๔. ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง

Download Report

Transcript ๔. ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง

ครู กบั การปฏิรูปการศึกษา
ในทศวรรษทีส่ อง (พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๖๑)
ดร. สุ ทธศรี วงษ์ สมาน
รองเลขาธิการสภาการศึกษา
๒๑ สิ งหาคม ๒๕๕๓
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ ธานี
1
• ประเด็นการบรรยาย
๑. สรุ ปผลการปฏิรูปการศึกษาที่ผา่ นมา
๒. ภาพอนาคตที่มีผลกระทบต่อการศึกษา
๓.แนวทางการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่สอง
(พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๖๑)
๔. แนวทางการผลิตครู พนั ธุ์ใหม่
๑. สรุปผลการปฏิรูปการศึกษา
ที่ผ่านมา
3
การปฏิรูปการศึกษาทีผ่ ่ านมา

ครั้งแรก กว่าร้อยปี มาแล้ว
พระปิ ยมหาราชทรงขยายการศึกษาสู่ คนทุกหมู่เหล่า
 มุ่งสร้างความทันสมัยและธารงความเป็ นเอกราชของชาติ


ครั้งที่สอง จากประมาณ ๒๕๒๐
ปรับเปลี่ยนหลักสู ตรให้สอดคล้องกับชีวิตมากขึ้น
และมุ่งสร้างความเสมอภาคในการศึกษา
 มุ่งสร้างการศึกษาเพื่อชีวิตและสังคม


ครั้งที่สามจากการมี พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.
๒๕๔๒
ปรับโครงสร้างของหน่วยราชการที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
ให้มีเอกภาพ และตั้งหน่วยงานใหม่เพื่อปรับปรุ งมาตรฐาน
 มุ่งสร้างสังคมแห่ งการเรี ยนรู ้ ในกระแสโลกาภิวต
ั น์
ควบคู่กบั การยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน

ผลการปฏิรูปในทศวรรษแรก (๒๕๔๒-๒๕๕๑)

ปรับโครงสร้างหน่วยงานให้มีเอกภาพยิง่ ขึ้น


รวมทบวงมหาวิทยาลัย และสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาแห่งชาติเข้าไว้กบั กระทรวงศึกษาธิ การ
จัดตั้งหน่วยงานใหม่
สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
(องค์การมหาชน)
 สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่ งชาติ (องค์การมหาชน)



จัดระเบียบบริ หารราชการแบบเขตพื้นที่การศึกษา
มหาวิทยาลัยที่สาคัญออกนอกระบบราชการ เพื่ออิสระ
และความคล่องตัว ฯลฯ
๑. สรุปผลปฏิรูปการศึกษา ๙ ปี ที่ผ่านมา

คุณภาพผู้เรียน
- ระดับปฐมวัย พัฒนาการด้ านสติปัญญาต่ากว่ าด้ านอื่น
มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สร้ างสรรค์ ร้ อยละ ๑๑.๐
- กศ. ขั้นพืน้ ฐาน ผลสั มฤทธิ์ วิชาหลัก ป.๖ ม.๓ ม.๖ ลดลง
ทุกวิชาต่ากว่ า ๕๐% ยกเว้ นภาษาไทย มีความสามารถคิด
วิเคราะห์ ร้ อยละ ๑๐.๔
6
๑. สรุปผลปฏิรูปการศึกษา ๙ ปี ที่ผ่านมา
ปี การศึกษา ๒๕๕๒ คะแนนเฉลีย่ O- net ใน ๘ กลุ่มสาระการ
เรี ยนรู้ ป.๖ เฉลี่ยสู งขึ้น แต่ ของ ม. ๓ และ ม.๖ ไม่ ต่างจากปี ที่
ผ่ านมา โดย
ป.๖ คะแนนเฉลีย่ สู งสุ ดวิชา สุ ขศึกษาและพลศึกษา ๖๔.๗๖
ต่าสุ ดวิชา ภาษาอังกฤษ ๓๑.๗๕
ม.๓ คะแนนเฉลีย่ สู งสุ ดวิชา สุ ขศึกษาและพลศึกษา
๕๖.๗๐ ต่าสุ ดวิชาภาษาอังกฤษ ๒๒.๕๔
ม.๖ คะแนนเฉลีย่ สู งสุ ดวิชา ภาษาไทย ๔๖.๔๗ ต่าสุ ด
วิชาภาษาอังกฤษ ๒๓.๙๘

7
๑. สรุปผลปฏิรูปการศึกษา ๙ ปี ที่ผ่านมา








คะแนนเฉลีย่ GAT ๑๓๐.๘๒
คะแนนเฉลีย่ PAT ๑ ความถนัดทางคณิตศาสตร์ ๖๓.๙๗
คะแนนเฉลีย่ PAT ๒ ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ ๘๗.๑๗
คะแนนเฉลี่ ย PAT๓ ความถนั ด ทางวิ ศ วกรรมศาสตร์
๑๐๓.๑๙
คะแนนเฉลีย่ PAT ๔ ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์
๑๐๓.๐๗
คะแนนเฉลีย่ PAT ๕ ความถนัดทางวิชาชีพครู ๑๔๒.๑๗
คะแนนเฉลี่ย PAT ๖
ความถนัดทางศิ ลปกรรมศาสตร์
๑๓๔.๔๙
คะแนนเฉลีย่ PAT ๗ ความถนัดทางภาษาต่ างๆ ๘๘.๐๐
– ๑๑๕.๒๓
8
๑. สรุปผลปฏิรูปการศึกษา ๙ ปี ที่ผ่านมา

