ตัวอย่างหน้าเว็บแสดงเครื่องมือ ในการอธิบาย

Download Report

Transcript ตัวอย่างหน้าเว็บแสดงเครื่องมือ ในการอธิบาย

การพัฒนารูปแบบเว็บการเรียนโดยใช้ ทศั นศึกษาเสมือน
ด้ วยกระบวนการเรียนรู้แบบสืบสอบและการคิดอย่ างมีวิจารณญาณ
เพื่อเสริมสร้ างผลการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์
โดย
: แจ่ มจันทร์ ศรีอรุ ณรัศมี
: ผศ.ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ
: รศ.ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
• รายงานการติดตามและประเมินความก้ าวหน้ าการปฏิรูปการศึกษา
ด้ านการเรี ยนรู้ (สานักประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงาน
เลขาธิการสภาการศึกษา,2549) พบว่าการจัดการเรียนการสอนที่
เน้ นนักเรียนเป็ นศูนย์ กลางและพัฒนากิจกรรมสู่การพัฒนา
ทักษะทางด้ านการคิดยังอยู่ในระดับต่าประกอบกับผลการเรี ยนรู้
ทางด้านวิ ทยาศาสตร์ และคณิ ตศาสตร์ ของประเทศไทยคะแนนเฉลี ่ย
ของนักเรี ยนทัง้ ประเทศยังอยู่ในระดับต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานทีก่ าหนด
(PISSA,2006)
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
• วิสยั ทัศน์เกี่ยวกับการจัดการศึกษาวิทยาศาสตร์ ได้ กาหนดมาตรฐานหลักสูตร
การศึกษาขันพื
้ ้นฐานในการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์ สาหรับผู้เรี ยนไว้ 3 ประการคือ
1) การเรี ยนรู้วทิ ยาศาสตร์ เป็ นการพัฒนาผู้เรียนให้ ได้ รับทัง้
ความรู้ กระบวนการและเจตคติ
2) การเรี ยนรู้วทิ ยาศาสตร์ เป็ นการเรียนรู้ ตลอดชีวติ
3) การเรี ยนรู้ วทิ ยาศาสตร์ พ้นื ฐาน เป็ นการเรียนรู้เพื่อความเข้ าใจ ซาบซึง้
และเห็นความสาคัญของธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม
• กระบวนการเรียนวิทยาศาสตร์ จาเป็ นต้ องใช้ เหตุและผล กระบวนการสอน
แบบสืบสอบและกระบวนการคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณจึงเป็ นกระบวนการที่
ส่ งเสริมให้ เกิดการเรียนรู้ อย่ างเกิดผลได้ Nguyen(2009)
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื
้ ้นฐาน(สพฐ.) ได้ มีการนาแนวคิด
เรื่ อง “ห้ องเรียนคุณภาพ” (The Complete Classroom/Quality
Classroom) ซึง่ เป็ นแนวคิดที่มงุ่ เน้ นให้ สถานศึกษา บริหารจัดการให้ เกิด
การเปลี่ยนแปลงคุณภาพในระดับปฏิบตั ิ โดยตัวชี ้วัดอย่างหนึง่ คือการใช้
ICT เพื่อการสอนและสนับสนุนการสอน
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
ข้อจำกัดในกำรจัดกิจกรรมบูรณำกำรนอกห้องเรี ยนสู่
ห้องเรี ยน ICT
• ระยะทำง
• เวลำ
• ควำมปลอดภัย
• กำรเข้ำถึงแหล่งเรี ยนรู ้
• งบประมำณ
• ทรัพยำกรที่หำยำก
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
“การจัดกิจกรรมทัศนศึกษาเสมือนจึงเป็ นอีกแนวทางหนึง่ ในการจัดการเรี ยนการ
สอนที่จะช่วยแก้ อปุ สรรคดังกล่าว รวมทังเป็
้ นการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารในการบูรณาการในการเรี ยนการสอนอีกด้ วย ทาให้ ครูและ
นักเรี ยนสามารถใช้ รูปแบบการทัศนศึกษาเสมือนจริงได้ ทกุ ที่และทุกเวลา
ช่วยลดข้ อจากัดต่างๆ ในการจัดการศึกษานอกสถานที่ รวมถึงยังช่วยเพิ่ม
โอกาสในการเรี ยนรู้ให้ กบั นักเรี ยนที่ไม่มีโอกาสได้ ไปทัศนศึกษาในสถานที่นนั ้
จริงๆ”
Cassady and Mullen (2006) และ Millan (1995)
วัตถุประสงค์ การวิจัย
1
22
เพื่อพัฒนารูปแบบการเรี ยนด้ วยทัศนศึกษาเสมือนร่ วมกับกระบวนการเรี ยนรู้
