ไฟล์งาน Powerpoint 3

Download Report

Transcript ไฟล์งาน Powerpoint 3

แนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบคอนสตรัคติวซิ ึม
(Construtivism)
ความหมาย
การเรี ยนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิซึมเป็ นกระบวนการที่เกิดขึ้น
ภายในผูเ้ รี ยน ผูเ้ รี ยนเป็ นผูส้ ร้าง (Construct) ความรู้จาก
ความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่ งที่พบเห็นกับความรู้ความเข้าใจที่มีอยูเ่ ดิม
โดยผูเ้ รี ยนสร้างเสริ มความรู้ผา่ นกระบวนการทางจิตวิทยาของตนเอง
ผูส้ อนไม่สามารถปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปั ญญาของผูเ้ รี ยนได้ แต่
ผูส้ อนสามารถช่วยผูเ้ รี ยนปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปั ญญาได้โดยจัด
สภาพการณ์ที่ทาให้เกิดภาวะไม่สมดุลขึ้น ซึ่ง วรรณทิพา รอดแรงค้า
(2540:1) กล่าวถึงคอนสตรัคติวซิ ึมว่า คอนสตรัคติวิซึมจึงเป็ นิธรการ
คิดเกี่ยวกับเรื่ องของความรู้และการเรี ยนรู้
ทฤษฏี/แนวคิด
หลัการของคอนสตรัคติวิซึม
ทฤษฏีของความรู้ นีอ้ ้ างถึงหลักการ 2 ข้ อ ดังนี้
1. ความรู ้ไม่ได้เกิดจากการรับรู้เพียงอย่างเดียว แต่เป็ นการ
สร้างขึ้นโดยบุคคลที่มีความรู้ความเข้าใจ
2. หน้าที่ของการับรู้คือ การปรับตัวและการประมวล
ประสบการณ์ท้ งั หมดแต่ไม่ใช่เพื่อการค้นพบสิ่ งทีเ่ ป็ นจริ ง
รากฐานแนวคิดคอนสตรัคติวซิ ึม
1.รากฐานทางปัญญา
ทฤษฏีคอนตรัมติวซิ ึมอธิบายความรู้ (knowledge) ว่ า
เป็ นผลความพยายามทางปัญญาของมนุษย์ ในการจักการกับโลก
แห่ งประสบการณ์ ของตนเอง (Von Glaserfeld,1991)
ซึ่งสอดคล้ องกับปัชญาปฎิบัตินิยม ซึ่งเสนอโดย William
James และ Jonh Dewey ในตอนต้ นศตวรรษที่ 20
โดย James(1975) เห็นว่ า ความรู้ คอื ความสามารถของ
รายบุคคลในการปรับประสบการณ์ เก่ าหรือความเชื่อเดิมทีม่ อี ยู่
ให้ เข้ ากับประสบการณ์ ใหม่ ได้ ด้วยกระบวนกรพิสูจน์ ให้เห็นจริง
ไดและมีความสมเหตุสมผล ก่ อให้ เกิดประโยชน์ ในทางปฏิบตั ิ
ซึ่งปรัชญาปฏิบัตนิ ิยม ยอมรับประสบการและข้อเท็จจริ งที่
ได้รับทางประสาทสัมผัสแต่ไม่ถือเอาประสาทสัมผัสเพียงอย่าง
เดียวเป็ นบ่เกิดแห่งความรู ้ และไม่ใช่ประสบการณ์น้ นั
(Dewey,1929) โดยมีกระบวนการไตร่ ตรองเกิดขึ้น
ประสบการณที่ไม่ได้รู้คิดเหล่านั้นจะค่อยๆ มีความหมายขึ้นผู้
ไตร่ ตรองจึงเริ่ มรู้และเข้าใจในสิ่ งที่ตนประสบ
2.รากฐานทางจิตวิทยาการเรียนรู้
Jean Piaget เห็นว่าคนเราเรี ยนรู้โดยกระบวนการของการ
ปรับตัวให้เข้ากับสิ่ งแวดล้อมด้วยกระบวนการสู่ สภาวะสมดุล
ซึ่งประกอบด้ วยกลไกพืน้ ฐาน 2 อย่ าง คือ