คุณภาพผู้เรียน
- อาชีวศึกษา มีสมรรถนะไม่ สอดคล้ องกับความต้ องการ
ของผู้ใช้ ขาดทักษะความรู้ พนื้ ฐานทีจ่ าเป็ น อัตราการมี
งานทาภายใน ๑ ปี ต่า ทั้ง ปวช. และ ปวส. ร้ อยละ ๑๒.๕
และ ๒๖.๕๓ ตามลาดับ มีสถาบันที่ได้ รับรองมาตรฐาน
ร้ อยละ ๘๙.๖
9
๑.สรุปผลปฏิรูปการศึกษา ๙ ปี ที่ผ่านมา (ต่ อ)
- อุดมศึกษา คุณภาพโดยรวมยังไม่ น่าพึงพอใจ ไม่
สอดคล้องกับความต้ องการของสถานประกอบการ
มีสถาบันทีไ่ ด้ รับรองมาตรฐาน ร้ อยละ ๙๔.๙
- การศึกษานอกระบบ คะแนนเฉลีย่ ในทุกวิชา ต่ากว่ า
ร้ อยละ ๕๐ และต่ากว่ าคะแนนเฉลีย่ ของการทดสอบ
ระดับชาติข้นั พืน้ ฐาน
 ขาดแคลนครู ท้ งั เชิ งปริมาณและคุณภาพ ครู สอนไม่ ตรงวุฒิ
จากนโยบายจากัดอัตรากาลังคนภาครัฐ ปี ๒๕๔๓-๔๙
ศธ. สู ญเสี ยอัตรา ๕๓,๙๔๘ อัตรา
(เกษียณ ๗๔,๗๘๔ คน ได้ คนื ๒๐,๘๓๖ อัตรา)
 ในอีก ๕ ปี จะมีครู และผู้บริ หารเกษียณประมาณกว่ า
ร้ อยละ ๕๐
10
๑.สรุปผลปฏิรูปการศึกษา ๙ ปี ที่ผ่านมา (ต่ อ)
การบริหารจัดการ เขตพืน้ ที่การศึกษาและสถานศึกษา
ยังไม่ มีอสิ ระและคล่ องตัว การมีส่วนร่ วมของเอกชน
และทุกภาคส่ วนมีน้อย
 ประชากรผู้ด้อยโอกาสจานวนมากไม่ สามารถเข้ าถึง
บริการการศึกษา โดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในท้ องถิ่นห่ างไกล
และทุรกันดาร จากข้ อมูลพบว่ า ในปี การศึกษา ๒๕๕๐
มีจานวนผู้ด้อยโอกาสถึง ๑,๙๐๖,๕๒๘ คน ส่ วนใหญ่
เป็ นเด็กยากจน รองลงมาเป็ นเด็กถูกทอดทิง้ และ
ชนกลุ่มน้ อย

11
๑.สรุปผลปฏิรูปการศึกษา ๙ ปี ที่ผ่านมา (ต่ อ)





การศึกษาเฉลีย่ ของคนไทย (อายุ ๑๕-๕๙ ปี ) ๘. ๘ ปี
มีประชากรไทยอายุ ๑๕ ปี ขึน้ ไป ทีไ่ ม่ รู้ หนังสื อร้ อยละ ๕.๙
สมรรถนะของประเทศไทย จากการจัดอันดับของ IMD
ปี ๔๗-๕๓ พบว่ า อยู่อนั ดับ ๒๖, ๒๕, ๒๙, ๓๓ , ๒๗ , ๒๖ และ
๒๖ ส่ วนการศึกษาอยู่อนั ดับ ๔๗ ในปี ๒๕๕๒
การผลิตกาลังคนไม่ สอดคล้ องกับความต้ องการทั้งปริมาณและ
คุณภาพไม่ เน้ นสมรรถนะทาเป็ น ทาได้
มีการระดมทรัพยากรและลงทุนจากทุกภาคส่ วนค่ อนข้ างน้ อย
และการบริหารจัดการยังไม่ มีประสิ ทธิภาพ
12
๑.สรุปผลปฏิรูปการศึกษา ๙ ปี ที่ผ่านมา (ต่ อ)



มีการนาเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษาไปใช้ เพือ่ การเรียนการ
สอน และการเรียนรู้ด้วยตนเองน้ อย
ยังไม่ สามารถบังคับใช้ กฎหมายได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ บาง
เรื่องยังขาดกฎหมายรองรับ
การเรียนรู้ตลอดชีวติ การศึกษานอกระบบ และตาม
อัธยาศัย คุณภาพยังไม่ น่าพอใจ และการเรียนรู้
ตลอดชีวติ ยังไม่ เป็ นวิถีชีวติ ของประชาชน
13
๒. ภาพอนาคตที่มีผลกระทบต่ อ
การศึกษาและสมรรถนะการแข่ งขันของ
ประเทศไทยเทียบกับนานาชาติ
๒.ภาพอนาคตที่จะมีผลกระทบต่ อการศึกษา