แบบสืบสอบและการคิดอย่ างมีวิจารณญาณเพื่อเสริมสร้ างผลการเรียนรู้ทาง
วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้ น
เพื่อศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการเรี ยนด้ วยทัศนศึกษาเสมือนร่ วมกับ
กระบวนการเรียนรู้ แบบสืบสอบและการคิดอย่ างมีวิจารณญาณ
ขอบเขตการวิจัย
1. ประชากรที่ศกึ ษา ได้ แก่ นักเรี ยนชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้ น สังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
2. ตัวแปรในการวิจัย
2.1 ตัวแปรจัดกระทา ได้ แก่ รู ปแบบการเรี ยนด้ วยทัศนศึกษาเสมือน
ร่ วมกับกระบวนการเรี ยนรู้ แบบสืบสอบและการคิดอย่ างมี
วิจารณญาณ
2.2 ตัวแปรตาม ได้ แก่
2.2.1 มโนทัศน์ ทางวิทยาศาสตร์
2.2.2 ความสามารถในการสืบค้ น
2.2.3 ความสามารถในการสื่อความหมาย
2.2.4 ความสามารถในการคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณ
กรอบแนวคิดการวิจัย
กระบวนการเรียนรู้แบบ
สืบสอบ BSCS (2006), NSES(2006),
สสวท. (2547), D.Llewellyn (2002) สรุ ป
ขัน้ ตอนที่สอดคล้ องกัน 5 ขัน้ คือ
1) การกระตุ้นความสนใจ
2) การสารวจ
3) การอธิบาย
4) การขยายความรู้
5) การประเมินผล
โดยใช้ ประเภทการสืบสอบแบบมี
โครงสร้ าง
(Structure Inquiry)
กระบวนการคิดอย่ างมีวิจารณญาณ
Norris and Ennis (1998),Nitko (2004),
Facione (2004),Garrison, Anderson &
Archer (2001),ตวงรัตน์
ศรีวงษ์ คล (2550)
1. การกระตุ้น
2. การระบุปัญหา
3. การประเมิน
4. การวินิจฉัย
5. การลงข้ อสรุป
การเรียนด้ วยทัศนศึกษาเสมือน
Millan (1995), Manael (2001) ,
กรกช รัตนโชตินันท์ (2547), Hovell (2003),
Tuthill&Klemm (2002)
1. การวางแผนร่วมกันเรื่อง
วัตถุประสงค์
2. การกาหนดสถานที่ทศั นศึกษา
เสมือน
3. การกาหนดกิจกรรมการเรียนรู้
4. การสรุปผลการเรียนรู้
5. การประเมินผลการเรียนรู้
ประกอบด้ วย 3 ขันตอนคื
้
อ
1) การเรียนรู้ก่อนทัศนศึกษาเสมือน
2) การเรียนรู้ระหว่างทัศนศึกษาเสมือน
3) การเรียนรู้หลังทัศนศึกษาเสมือน
รู ปแบบการเรี ยนโดยใช้ ทศั นศึกษาเสมือนร่ วมกับกระบวนการเรี ยนรู้ แบบสืบสอบ
และการคิดอย่ างมีวิจารณญาณ
ผลการเรี ยนรู้ ทางวิทยาศาสตร์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551,
การจัดสาระการเรี ยนรู้ กลุ่มวิทยาศาสตร์ หลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (2546)
1) มโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์
2) ความสามารถในการสืบค้ น
3) ความสามารถในการสื่อความหมาย 4) ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
กิจกรรมการเรียน
บนเว็บ
กิจกรรมการเรียน
ในห้ องเรียน
Framework of the Study
วิธีดำเนินกำรวิจยั
second trial implementation of the
optimized model
process optimization with additional expert
review of learning model
refinement of the model and trial with sampling group
Expert review of learning model (component and model)
Focus group
Literature review
ผลกำรวิจยั
องค์ประกอบของเครื่ องมือแบ่งตามลักษณะการเรี ยนรู้ด้วยกระบวนการสืบ
สอบและการคิดอย่างมีวิจารณญาณได้ 5 ด้ าน
1) เครื่ องมือในการสร้ างความสนใจ
2) เครื่ องมือในการสารวจและสืบค้ น
3) เครื่ องมือในการอธิบาย
4) เครื่ องมือในการขยายความรู้
5) เครื่ องมือในการประเมินผล
ผลกำรวิจยั
องค์ ประกอบ