การดูดซึมเข้ าสู่ โครงสร้ างการปรับโครงสร้ างและการปรับ
โครงสร้ าง การดูดซึมเข้ าสู่ โครงสร้ างเป็ นการรับเอาข้อมูลจาก
สิ่ งแวดล้อมเข้ามารวมไว้ในโครงสร้างทางปัญญาที่มีอยู่ ส่ วน
การปรับโครงสร้ างเป็ นความสามารถในการเปลี่ยนแปลง หรื อ
ขยายโครงสร้างทางปัญญาที่มีอยูใ่ ห้เข้ากับสิ่ งแวดล้อม
แนวทางการจัดการเรียนรู้
บทความของครู ตามแนวคอนสตรัคติวซิ ึม
การเรียนการสอนตามแนวคอนสตรัคติวซิ ึม ถือว่ าครู มบี ทบาท
เป็ นผู้อานวยความสะดวกในการเปลีย่ นมโนมติ
วรรณทิพา รอดแรงค้ า กล่ าวถึงการใช้ วธิ ีการสอนที่เน้ น
ปฏิสัมพันธ์ ระหว่ างนักเรี ยนกับครู
( Interactive teaching approach) ด้ วย
วิธีการสอนแบบนี ้ ถือว่าครูมีบทบาทเป็ น”ผู้อานวยความสะดวก
ในการเรี ยนรู้” เป็ น “ทรัพยากรบุคคล” เป็ น “ผู้สืบเสาะหาความรู้
ที่ไม่เคยมีความรู้หรื อไม่เคยมีประสบการณ์ในการสืบเสาะหา
ความรู้มาก่อน” เป็ น “ผู้ท้าทายความคิดของนักเรี ยน” ในฐานะ
ที่เป็ น “ผู้อานวยความสะดวกในการเรี ยนรู้”ครูพยายามที่จะนา
นักเรี ยนและแหล่งทรัพยากรให้ มาพบกัน ในฐานะที่เป็ น
“ทรัพยากรบุคล” ครูต้องจัดหาข้ อมูลให้ นกั เรี ยนมากกว่า
ความสะดวกในการเรียนรู้ ” เป็ น “ทรัพยากรบุคคล” เป็ น
“ผู้สืบเสาะหาความรู้ ทไี่ ม่ เคยมีความรู้ หรือไม่ เคยมีประสบการณ์
ในการสื บเสาะหาความรู้ มาก่ อน” เป็ น “ผู้ท้าทายความคิดของ
นักเรียน” ในฐานะที่เป็ น “ผู้อานวยความสะดวกในการเรียนรู้ ”
ครู พยายามทีจ่ ะนานักเรียนและแหล่ งทรัพยากรให้ มาพบกัน ใน
ฐานะที่เป็ น “ทรัพยากรบุคล” ครู ต้องจัดหาข้ อมูลให้ นักเรียน
มากกว่ าการถาม คาถามกลับไปที่ตวั นักเรียน ในฐานะที่เป็ นผู้สืบ
เสาะหาความรู้ ทไี่ ม่ เคยมีความรู้ หรือไม่ เคยมีประสบการณ์ ในการ
สื บเสาะหาความรู้ มาก่ อน ครู จะทาเป็ นไม่ รู้ เกีย่ วกับการอธิบาย
หรือไม่ รู้ เกีย่ วกับสถานการณ์ น้ัน เพือ่ ช่ วยให้ นักเรียนหาคาตอบ
ด้ วยตนเอง และฐานะทีเ่ ป็ น ผู้ท้าทายความคิดของนักเรียน
แนวการสอนตามแนวคอนสตรัคติวซิ ึม
Yager ได้เสนอแนวการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิซึม ไว้ ดังนี้
• 1. ให้ นักเรียนถามคาถาม แล้วใช้ คาถามและความคิดเห็นของนักเรียนใน
การวางแผนการสอน
• 2. ยอมรับและสนับสนุนความคิดเห็นของนักเรียน
• 3. ส่ งเสริมความเป็ นผู้นา ความร่ วมมือ การหาแหล่งข้ อมูลข่ าวสาร และ
การนาความคิดเห็นไปปฏิบัติ อันเป็ นผลเนื่องจากกระบวนการเรียนของ
นักเรียน
• 4. ใช้ ความคิดเห็น ประสบการณ์ และความสนใจของนักเรียน เพือ่ ให้
บทเรียนดาเนินไปอย่ างมีความหมาย
• 5. สนับสนุนให้ นักเรียนเสนอแนะสิ่ งทีเ่ ป็ นสาเหตุของเหตุการณ์ หรือ