การเปลีย่ นแปลงประชากร วัยเด็กลดลง วัยสู งอายุมาก
พลังงานและสิ่ งแวดล้ อม การประหยัดพลังงานและ
รักษาทรัพยากรธรรมชาติ สิ่ งแวดล้ อม
ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวตั น์ การเคลือ่ นย้ ายคน
เงิน เทคโนโลยี ข้ อมูล ข่ าวสาร ความรู้ อย่ างเสรี
ความก้ าวหน้ าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
ภาวะวิกฤตด้ านเศรษฐกิจและสั งคม
การมีงานทาและตลาดแรงงาน
ทิศทางการพัฒนาประเทศที่เน้ นการกระจายอานาจ
การพัฒนาฐานราก / ชุมชน
ความต้ องการได้ รับการศึกษาอบรมของประชาชน
15
๓.ข้ อเสนอการปฏิรูปการศึกษา
ในทศวรรษที่สอง (๒๕๕๒-๒๕๖๑)
16
วิสัยทัศน์
คนไทยได้ เรียนรู้ตลอดชีวติ อย่างมีคุณภาพ

17

เป้าหมาย
ภายในปี ๒๕๖๑ มีการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้อย่ าง
เป็ นระบบ โดยเน้ นเป้าหมายหลักสามประการ
 คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเรียนรู้
 เพิม่ โอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้ อย่ างทัว่ ถึง
และมีคุณภาพ
 ส่ งเสริมการมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่ วนของสั งคม
ในการบริหารและจัดการศึกษา
18
กรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ๔ ใหม่
 พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่
 พัฒนาคุณภาพครู ยุคใหม่
 พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา และ
แหล่ งเรียนรู้ ยุคใหม่
 พัฒนาคุณภาพการบริ หารจัดการใหม่