ระดับความคิดเห็น
มากที่สดุ
เกมสื่อดิจทิ ัล
4.80
S.D.
0.45
วิดีโอคลิป
4.40
0.55
มาก
ภาพนิ่งแบบปกติ
4.00
1.00
มาก
ภาพนิ่งแบบมุมกว้ าง (panorama)
4.40
0.89
มาก
ภาพนิ่งแบบเคลื่อนไหวมุม 360 องศา
4.00
1.22
มาก
ภาพเคลื่อนไหวประกอบการอธิบาย
4.60
0.55
มากที่สดุ
ไฟล์ เสียงประกอบการอธิบาย(audio)
4.00
0.00
มาก
ภาพรวมด้ านการสร้ างความสนใจ
4.31
0.67
มาก
ตารางที่ 1 ค่ าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานขององค์ ประกอบของเครื่ องมือจาแนกตามเครื่ องมือในการสร้ างความสนใจ
ผลกำรวิจยั

S.D.
ระดับความคิดเห็น
การสืบค้ น (search engine)
5.00
0.00
มากที่สดุ
แผนที่ 2 มิตจิ าก google map
4.60
0.55
มากที่สดุ
แผนที่ดาวเทียมจาก google earth
4.60
0.55
มากที่สดุ
e-mail
5.00
0.00
มากที่สดุ
Web board
3.80
1.30
มาก
Chat room
3.80
1.30
มาก
อุปกรณ์ ส่ ือสารเพื่อใช้ ในการสื่อสารแบบประสานเวลา
ได้ แก่ web camera , โทรศัพท์ มือถือ เป็ นต้ น
4.40
0.89
มาก
ภาพรวมด้ านเครื่ องมือการสารวจ
และสืบค้ น
4.46
0.66
มาก
องค์ ประกอบ
ตารางที่ 2 ค่ าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานขององค์ ประกอบของเครื่ องมือจาแนกตามเครื่ องมือในการสารวจและสืบค้ น
ผลกำรวิจยั
องค์ ประกอบ

S.D.
ระดับความคิดเห็น
สมุดบันทึกความรู้ (Diary) ส่ วนตัวบนเว็บ
ทัศนศึกษาเสมือน
5.00
0.00
มากที่สดุ
Web board
4.00
1.22
มาก
ภาพรวมด้ านเครื่ องมือในการอธิบาย
4.50
0.61
มากที่สดุ
ตารางที่ 3 ค่ าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานขององค์ ประกอบของเครื่ องมือจาแนกตามเครื่ องมือในการอธิบาย
ผลกำรวิจยั
องค์ ประกอบ

S.D.
ระดับความคิดเห็น
โปรแกรมสาหรั บการสร้ างผังความคิด
เช่ น Mind map ,Inspiration, freemind
เป็ นต้ น
4.40 0.89
มาก
การเชื่อมต่ ออินเทอร์ เน็ต
5.00 0.00
มากที่สดุ
ภาพรวมด้ านเครื่ องมือในการขยายความรู้ 4.70 0.45
มากที่สดุ
ตารางที่ 4 ค่ าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานขององค์ ประกอบของเครื่ องมือจาแนกตามเครื่ องมือในการขยายความรู้
ผลกำรวิจยั

S.D.
ระดับความ
คิดเห็น
โปรแกรมเก็บผลงาน portfolio
5.00
0.00
มากที่สดุ
ระบบบริหารจัดการ (LMS)
5.00
0.00
มากที่สดุ
ภาพรวมด้ านเครื่องมือในการประเมินผล
5.00
0.00
มากที่สดุ
องค์ ประกอบ
ตารางที่ 5 ค่ าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานขององค์ ประกอบของเครื่ องมือจาแนกตามเครื่ องมือ
ในการประเมินผล
เว็บไซต์ทศั นศึกษำเสมือนเพื่อกำรวิจยั
http://www.vtrip.in.th
เว็บไซต์ทศั นศึกษำเสมือนเพื่อกำรวิจยั
ตัวอย่ างหน้ าเว็บแสดงเครื่องมือสาหรับการสร้ างความสนใจ
เว็บไซต์ทศั นศึกษำเสมือนเพื่อกำรวิจยั
ตัวอย่ างหน้ าเว็บแสดงเครื่องมือในการสารวจและสืบค้ น
เว็บไซต์ทศั นศึกษำเสมือนเพื่อกำรวิจยั
ตัวอย่ างหน้ าเว็บแสดงเครื่องมือในการอธิบาย
เว็บไซต์ทศั นศึกษำเสมือนเพื่อกำรวิจยั
ตัวอย่ างหน้ าเว็บแสดงเครื่องมือในการขยายความรู้
เว็บไซต์ทศั นศึกษำเสมือนเพื่อกำรวิจยั
ตัวอย่ างหน้ าเว็บแสดงเครื่องมือช่ วยในการประเมินผล
ข้อซักถำม ???
ขอบคุณค่ะ