สถานการณ์ และสนับสนุนให้ นักเรียนทานายผลทีจ่ ะเกิดขึน้
• 6. สนับสนุนให้ นักเรียนทดสอบความคิดของตนเอง เช่ น ตอบคาถามที่
ตัวเองตั้งขึน้ เดาว่ าอะไรเป็ นสาเหตุ และทานายผลทีต่ ามมา
• 7. ค้ นหาความเห็นของนักเรียนก่อนนาเสนอความคิดเห็นของครู หรือ
ก่อนศึกษาความคิดเห็นจากหนังสื อเรียน หรือจากแหล่งอืน่
• 8. สนับสนุนให้ นักเรียนท้ าทายความเห็นของกันและกัน
• 9. ใช้ ยุทธวิธีการเรียนแบบร่ วมมือ(Cooperative learning)ซึ่ง
เน้ นความร่ วมมือการนับถือซึ่งกันและกัน และใช้ กลยุทธ์ ของการแบ่ ง
งานกันทา
• 10. สนับสนุนให้ มีการสะท้ อนความคิด และมีการวิเคราะห์ วจิ ารณ์ ความ
คิดเห็นของกันและกัน แสดงความเคารพและใช้ ทุกความคิดเห็นที่
นักเรียนสร้ างขึน้
• 11. สนับสนุนให้ มีการวิพากษ์ วจิ ารณ์ ตนเอง รวบรวมพยานหลักฐานที่
สนับสนุนความคิดเห็นและสร้ างความคิดใหม่ เนื่องจากประสบการณ์
และพยานหลักฐานใหม่
ขั้นตอนการสอนตามแนวคอนสตรัคติวซิ ึม
Yager ได้ เสนอขั้นตอนการคอนสตรัคติวซิ ึมแบบ
The Constructivist Learning Model ( CLM )
ไว้ 4 ขั้นตอนดังนี้
1. ขั้นเชิญชวน ได้ แก่
•
•
•
•
1.1 สั งเกตสิ่ งรอบตัวด้ วยความอยากรู้ อยากเห็น
1.2 ถามคาถาม
1.3 พิจารณาคาตอบที่เป็ นไปได้ ของคาถามที่ต้งั ขึน้
1.4 จดบันทึกปรากฏการณ์ ที่ไม่ คาดคิดมาก่ อนว่ าจะเกิดขึน้ แต่
ไม่ เกิดขึน้
• 1.5 ชี้สถานการณ์ ทกี่ ารรับรู้ ของนักเรียนแตกต่ างกัน
2. ขั้นสารวจ ได้ แก่
•
•
•
•
•
•
•
•
2.1 ให้ นักเรียนมีส่วนร่ วมในการทากิจกรรม
2.2 ระดมพลังสมองเกีย่ วกับทางเลือกทีเ่ ป็ นไปได้
2.3 มองหาสารสนเทศ
2.4 ทาการทดลองโดยใช้ วสั ดุอุปกรณ์
2.5 สั งเกตปรากฏการทีเ่ ฉพาะเจาะจง
2.6 ออกแบบโมเดล
2.7 รวบรวมและจัดกระทาข้ อมูล
2.8 ใช้ ยุทธวิธีแก้ ปัญหา
•
•
•
•
•
•
•
•
2.9 เลือกทรัพยากรทีเ่ หมาะสม
2.10 อธิปรายการแก้ ปัญหา
2.11 ออแบบและดาเนินการทดลอง
2.12 ประเมินทางเลือกทีห่ ลากหลาย
2.13 มีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็นที่ไม่ ตรงกัน
2.14 ชี้การเสี่ ยงและผลทีต่ ามมา
2.15 ขอบเขตของการสื บเสาะหาความจริง
2.16 วิเคราะห์ ข้อมูล
3. ขั้นนาเสนอคาอธิบายและคาตอบของปัญหา
•
•
•
•
•
•
•
•
3.1 สื่ อความหมายข้ อมูลและความคิดเห็น
3.2 สร้ างและอธิบายโมเดล
3.3 สร้ างคาอธิบาย
3.4 บททวนและวิจารณ์ คาตอบของปัญหา
3.5 ให้ เพือ่ นประเมินผลการเสนอคาตอบ
3.6 รวบรวมคาตอบที่หลากหลาย
3.7 ชี้ให้ เห็นคาตอบที่เหมาะสม
3.8 บูรณาการคาตอบทีไ่ ด้ กบั ความรู้ และประสบการณ์ เดิมทีม่ ีอยู่
4. ขั้นนาไปปฏิบัติ
• 4.1 การตัดสิ นใจ
• 4.2 นาความรู้ และทักษะไปใช้