19
๑. พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่
ให้มีนิสัยใฝ่ เรี ยนรู ้ เรี ยนรู ้ได้ดว้ ยตนเอง แสวงหาความรู ้
อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สามารถสื่ อสาร คิด วิเคราะห์
แก้ปัญหา คิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ มีจิตสาธารณะ มีระเบียบ
วินยั คานึงถึงประโยชน์ส่วนรวม ทางานเป็ นกลุ่มได้อย่าง
เป็ นกัลยาณมิตร มีศีลธรรม คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม
จิตสานึกและความภูมิใจในความเป็ นไทย ยึดมัน่ การ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รง
เป็ นประมุข รังเกียจการทุจริ ตและต่อต้านการซื้อสิ ทธิ์ ขาย
เสี ยง
20
๑. พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่
- พัฒนาคุณภาพการศึกษาและเรียนรู้
- ผลิตและพัฒนากาลังคนทีม่ ีคุณภาพ
มีสมรรถนะ และความรู้ ความสามารถ
21
๑. พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่
๑.๑ พัฒนาคุณภาพการศึกษาและเรียนรู้
- ให้ มีระบบการวัด ประเมินผลทีเ่ ป็ น
มาตรฐาน เทียบเคียงกันได้
- แก้ ปัญหา พัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
- ส่ งเสริมบทบาท สร้ างความเข้ มแข็ง
ครอบครัวครอบครัว
22
๑. พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่
๑.๒ ผลิตและพัฒนากาลังคนทีม่ ีคุณภาพ มี
สมรรถนะ และความรู้ ความสามารถ
- พัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่ งชาติ
และคุณวุฒิวชิ าชีพ
- จัดการอาชีวศึกษา โดยเน้ นการปฏิบัติ
ขยายทวิภาคี และสหกิจศึกษา
- การจัดตั้งสถาบันอาชีวศึกษาให้ สอดคล้อง
กับการพัฒนากลุ่มจังหวัด
23
๒. พัฒนาคุณภาพครู ยุคใหม่
ให้ เป็ นผู้เอือ้ อานวยให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เป็ น
วิชาชีพทีม่ ี คุณค่ า สามารถดึงดูดคนเก่ งคนดี มีใจรักใน
วิชาชีพมาเป็ นครู โดย
- พัฒนาระบบผลิตครู คณาจารย์ และบุคลากร กศ.
- การพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
- การใช้ ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
24
๒.๑ พัฒนาระบบผลิตครู คณาจารย์ และบุคลากร
ทางการศึกษา
๑) ปรับระบบการผลิต คัดสรร ค่ าตอบแทน และ
สวัสดิการ ให้ สามารถดึงดูดคนเก่ งและดี มีใจรัก
ในวิชาชีพมาเป็ นครู
๒) ให้ มีสถาบันอุดมศึกษาทีเ่ น้ นความเป็ นเลิศ
ด้ านการผลิตครู วิจยั และพัฒนาเกีย่ วกับวิชาชีพ
ครู รวมทั้งมีระบบประกันและรับรองคุณภาพ
มาตรฐานวิชาชีพครู และสถาบันผลิตครู
25
๒.๑ พัฒนาระบบผลิตครู คณาจารย์ และบุคลากร
ทางการศึกษา
๓) วางแผนผลิต พัฒนา และใช้ ครู คณาจารย์ และ
บุคลากรการศึกษาอย่ างเป็ นระบบ สอดคล้องกับความ
ต้ องการ
๔) จัดระบบให้ ผู้สาเร็จสาขาอืน่ มาเป็ นครู โดยศึกษา
วิชาครูเพิม่ เติม ส่ งเสริมให้ สถานศึกษาระดม
ทรัพยากรบุคคล ภูมิปัญญา ปราชญ์ ชาวบ้ าน มาสอน
๕) พัฒนาระบบผลิตครู คณาจารย์ อาชีวศึกษา และ
อุดมศึกษา โดยเชื่อมโยงการสอนกับประสบการณ์ ใน
สถานประกอบการ
26
๒.๒ การพัฒนาครู คณาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา
๑) ปรับปรุงและพัฒนาระบบและเกณฑ์ การประเมิน
สมรรถนะวิชาชีพครูให้ เชื่อมโยงกับความสามารถในการ
จัดการเรียนการสอนเพือ่ พัฒนาผู้เรียนเป็ นสาคัญ
๒) เร่ งจัดตั้งกองทุนพัฒนาและกองทุนส่ งเสริมครู
คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
๓) พัฒนาครู คณาจารย์ โดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐาน ให้ สามารถ
จัดการเรียนการสอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ พัฒนาครู
ประจาการทีส่ อนไม่ ตรงวิชาเอก มีระบบและมาตรการจูง
ใจให้ ครู คณาจารย์ ผู้บริหาร และบุคลากรการศึกษา
พัฒนาตนเองอย่ างต่ อเนื่อง
๔) พัฒนาคณาจารย์ ผู้บริหาร และบุคลากรด้ านอาชี วศึกษา
และอุดมศึกษา ให้ สามารถสอน วิจัย พัฒนานวัตกรรม
27
๒.๓ การใช้ ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
๑) คืนครู ให้ กบั ผู้เรียน โดยลดภาระงานอืน่ ที่ไม่
จาเป็ น และจัดให้ มีบุคลากรสายสนับสนุนให้
เพียงพอ
๒) ปรับปรุงเกณฑ์ กาหนดอัตราครู โดยพิจารณา
จากภาระงานที่ชัดเจน และจัดให้ มีจานวนครู
