นโยบาย กระทรวง คมนาคม

Download Report

Transcript นโยบาย กระทรวง คมนาคม

การพบปะสนทนาแลกเปลีย่ นความคิดเห็น
ระหว่ างคณะกรรมาธิการการคมนาคม วุฒสิ ภา
กับ คณะผู้บริหารกระทรวงคมนาคม
“นโยบายกระทรวงคมนาคม”
โดย ปลัดกระทรวงคมนาคม
(พลตารวจเอก วิเชียร พจน์ โพธิ์ศรี)
วันพุธที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๕
ณ อาคารสโมสรและหอประชุม กระทรวงคมนาคม
นโยบายรัฐบาล นายกรัฐมนตรี นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร
(แถลงต่ อรัฐสภา เมื่อวันที่ ๒๓ สิ งหาคม ๒๕๕๔)
๑. นโยบายเร่ งด่ วนที่จะเริ่มดาเนินการในปี แรก
เร่ งฟื้ นฟูความสั มพันธ์ และพัฒนาความร่ วมมือกับประเทศเพือ่ นบ้ าน
และนานาประเทศ โดยเฉพาะการเชื่อมโยงเส้ นทางคมนาคมขนส่ งภายใน
และภายนอกภูมภิ าค
- จัดทาแผนยุทธศาสตร์ ด้านการขนส่ งเพือ่ รองรับการเป็ นประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียนในปี ๒๕๕๘
- แผนการลงทุนพัฒนาโครงสร้ างพืน้ ฐานระบบการขนส่ ง (ปี ๒๕๕๖ – ๒๕๖๓)
วงเงินลงทุนรวมทั้งสิ้น ๑.๙๙ ล้านล้านบาท
 แก้ไขปัญหาความเดือดร้ อนของประชาชน โดยการแก้ไขปัญหาค่ าครองชีพ
- มาตรการลดภาระค่ าครองชีพของประชาชนด้ านการเดินทาง
(รถเมล์ฟรี / รถไฟฟรี)
นโยบายรัฐบาล นายกรัฐมนตรี นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร
(แถลงต่ อรัฐสภา เมื่อวันที่ ๒๓ สิ งหาคม ๒๕๕๔)
๒. นโยบายเศรษฐกิจ : นโยบายโครงสร้ างพืน้ ฐานและการพัฒนาระบบราง
เพือ่ ขนส่ งมวลชนการบริหารจัดการระบบขนส่ งสิ นค้ าและบริการ
 พัฒนาระบบรถไฟทางคู่ทั่วประเทศ
 พัฒนารถไฟความเร็วสู ง สายกรุงเทพฯ-เชียงใหม่ กรุงเทพฯ-นครราชสี มา
กรุงเทพฯ-หัวหิน
 พัฒนาขยายทางรถไฟสายแอร์ พอร์ ต เรล ลิง้ ค์ ต่ อจากท่ าอากาศยานสุ วรรณภูมิ
ไปยังชลบุรีและพัทยา
 เร่ งรัดโครงการรถไฟฟ้า ๑๐ สายทางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
ให้ สามารถเริ่มก่ อสร้ างได้ ครบใน ๔ ปี โดยเก็บค่ าบริการ ๒๐ บาทตลอดสายทั้งระบบ
 พัฒนาท่ าเรือน้าลึกและสะพานเศรษฐกิจเชื่อมสองฝั่งทะเลภาคใต้
 พัฒนาท่ าอากาศยานสากล ท่ าอากาศยานภูมิภาค และอุตสาหกรรมการบินของไทย
รวมทั้งเพิม่ ความสามารถท่ าอากาศยานสุ วรรณภูมิ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (นายชัชชาติ สิ ทธิพนั ธุ์)
ได้ มอบนโยบาย เมื่อวันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๕
ประเด็นความท้ าทายภาคการขนส่ ง ดังนี้
๑) การปรับเปลีย่ นรู ปแบบการขนส่ งจากทางถนนไปสู่ ทางรางและทางนา้ (Modal Shift)
๒) การเชื่อมโยงโครงข่ ายการขนส่ งกับประเทศในภูมภิ าคตามแนวระเบียงเศรษฐกิจ
(Regional Connectivity)
๓) การปรับปรุ งและพัฒนาประตูการค้ า (Gateway Improvement) ได้ แก่ ท่ าเรือ ท่ าอากาศยาน
๔) การพัฒนาโครงข่ ายการขนส่ งในประเทศ (Internal Network Improvement) ได้ แก่
ทางถนน ทางรถไฟ และทางนา้
๕) การพัฒนาระบบขนส่ งมวลชน (Mass Transit Development)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (นายชัชชาติ สิ ทธิพนั ธุ์)
ได้ มอบนโยบาย เมื่อวันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๕
