 การดาเนิ นงานบริการจอง
• กาหนดนโยบายและประกาศให้ผูใ้ ช้ทราบ
• ให้บริการโดยผูใ้ ช้ดาเนิ นการเองหรือผูใ้ ห้บริการ
ดาเนิ นการให้
• แจ้งให้ผูใ้ ช้ทราบเมื่อรายการที่จองพร้อมให้ยม
ื
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
45
6. บริการยืมระหว่างห้องสมุด
(Interlibrary Loan)
6.1 ความหมายของบริการยืมระหว่างห้องสมุด
6.2 แนวคิดของการจัดบริการยืมระหว่างห้องสมุด
6.3 แนวทางการจัดบริการยืมระหว่างห้องสมุด
6.4 หน่ วยงานเฉพาะที่จดั บริการยืมระหว่างห้องสมุด
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
46
6.1 ความหมายของบริการยืมระหว่างห้องสมุด
หมายถึงบริการที่สถาบันบริการสารสนเทศ
จัดให้ผูใ้ ช้ในกรณี ท่ตี อ้ งการยืมหรือทาสาเนา
ทรัพยากรสารสนเทศจากสถาบันอืน่ เนื่ องจาก
ทรัพยากรสารสนเทศรายการนั้นไม่มีจดั ให้บริการ
ในสถาบันของตน
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
47
6.2 แนวคิดของการจัดบริการยืมระหว่างห้องสมุด
• ต้องการขยายพรมแดนการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศ
ให้แก่ผูใ้ ช้
• ต้องการให้ทรัพยากรสารสนเทศที่มีอยู่ได้รบั การใช้
ประโยชน์อย่างสูงสุด
• เพือ่ แก้ปญั หางบประมาณมีจากัด
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
48
6.3 แนวทางการจัดบริการยืมระหว่างห้องสมุด
• จัดทาข้อตกลงระหว่างสถาบัน (ระเบียบ/ประกาศ)
• ประชาสัมพันธ์ให้ผูใ้ ช้ทราบ
• จัดบริการ
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
49
7. บริการค้นคืนสารสนเทศ
(Information Retrieval (IR) Service)
7.1 ความหมายของบริการค้นคืนสารสนเทศ
7. 2 ขอบเขตของบริการค้นคืนสารสนเทศ
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
50
7.1 ความหมายของบริการค้นคืนสารสนเทศ
•
หมายถึงบริการค้นคืนสารสนเทศจากฐานข้อมูล
ในหัวข้อเรื่องที่ผูใ้ ช้ตอ้ งการ
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
51
7.2 ขอบเขตของบริการค้นคืนสารสนเทศ
•
•
•
•
สอนการค้น (Basic Search / Advance Search)
บรรณารักษ์ / นักสารสนเทศ ค้นให้ผูใ้ ช้
ผลการค้นอาจอยู่ในรูป บรรณานุ กรม / บรรณานุ กรม
และสาระสังเขป / บรรณานุ กรมและข้อความเต็ม
อาจมีการคิดค่าใช้จา่ ยตามจานวนหัวข้อเรื่องและ
ผลการค้น
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
52
8. บริการเลือกสรรสารสนเทศเฉพาะบุคคล
(Selective Dissemination of
Information – SDI)
8.1 ความหมายและความสาคัญของบริการ SDI
8.2 กระบวนการดาเนิ นงานของบริการ SDI
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
53
8.1 ความหมายและความสาคัญของบริการ SDI
• เป็ นบริการจัดหาสารสนเทศตามความต้องการ
ของผูใ้ ช้รายบุคคล
• เพือ่ ช่วยผูใ้ ช้ประหยัดเวลาในการแสวงหา (seek)
และเข้าถึง (access) สารสนเทศ
• สารสนเทศที่จดั บริการมีขอบเขตเฉพาะ
มีความลุ่มลึกและทันสมัย
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
54
8.2 กระบวนการดาเนิ นงานของบริการ SDI
โปรไฟล์ของเอกสาร
โปรไฟล์ของผูใ้ ช้
เปรียบเทียบ
ปรับปรุงแก้ไข
จัดส่งสารสนเทศที่คดั เลือกแล้ว
ผูใ้ ช้บริการประเมินผล
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
55
9. บริการสารสนเทศทันสมัย
(Current Awareness Service)
9.1 ความหมายของบริการสารสนเทศทันสมัย
9.2 ขอบเขตของงานบริการสารสนเทศทันสมัย
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
56
9.1 ความหมายของบริการสารสนเทศทันสมัย
• เป็ นบริการแจ้งให้ผูใ้ ช้ทราบถึงรายการทรัพยากร
สารสนเทศหรือสารสนเทศใหม่ท่สี ถาบันบริการ
สารสนเทศได้รบั
• เพือ่ ช่วยผูใ้ ช้ประหยัดเวลาในการติดตามความ
ก้าวหน้าหรือความเคลื่อนไหวในบรรณพิภพ
ในเรื่องหรือสาขาวิชาที่ตนสนใจ
• ดาเนิ นการอย่างสมา่ เสมอและต่อเนื่ อง
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
57
9.2 ขอบเขตของงานบริการสารสนเทศทันสมัย
• รายการทรัพยากรสารสนเทศใหม่
• หน้าสารบัญวารสารใหม่
• บรรณนิ ทศั น์หนังสือ/วารสารใหม่
• เวียนวารสาร
• สรุปสารสนเทศใหม่
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
58
10. บริการนาส่งทรัพยากรสารสนเทศ
(Document Delivery Service)
• หมายถึงการจัดหาและจัดส่งทรัพยากรสารสนเทศ
ตามความต้องการของผูใ้ ช้
• ทรัพยากรสารสนเทศที่จดั ส่งอาจอยู่ในรูปสิง่ พิมพ์
สือ่ โสตทัศน์หรือสือ่ อิเล็กทรอนิ กส์
• การจัดส่งอาจใช้ระบบไปรษณี ยห์ รือส่งในรูป
ไฟล์ดิจทิ ลั ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ ต
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
59
11. บริการแปล
(Translation Service)
11.1 ความหมายและวัตถุประสงค์ของบริการแปล
11.2 ขอบเขตของบริการแปล
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
60
11.1 ความหมายและวัตถุประสงค์ของบริการแปล
•
•
หมายถึงบริการที่จดั ให้ผูใ้ ช้สามารถเข้าถึง
สารสนเทศในภาษาที่ตนเองไม่สามารถเข้าใจได้
เพือ่ ลดอุปสรรคการเข้าถึงสารสนเทศของผูใ้ ช้
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
61
11.2 ขอบเขตของบริการแปล
• จัดหาเครื่องมือชี้แนะสถาบันบริการงานแปล
และสารสนเทศที่แปลแล้ว
• ให้บริการผลงานแปล
• จัดบริการแปล
• จัดทานามานุ กรมผูแ้ ปลอิสระ
• จัดหาและให้บริการทรัพยากรสารสนเทศในภาษา
ที่ผูใ้ ช้คนุ ้ เคย
IS 204215 การจัดบริการสารสนเทศ
c อ.ดร. นฤมล รักษาสุข
62