พอเพียงตามเกณฑ์ และมีวุฒติ รงตามวิชาทีส่ อน
๓) แยกบัญชีเงินเดือนและวิทยฐานะของข้ าราชการ
ครู และบุคลากรการศึกษาออกจากกัน
28
๓. พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้
ยุคใหม่
เพือ่ ส่ งเสริมการเรียนรู้ ของผู้เรียนอย่ างต่ อเนื่อง
ตลอดชีวติ และมีคุณภาพ โดย
- พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาทุกระดับ/ประเภทให้
สามารถเป็ นแหล่งเรี ยนรู้ที่มีคุณภาพ
- พัฒนาแหล่งเรี ยนรู้อื่นสาหรับการศึกษาและเรี ยนรู้
ทั้งในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
เช่น ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์
สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี และศูนย์การกีฬาและนันทนาการ เป็ นต้น
29
๔. พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่
เน้ นการกระจายอานาจสู่ สถานศึกษา เขตพืน้ ที่
และ อปท. การมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่ วน มี
ระบบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล
โดย
๔.๑ กระจายอานาจการบริ หารและการจัด
การศึกษาให้กบั สถานศึกษาและเขตพื้นที่
การศึกษา
๔.๒ พัฒนาระบบบริ หารจัดการตามหลักธรร
มาภิบาลให้มีประสิ ทธิภาพ
30
๔. พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่
๔.๓ พัฒนาการบริหารจัดการเพือ่ เพิม่ โอกาส
ทางการศึกษา อย่ างมีคุณภาพ
๔.๔ พัฒนาระบบบริหารจัดการเพือ่ สนับสนุน
การมีส่วนร่ วมของประชาชน ภาคเอกชน และ
ทุกภาคส่ วนในการจัดการศึกษาและสนับสนุน
การศึกษาและเรียนรู้ ให้ มากขึน้
-
-
ส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมของบุคคล ครอบครัว
ชุมชน องค์กรชุมขน องค์กรเอกชน องค์กร
วิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ
สถาบันสังคมอื่นในการจัดการศึกษามากขึ้น
ส่ งเสริ มบทบาทขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
ในการจัดและสนับสนุนการจัดการศึกษา
31
๔. พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่
๔.๕ เพิม่ ประสิ ทธิภาพการบริหารจัดการ
ทรัพยากรเพือ่ การศึกษา
- ปรับระบบการบริ หารจัดการ
การเงินและงบประมาณ โดยเน้น demand side
- วางแผนอย่างเป็ นขั้นตอนและ
จัดระบบบริ หารจัดการรองรับการยุบ เลิก ควบ
รวมสถานศึกษาขนาดเล็ก
32
• ข้ อเสนอกลไกหลัก
เพือ่ ขับเคลือ่ นการปฏิรูปการศึกษา
๑ คณะกรรมการขับเคลือ่ นการปฏิรูปการศึกษา
- คณะกรรมการนโยบายปฏิรูปการศึกษาใน
ทศวรรษที่สอง นายกรัฐมนตรี เป็ นประธาน
- คณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาใน
ทศวรรษที่สอง มีรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงศึกษาธิการ
เป็ นประธานฯ
คณะกรรมการทั้ง ๒ คณะ ให้ยบุ เลิกเมื่อสิ้ นสุ ด
ระยะเวลาปฏิรูป โดยให้สานักงานเลขาธิการสภา
การศึกษา ปฏิบตั ิหน้าที่ฝ่ายเลขานุการ
33
๒ จัดตั้งหน่ วยงาน/ปรับบทบาทหน่ วยงานเพือ่ เป็ น
กลไกรับรองคุณภาพมาตรฐาน และเพิม่ โอกาสทาง
การศึกษาและการเรียนรู้ อย่ างต่ อเนื่องตลอดชีวติ
ได้แก่
๒.๑ คณะกรรมการคุรุศึกษาแห่งชาติ เพื่อพัฒนา
นโยบายและวางแผนการผลิตและพัฒนาครู
คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ
๒.๒ สถาบันคุณวุฒิวชิ าชีพแห่งชาติ
๒.๓ สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแห่งชาติ
และกองทุน
๒.๔ ปรับบทบาท สนง.ส่ งเสริ มการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเป็ น สนง.
การศึกษาตลอดชีวิต
34
๓ มอบหมายให้ หน่ วยงานทีม่ อี ยู่แล้ ว ปฏิบัติ
ภารกิจเพิม่ เติมหรือเร่ งรัดดาเนินการ ดังนี้
๓.๑ ให้สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
และสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน ดาเนินการประกันการเรี ยนรู ้และ
รับรองมาตรฐานผูเ้ รี ยน โดยประเมินผลการ
เรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนในชั้นเรี ยนสุ ดท้ายของแต่ละ
ช่วงชั้นให้เป็ นการวัดผลระดับชาติ เพื่อให้
สามารถใช้การวัดประเมินผลที่เป็ นมาตรฐาน
สามารถเทียบเคียงกันได้
35
๓.๒ ให้ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
- ขับเคลื่อนการกระจายอานาจสู่เขตพื้นที่และ