นโยบายการดาเนินงานรายหน่ วยงาน
๑) สานักงานนโยบายและแผนการขนส่ งและจราจร : “Merge”
ผลักดันยุทธศาสตร์ ส่ ู การปฏิบัติอย่ างเป็ นรู ปธรรม / บูรณาการทางานร่ วมกันทุกภาคส่ วน
๒) กรมการขนส่ งทางบก : “Innovation”
นานวัตกรรมใหม่ มาปฏิบัติงาน เช่ น GPS RFID
๓) กรมทางหลวง : “Connectivity”
เชื่อมโยงโครงข่ ายกับประเทศเพือ่ นบ้ าน / ควบคุมมาตรฐานการก่ อสร้ างทาง
และเข้ มงวดเรื่องนา้ หนักรถบรรทุกเพือ่ ลดค่ าใช้ จ่ายในการซ่ อมบารุ งทาง
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (นายชัชชาติ สิ ทธิพนั ธุ์)
ได้ มอบนโยบาย เมื่อวันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๕
นโยบายการดาเนินงานรายหน่ วยงาน
๔) กรมทางหลวงชนบท : “Missing Link”
เชื่อมโยงโครงข่ ายให้ ทวั่ ถึง / ลดค่ าใช้ จ่ายในการซ่ อมบารุ งทาง
๕) การทางพิเศษแห่ งประเทศไทย : “Focus”
แก้ไขปัญหาการจราจรหน้ าด่ าน / ส่ งเสริมใช้ บัตร Easy pass / พัฒนาทางพิเศษสายใหม่
๖) กรมเจ้ าท่ า : “Transparency”
เน้ นความโปร่ งใสในการดาเนินงาน
๗) การท่ าเรือแห่ งประเทศไทย : “Congession”
แก้ไขปัญหาความแออัดภายในท่ าเรือ ปัญหาติดขัดหน้ าท่ าเรือ ด่ านการค้ า และประตูการค้ า
๘) องค์ การขนส่ งมวลชนกรุ งเทพ : “EBIDA Growth and Positive”
ลดค่ าใช้ จ่าย และเพิม่ รายได้ ให้ สามารถเลีย้ งองค์ กรได้
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (นายชัชชาติ สิ ทธิพนั ธุ์)
ได้ มอบนโยบาย เมื่อวันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๕
นโยบายการดาเนินงานรายหน่ วยงาน
๙) บริษัท ขนส่ ง จากัด : “Quality, Service and Reliability”
เน้ นคุณภาพ บริการ ความน่ าเชื่อถือ / เปิ ดเส้ นทางเดินรถในประเทศเพือ่ นบ้ านให้ เอกชน
พิจารณาบทบาทองค์ กร Regulator และ Operator เนื่องจากมี Conflict of Interest
๑๐) การรถไฟแห่ งประเทศไทย : “Change”
ละเลยการขนส่ งทางรถไฟมานาน ต้ องมีการเปลีย่ นแปลงในทุกด้ าน
๑๑) บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จากัด : “Restructuring”
ปรับโครงสร้ างองค์ กรให้ เหมาะสม คล่องตัวในการบริหารงาน
๑๒) การรถไฟฟ้าขนส่ งมวลชนแห่ งประไทย : “Core Competency”
กาหนดทิศทางขององค์ กรในอนาคตให้ ชัดเจน
๑๓) กรมการบินพลเรือน : “Adapt”
ปรับองค์ กรให้ ทนั สมัย / พิจารณาศักยภาพการบริหารท่ าอากาศยานภูมภิ าค
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (นายชัชชาติ สิ ทธิพนั ธุ์)
ได้ มอบนโยบาย เมื่อวันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๕
นโยบายการดาเนินงานรายหน่ วยงาน
๑๔) สถาบันการบินพลเรือน : “Competitiveness”
พัฒนาศักยภาพองค์ กรในการพัฒนาบุคลากรทางการบิน / ประสานการดาเนินงาน
และความต้ องการบุคลากรร่ วมกับหน่ วยงานด้ านการขนส่ งทางอากาศ
๑๕) บริษัท วิทยุการบินแห่ งประเทศไทย จากัด : “Risk Management”
ให้ ความสาคัญกับการบริหารความเสี่ ยง
๑๖) บริษัท ท่ าอากาศยานไทย จากัด (มหาชน) : “Growth”
กาหนดแผนรองรับจานวนนักท่ องเทีย่ วที่จะเพิม่ มากขึน้ ในอนาคต / เพิม่ ประสิ ทธิภาพ
พนักงานเพือ่ เพิม่ รายได้ ต่อพนักงาน (Revenue per employee)