• 4.3 ถ่ ายโยงความรู้ และทักษะ
• 4.4 แลกเปลีย่ นสารสนเทศและความคิดเห็น
• 4.5 ถามคาถามใหม่
• 4.6 นาผลทีไ่ ด้ จาการเรียนรู้ และส่ งเสริมความคิดเห็น
• 4.7 ใช้ โมเดลและความคิดเห็นเพือ่ ให้ เกิดการอภิปรายและการ
ยอมรับจากเพือ่ นๆ
ข้ อค้ นพบจบการวิจยั
จากการจักการเรียนรู้ ตามแนวคอนสตรัคติวซิ ึม มีข้อค้ นพบ
จากการวิจยั ดังนี้
1. การพัฒนาผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน ไพจิตร สะดวกการ(2509)
วิจยั พบว่ า นักเรียนที่มีระดับผลสั มฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชา
คณิตศาสตร์ ปานกลางที่ได้ รับการสอนด้ วยกระบวนการสอน
คณิตศาสตร์ ทสี่ ร้ างขึน้ มีผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนสู งกว่ า
นักเรียนระดับเดียวกันที่ได้ รับการสอนตามปกติ
2.การสร้ างโครงสร้ างทางปัญญาและเปลีย่ นความเชื่อเดิม
Minstrell(1982) วิจยั เกีย่ วกับการปรับเปลีย่ นความเชื่อของ
นักเรียนในวิชาฟิ สิ กส์ แล้ วพบว่ าความขัดแข้ งทางปัญญาที่
เกิดขึน้ สามารถทาให้ นักเรียนสร้ างโครงสร้ างทางปัญญาและ
ความเชื่อเดิม
3.ความสามารถในการคิด สาคร ธรรมศักดิ์ (2541) วิจยั ศึกษาผล
ตามแนวคอนสตรัคติวซิ ึมแบบร่ วมมือทีม่ ีต่อความสามารถใน
การคิดแก้ ปัญหาสิ่ งแวดล้ อม ผลการวิจยั พบว่ าความสามารถใน
การคิดแก้ ปัญหาของนักเรียนกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลอง ว่ า
แตกต่ างกันอย่ างไร
.01หนึ่งนุช กาฬภักดี (2543) วิจยั เปรียบเทียบความสามารถ
ในการคิดระดับสู งในการแก้ ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ การคิดอย่ าง
วิจารณญาณผลการวิจยั พบว่ าผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
วิทยาศาสตร์ และความสามารถการคิด มีความแตกต่ างกันอย่ างมี
นัยสาคัญที่ระดับ .05
2.แนวคิดการจัดการเรียนรู้ ตามสภาพจริง(Authentic
Instruction)
ความหมาย
การเรี ยนตามสภาพจริ ง หรื อการเรี ยนรู ้แท้ (Authentic
Learning) เป็ นการเรี ยนรู ้ที่ผเู ้ รี ยนจะเป็ นผูค้ ิด วิเคราะห์ สังเคราะห์
ประเมิน ตัดสิ นใจได้เอง มีกระบวนการที่ใช้เป็ นยุทธศาสตร์ในการคิด
อย่างเป็ นระบบ ผูเ้ รี ยนเป็ นผูอ้ ธิบาย นาเสนอได้อย่างมีหลักวิชา ด้วย
การเรี ยบเรี ยงด้วยตนเอง อธิบายได้อย่างครอบคลุมชัดเจน มี
กระบวนการที่ดี มีความคิดรวบยอด และหลักการของวิชาที่เรี ยนรู ้
รวมทั้งผูเ้ รี ยนสามารถนาไปใช้ปฏิบตั ิในชีวิตจริ งได้ นาเอาความรู ้ต่างๆ
ไปพัฒนาชีวิต คุณภาพงาน คุณภาพสังคม สิ่ งแวดล้อมได้อย่างเป็ น
ปกติวิสยั จนเป็ นหนึ่งเดียวกัน(โกวิท ประวาลพฤกษ์,2545:31)