สถานศึกษาโดยให้มีองค์คณะบุคคลที่มีความรู้ มี
ความเข้าใจ และประสบการณ์เกี่ยวกับการกระจาย
อานาจ
- สนับสนุนส่ งเสริ มการศึกษาทางเลือก โดยให้
มีองค์คณะบุคคลเพื่อดาเนินการ โดยคานึงถึงความ
สอดคล้องกับหลักการและแนวทางจัดการศึกษาตาม
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ และนโยบายรัฐบาล
36
• ข้ อเสนอกลไกสนับสนุนต้ องพัฒนา/ปรับปรุง
๑ การพัฒนาระบบการเงิน การคลัง
๒ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่ อสารเพือ่ การศึกษา
๓ การปรับปรุงแก้ ไข บังคับใช้ กฎหมาย
การศึกษาและทีเ่ กีย่ วข้ อง
37
๑. กำหนดเป้ ำหมำย ตัวบ่งชี้กำรปฏิรปู ฯ
๔ เป้ ำหมำย ๒๐ ตัวบ่งชี้
กำร
ดำเนินงำน
๒. จัดตัง้ สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำร
เรียนรูแ้ ละคุณภำพเยำวชน (สสค.)
๓. กำหนดกรอบแนวทำง ยุทธศำสตร์ และ
กลไกขับเคลื่อนกำรปฏิรปู ในทศวรรษที่สอง
๔. แต่งตัง้ คณะอนุกรรมกำร กนป. รวม
๖ คณะ
เป้ ำหมำยและตัวบ่งชี้กำรปฏิรปู
กำรศึกษำในทศวรรษที่สอง พ.ศ.
๒๕๖๑
39
๔ เป้ ำหมำย ๒๐ ตัวบ่งชี้
๑. คนไทยและกำรศึกษำไทยมีคณ
ุ ภำพ
และได้มำตรฐำนระดับสำกล
๒. คนไทยใฝ่ รู้
๓. คนไทยใฝ่ ดี
๔. คนไทยคิดเป็ น ทำเป็ น แก้ปัญหำได้
40
ึ ษาไทยมี
๑ คนไทยและการศก
คุณภาพและได้มาตรฐานระด ับ
สากล
ตัวบ่งชี้และค่าเป้ าหมาย
๑.๑ ผลสัมฤทธ์ ิ ทำงกำรเรียนในวิชำหลักจำก
กำรทดสอบระดับชำติ มีคะแนนเฉลี่ยมำกกว่ำ
ร้อยละ ๕๐
๑.๒ ผลสัมฤทธ์ ิ ทำงกำรศึกษำด้ำนคณิตศำสตร์
และวิทยำศำสตร์เพิ่มขึน้ เป็ นไม่ตำ่ กว่ำค่ำเฉลี่ย
นำนำชำติ (ผลทดสอบ PISA)
41
๑.๓ ควำมสำมำรถด้ำนภำษำอังกฤษเพิ่มขึน้
ร้อยละ ๓ ต่อปี
๑.๔ ทักษะด้ำนเทคโนโลยีสำรสนเทศเพิ่มขึน้
ร้อยละ ๓ ต่อปี
๑.๕ สัดส่วนผูเ้ รียนมัธยมศึกษำตอนปลำย
ประเภทอำชีวศึกษำ : สำมัญศึกษำ เป็ น ๖๐ : ๔๐
๑.๖ ผูส้ ำเร็จอำชีวศึกษำและอุดมศึกษำมี
คุณภำพระดับสำกล และเป็ นไปตำมกรอบ
มำตรฐำนคุณวุฒิ
๑.๗ จำนวนปี กำรศึกษำเฉลี่ยของคนไทย
(อำยุ ๑๕-๕๙ ปี ) เพิ่มขึน้ เป็ น ๑๒ ปี
42
๒ คนไทยใฝ่รู ้ : สามารถเรียนรูไ้ ด้ดว้ ย
ตนเอง ร ักการอ่าน และแสวงหา
ความรูอ
้ ย่างต่อเนือ
่ ง
ตัวบ่งชี้และค่าเป้ าหมาย
๒.๑ ผูเ้ รียนทุกระดับกำรศึกษำไม่ตำ
กว่ำร้อยละ ๗๕ มีทกั ษะในกำรแสวงหำ
ควำมรู้ได้ด้วยตนเอง รักกำรเรียนรู้และ
พัฒนำตนเองอย่ำงต่อเนื่ อง
๒.๒ อัตรำกำรรู้หนังสือของประชำกร
(อำยุ ๑๕ - ๖๐ ปี ) เป็ นร้อยละ ๑๐๐
43
๒.๓ ผูเ้ ข้ำรับบริกำรในแหล่งเรียนรู้
เพิ่มขึน้ ปี ละอย่ำงน้ อยร้อยละ ๑๐
๒.๔ คนไทยใช้เวลำอ่ำนหนังสือนอกเวลำ
เรียน/นอกเวลำทำงำน โดยเฉลี่ยอย่ำง
น้ อยวันละ ๖๐ นำที
๒.๕ สัดส่วนผูท้ ี่ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อกำร
เรียนรู้ต่อประชำกรอำยุ ๑๐ ปี ขึน้ ไปเป็ น
ร้อยละ ๕๐
44
เป้าหมาย ๓ คนไทยใฝ่ดี : มีคณ
ุ ธรรม
พืน
้ ฐาน มีจต
ิ สานึก และค่านิยมทีพ
่ งึ ประสงค์
เห็นแก่ประโยชน์สว่ นรวม มีจต
ิ สาธารณะ มี
วัฒนธรรมประชาธิปไตย
ตัวบ่งชี้และค่าเป้ าหมาย
๓.๑ ผูเ้ รียนทุกระดับกำรศึกษำไม่ตำ่ กว่ำ
ร้อยละ ๗๕ มีคณ
ุ ธรรม จริยธรรมและมีควำม
เป็ นพลเมือง
๓.๒ จำนวนคดีเด็กและเยำวชนที่ถกู
ดำเนินคดีโดยสถำนพินิจฯ ลดลงร้อยละ๑๐
ต่อปี
45
๓.๓ จำนวนเด็กอำยุตำ่ กว่ำ๑๕ ปี ที่ตงั ้ ครรภ์
ลดลงร้อยละ ๑๐ ต่อปี
๓.๔ จำนวนเด็กเข้ำรับกำรบำบัดยำเสพติด
ลดลงร้อยละ ๑๐ ต่อปี
๓.๕ สัดส่วนคนไทยที่ประกอบกิจกรรมทำง
ศำสนำ และกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ ต่อผูอ้ ื่น
และสังคมอย่ำงสมำ่ เสมอเพิ่มขึน้ ร้อยละ ๕
ต่อปี
46
เป้าหมาย ๔ คนไทยคิดเป็น ทาเป็น แก้ปญ
ั หาได้
มีท ักษะในการคิดและปฏิบ ัติ มีความ
สามารถในการแก้ปญ
ั หา มีความคิดริเริม
่
ื่ สาร
สร้างสรรค์ มีความสามารถในการสอ
ตัวบ่ งชี้และค่ าเป้ าหมาย
๔.๑ ผูเ้ รียนไม่ตำ่ กว่ำร้อยละ ๗๕ มี
ควำมสำมำรถในกำรคิดวิเครำะห์
สังเครำะห์ มีวิจำรณญำน มีควำมคิด
สร้ำงสรรค์
47
๔.๒ ผูส้ ำเร็จกำรอำชีวศึกษำและกำร
อุดมศึกษำมีสมรรถนะเป็ นที่พึงพอใจ
ของผูใ้ ช้ และมีงำนทำภำยใน ๑ ปี
รวมทัง้ ประกอบอำชีพอิสระเพิ่มขึน้
๔.๓ กำลังแรงงำนที่มีกำรศึกษำระดับ
มัธยมศึกษำขึน้ ไปเพิ่มขึน้ เป็ นร้อยละ
๖๕ และมีสมรรถนะทำงวิชำชีพตำม
มำตรฐำน
48