๑๗) บริษัท การบินไทย จากัด (มหาชน) : “Positioning”
กาหนดตาแหน่ งทางการตลาดของสิ นค้ า/ บริการ (Positioning) ให้ เหมาะสม แข่ งขันได้
นโยบายรัฐมนตรีช่วยว่ าการกระทรวงคมนาคม (พลเอกพฤณท์ สุ วรรณทัต)
 ยึดหลักธรรมาภิบาล โปร่ งใส คุ้มค่ า และร่ วมมือกับทุกภาคส่ วน
 เน้ นประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผล เพือ่ ให้ เกิดประโยชน์ ต่อประชาชน
 เน้ นการประชาสั มพันธ์ เชิงรุ กอย่ างต่ อเนื่อง
 กาหนดยุทธศาสตร์ การดาเนินงานให้ ชัดเจน
 ริเริ่มโครงการสร้ างสรรค์ อย่างต่ อเนื่อง
นโยบายรัฐมนตรีช่วยว่ าการกระทรวงคมนาคม (นายประเสริฐ จันทรรวงทอง)
 นานโยบายรัฐบาลไปสู่ การปฏิบัตอิ ย่ างเป็ นรู ปธรรม
 พัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ ในการทางาน
 เน้ นการทางานรวดเร็ว ไม่ ล่าช้ า
หลักยึดปฏิบัติในการทางาน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (นายชัชชาติ สิ ทธิพนั ธุ์)
“โปร่ งใส รอบคอบ ยุตธิ รรม”
รัฐมนตรีช่วยว่ าการกระทรวงคมนาคม (พลเอกพฤณท์ สุ วรรณทัต)
“รวดเร็ว ทันใจ ปลอดภัย ได้ ผล ถึงลูกถึงคน ประชาชนได้ ใจ”
รัฐมนตรีช่วยว่ าการกระทรวงคมนาคม (นายประเสริฐ จันทรรวงทอง)
“ไม่ ล่าช้ า (Power of Now)”
ยุทธศาสตรกระทรวง
์
คมนาคม
พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘
• มุงสู
่ ง่ ั ยืน
่ ่ การขนส่งทีย
วิสัยทัศน์
พันธกิจ
• พัฒนาระบบ กลไก และบุคลากร
รวมทัง้ วางแนวนโยบาย
การพัฒนา กากับดูแลและบูรณาการ
การขนส่งและการจราจร
ให้มีอยางเพี
ยงพอ มีประสิ ทธิภาพ
่
ทัว่ ถึง คุ้มคา่ และเป็ นธรรม
การ
เชือ
่ มโย
ง
โครงขา่
ยระบบ
ขนส่ง
ภายใน
ประเทศ
และ
พัฒนา
จุด
เชือ
่ มต่
อกับ
ประเทศ
ประเด็นยุทธศาสตร์
การ
พัฒนา
ระบบ
โลจิ
สติกส์
การ
ขนส่ง
การ
พัฒนา
ระบบ
การ
ขนส่ง
ให้ได้
มาตรฐ
าน
ความ
ปลอด
ภัย
การ
พัฒนา
การ
ให้บริ
การ
ระบบ
ขนส่ง
เพือ
่
ยกระดั
บ
คุณภา
การ
บริหาร
จัดการ
ระบบ
การ
ขนส่ง
และ
การจร
าจรให้
มี
ประสิ ทธิ
งบประมาณของกระทรวงคมนาคมประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2556
วงเงิน 283,470.65 ลาน
้
รวม
บาท
งบประมาณแผนดิ
่ น
131,504.13
ลานบาท
้
งบลงทุนรัฐวิสาหกิจ
(วงเงินเบิกจาย)
่
151,966.52
ลานบาท
้
งบประมาณรายจายประจ
าปี งบประมาณ พ.ศ.
่
๒๕๕๖
หน่วยงาน
รวมสว่ นราชการ
สปค.
งบประมาณ (ล้านบาท)
๙๕,๙๔๘.๗๒
๓๕๓.๔๘
จท.
๔,๐๓๒.๔๘
ขบ.
๒,๕๑๑.๓๖
บพ.
๑,๔๙๔.๑๓
ทล.
๕๒,๙๖๖.๓๑
ทช.
๓๓,๙๕๑.๔๐
สนข.
๖๙๓.๕๕
ร้อยละ
๗๒.๙๖
๐.๒๗
๓.๐๗
๑.๙๑
๑.๑๔
๔๐.๒๘
๒๕.๘๒
๐.๕๓
รวมร ัฐวิสาหกิจ
๓๕,๕๕๕.๔๐
๒๗.๐๔
รฟท.
๑๘,๐๖๑.๒๗
รฟม.
๘,๕๒๙.๑๗
กทพ.
๔,๑๕๒.๘๓
สบพ.
๒๑๗.๕๔
๑๓.๗๓
๖.๔๙
๓.๑๖
๐.๑๗
๓.๔๙
ขสมก.
ิ้
รวมทงส
ั้ น
๔,๕๙๔.๕๘
๑๓๑,๕๐๔.๑๓
๑๐๐
งบลงทุนของรัฐวิสาหกิจประจาปี พ.ศ. ๒๕๕๖
หน่วยงาน
วงเงินดาเนินการ
(ล้านบาท)
245,605.83
ทางบก
รฟท.
รฟม.
กทพ.
ขสมก.
บขส.
134,978.10
91,211.35
18,697.31
595
124.07
4,950.53
ทางนา้
กทท.
ทางอากาศ
4,950.53
89,757.85
วงเงินเบิกจ่าย
(ล้านบาท)
89,783.63
49,893.86
32,731.61
6,574.84
460.25
123.07
2,262.16
2,262.16
59,920.73
ร้อยละ
59.08
32.83
21.54
4.33
0.30
0.08
1.49
1.49
39.43