มีกำรจัดตัง้ สำนักงำนส่งเสริมสังคม
แห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน
(สสค.) โดยไดัรบั ควำมเห็นชอบจำก
ครม. แล้วในครำวประชุม เมื่อ ๑๑
พฤษภำคม ๒๕๕๓
• คณะอนุกรรมการคุรุศึกษาแห่งชาติ
- คณะทางานด้านการผลิตและการใช้ครู
คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
- คณะทางานด้านการพัฒนาครู คณาจารย์ และ
บุคลากรทางการศึกษา
- คณะทางานด้านการสร้างความพร้อมและความ
เข้มแข็งให้สถาบันผลิตครู
- คณะทางานด้านการวิจยั และพัฒนาระบบผลิต
พัฒนา และใช้ครู คณาจารย์ และบุคลากร กศ.
- คณะทางานด้านการประสานและส่ งเสริ ม
เครื อข่ายการผลิต พัฒนา และใช้ครู คณาจารย์ และ
บุคลากร กศ.
- การสร้ างความเข้ มแข็งสถาบันผลิตครู
 อนาคตทีพ
่ งึ ปรารถนา:
 ความพร้ อมทีจ
่ ะเป็ นผู้นาทางการศึกษา
 ความเข้ มแข็ง: Teacher Education (TE),
Teacher Development (TD) & Teacher
Research (TR)
 พัฒนา: คณาจารย์ หลักสู ตร สถานทีแ
่ ละ
ครุภณ
ั ฑ์ การบริหารจัดการ
พันธกิจของคณะครุศาสตร์ /ศึกษาศาสตร์ จึง
ควรเน้ นอย่ างน้ อย 3 ด้ านคือ
1.3.1 ด้านการผลิตครู ที่สนองความต้องการและ
สอดคล้องกับการใช้ ทั้งด้านปริ มาณ และคุณภาพ
1.3.2 ด้านการพัฒนาครู (ประจาการ) คณะครุ ศาสตร์/
ศึกษาศาสตร์ตอ้ งรับผิดชอบร่ วมกับหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง โดยอาจตั้งคณะอนุกรรมการคุรุศึกษา
จังหวัด
1.3.3 ด้านการวิจยั คณาจารย์คณะครุ ศาสตร์/ศึกษาศาสตร์
ควรได้รับการกระตุน้ การทาวิจยั โดยการจัดสรร
งบประมาณสนับสนุนการวิจยั
- สร้ างความเข้ มแข็งของคณาจารย์ คุรุศาสตร์
 พัฒนาตาแหน่ งวิชาการและเส้ นทางอาชีพที่มี
ศักดิ์ศรี
 เพิม
่ วุฒิและประสบการณ์ ใหม่
 สร้ างและบรรจุอาจารย์ ใหม่ แทนผู้เกษียณอายุ
(คปก.คุรุศาสตร์ )
 ขยายสิ ทธิประโยชน์ ตอบแทนผลงานดีมี
ประโยชน์
- ปรับหลักสู ตรผลิตครู
 เน้ นทักษะกระบวนการเรี ยนรู้ สาระวิทยาการ
และทัศนคติ(Skills, Knowledge & Attitude)
 เพิม
่ ประสบการณ์ จริงจากภายนอก
 สร้ างระบบอาจารย์ พเี่ ลีย้ งที่มีทักษะและ
ประสบการณ์
 ยกระดับมาตรฐานผู้เรี ยน
 กาหนดมาตรฐานภาษาอังกฤษและเทคโนโลยี
สารสนเทศของผู้สาเร็จหลักสู ตร
หลักสู ตรผลิตครู
1. โครงสร้ างหลักสู ตรการผลิตครู
2.1.1 หลักสู ตรระดับปริ ญญาตรี 5 ปี
2.1.2 หลักสู ตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต
วิชาชีพครู
2. ด้ านเนือ้ หาของหลักสู ตร ปัจจุบนั หลักสู ตรของ
ประเทศไทยกาหนดเพียง 3 หมวดวิชา คือ การศึกษา
ทัว่ ไป วิชาชีพครู และวิชาเฉพาะ (วิชาเอก)
กรณีตัวอย่ างประเทศฟิ นแลนด์ หลักสู ตรครูทสี่ อนต่ าง
ระดับการศึกษา มีการเน้ นองค์ ความรู้และเนือ้ หาทีใ่ ช้ ใน
การเรียนการสอนแตกต่ างกัน เช่ น
ระดับอนุบาล (ปริญญาตรี) เน้ นการศึกษาปฐมวัย และ
จิตวิทยา ฯลฯ
ระดับประถมศึกษา (Class Teacher) (ปริญญาตรี-โท)
เน้ นความเป็ นครูและการสอนเท่ าๆกับวิชาเอกและ
วิชาโท
ระดับมัธยมศึกษา (Subject Teacher) (ปริญญาโท)
เน้ นปรัชญาการเรียนรู้ ทฤษฎีและการปฏิบัติในการ
สอนวิชาเฉพาะ (วิชาเอก)
- พัฒนาการบริหารจัดการ
 หน่ วยงานกลางพัฒนาคุรุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์
 กองทุนส่ งเสริ มคุรุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์
 คปก. คุรุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์
 รางวัลนักคุรุศาสตร์ ดเี ด่ นแห่ งชาติ
 แผนงาน 10 ปี
คลัสเตอร์ คุรุศาสตร์ (Teacher Education Cluster: TEC)
แนวคิด: ระดมพลังจากภายนอก
คณะวิทยาศาสตร์
คณะอักษรศาสตร์
คณะวิชาอืน่ ๆ
ศูนย์ วจิ ัย
สถาบันภาษา
คณะคุรุศาสตร์
ศึกษาศาสตร์
สภาวิชาชีพ
มูลนิธิ/สมาคม
สถาบันเอกชน
หน่ วยงานรัฐ
โรงเรียน
สถาบันต่ างประเทศ
ครูของครู
1 ด้ านปริมาณ จากการสารวจสมาชิกสภาคณบดี 59
แห่ง (พ.ย. 2552) จาก 68 แห่ง พบว่ามีครู ของครู จะ
เกษียณอายุราชการในปี พ.ศ. 2565 จานวนร้อยละ
35.58
2 ด้ านคุณภาพ ปัจจุบนั คณะครุ ศาสตร์ /ศึกษาศาสตร์
และสถาบันผลิตครู มีผสู ้ อนเฉพาะวิชาชีพครู ส่ วน
ผูส้ อนวิชาเอกอยูใ่ นคณะที่สอนวิชาเอก อาทิ คณะ
วิทยาศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ และคณะ
สังคมศาสตร์ ซึ่งเป็ นการสอนด้านเนื้อหา (Content)
อาจารย์ ทสี่ อนวิชาชีพครู คือ ครูของครู ยังมี
อาจารย์ ระดับปริญญาเอกเพียงร้ อยละ 26.75 และมี
ตาแหน่ งวิชาการระดับศาสตราจารย์ เพียง 0.29
การผลิตและการพัฒนาคณาจารย์ ให้ มคี ุณภาพ เพือ่
ทดแทนคณาจารย์ ทเี่ กษียณอายุและเสริมสร้ างความ
เข้ มแข็งของสถาบันผลิตครู โดยจัดให้ มีกองทุนพัฒนา
คณาจารย์ คุรุศาสตร์ /ศึกษาศาสตร์ แห่ งชาติ และจัดทุน
ปริญญาเอกทีม่ ีคุณภาพสู งระดับโครงการปริญญาเอก
กาญจนาภิเษก
จัดกระบวนการพัฒนาผูบ้ ริ หาร
เสริ มแรงบันดาลใจให้เกิด ศน.ดี
กรอบแนวทางพัฒนาครู
เน้นพัฒนาทักษะสอดคล้อง
เน้นรู ปแบบครู พี่เลี้ยงใน ร.ร.
ระดับ ขนาด ภูมิสงั คม
อบรมแนวเลือกได้
กาหนดระยะช่วงปี พัฒนา
หลากหลายตามต้องการ มาตรการพัฒนา
4
จัดตั้งศูนย์ กลางพัฒนานโยบายสู่ การปฏิบัติ
1
เปลีย่ นแนว
มาตรการส่
ง
เสริ
ม
มาตรการสนับสนุน
พัฒนา
เครื อข่ายสร้างสื่ อการสอน
3
2
สร้างเครื อข่ายสถาบันผลิต
สู่สถานศึกษา/สาธารณะ
ปรับกลไก เพิม่ พลัง
ประสานส่ งเสริ มกับ ส.ส.ค.
สร้างเครื อข่ายภาคเอกชน
ระบบสนับสนุน ส่ งเสริม
ระบบคูปองพัฒนา
School mapping
ภารกิจติดตาม ส่ งเสริมเครือข่ ายร่ วมมือ
ปรับขนาดโรงเรียน/ห้ องเรียน
ปรับระบบวิทยฐานะ
ยุทธศาสตร์
Action now
และหลักเกณฑ์ ที่เป็ นอุปสรรค
ลดภาษีการผลิตสื่ อ
การเรี ยนรู้
เร่ งมาตรฐานวิชาชีพ
สู่ความก้าวหน้า
สร้างมาตรฐานภาษาสื่ อสาร
และเทคโนโลยี
กำรดำเนินงำนต่อไป
 จัดทำแผนปฏิบต
ั ิ กำร (Roadmap) เพื่อ
ขับเคลื่อนกำรปฏิรปู กำรศึกษำ
 หน่ วยงำนที่ เกี่ยวข้องนำแผนสู่กำร
ปฏิบตั ิ
 เร่งรัด ติดตำม ประเมินผล กำรปฏิบต
ัิ
ตำมแผน ฯ
ขอขอบคุณ
64