การประเมินแนวใหม่

Download Report

Transcript การประเมินแนวใหม่

การประเมินแนวใหม่ (?)
ชยุตม์ ภิรมย์ สมบัติ
ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา
คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
นำเสนอในการประชุมปฏิบตั ิการจัดการความรู้ การพัฒนาคุณภาพผู้เรี ยนด้ วยกระบวนการวิจยั : โรงเรี ยนในโครงการวัฒนธรรมวิจยั
27 กรกฎาคม 2557 เวลา 10.00 - 12.00 น. โรงแรมรอแยล เบญจา โฮเต็ล สุขมุ วิท ซอย 5 กทม.
1
2
เนือ้ หาการบรรยาย
1. หลายคาทาสับสน : ความหมายของ การประเมิน
(assessment) และคาที่เกี่ยวข้ อง
2. แนวโน้ มการประเมิน
3. วงจรการประเมิน
4. ตัวอย่ างเครื่ องมือประเมิน
5. สรุ ปและนัดหมายสาหรั บครั ง้ ต่ อไป
3
หลายคาทาสับสน
•
•
•
•
•
•
•
•
ข้ อสอบ
แบบสอบ
การสอบ
การวัด(ผล)
การประเมิน(ผล)
การวัดและการประเมิน(ผล)
การประเมิน(ผล)
การรวบรวมข้ อมูล
•
•
•
•
•
•
•
•
Item/Test Item
Test
Testing
Measurement
Evaluation
Measurement & Evaluation
Assessment
Data Collection
4
การประเมิน
(assessment)
การวัด
(measurement)
การสอบ
(testing)
ไม่ ใช่ การวัด
(non-measurement)
ไม่ ใช่ การสอบ
(non-testing)
การสังเกต
ข้ อสอบ
เขียนตอบ
แบบประเมิน
โครงงาน
การสัมภาษณ์
ข้ อสอบ
เลือกตอบ
แบบประเมิน
สิ่งประดิษฐ์
การสะท้ อนคิด
ข้ อสอบ
ปากเปล่ า
แบบตรวจสอบ
รายการทักษะ
การแลกเปลี่ยน
เรี ยนรู้
5
แนวโน้ มการประเมิน (ใหม่ ?)
•
•
•
•
•
•
•
•
Testing/Examination
Bloom’s taxonomy
Revised Bloom’s taxonomy
Formative Assessment
Summative Assessment
Interim Assessment
Benchmark Assessment
Blended/Embedded/Aligned
Assessment
• Authentic Assessment
• Performance Assessment
•
•
•
•
•
•
•
•
Holistic vs. Analytic Rubrics
Portfolio & e-Portfolio
Item Banking
Computer-based Testing
Computer-based Assessment
Computerized Adaptive Testing
Performance Assessment
Backward-design for
Assessment
• Assessment Center
• and so on…
6
บทบาทใหม่ ของการประเมิน (assessment)
“ปรับการเรียนการสอน”
“กากับติดตามสะท้ อนผล”
 Assessment FOR learning
 Assessment AS learning
occurs when teachers use
occurs
when
students
inferences about student
reflect on and monitor their
assessment
progress to inform their
progress to inform their
teaching.
future learning goals.
 Assessment OF learning
occurs when teachers use
evidence of student learning
to make judgments on
student achievement against
goals and standards.
“ตัดสินผลผ่ านตก”
Marzano, R.J., Pickering, D.J., & McTighe, J. (1993). Assessing student outcomes: Performance assessment using the dimensions of
learning model. Alexandria, VA: Association for Supervision and Curriculum Development.
7
Earl, M.E., Guskey, T.R., & Marzano, R.J. (Eds.). (2003). Assessment as learning – Using classroom assessment to maximize student
learning. Experts in Assessment Series. Thousand Oaks, CA: Corwin Press, Inc./Sage Publications. http://reflectiveteacher.com.au/assessment/
Earl, M.E., Guskey, T.R., & Marzano, R.J. (Eds.). (2003). Assessment as learning – Using classroom assessment to maximize student
learning. Experts in Assessment Series. Thousand Oaks, CA: Corwin Press, Inc./Sage Publications.
8
21st Century Assessment
By Ken Kay
•
•
•
•
Be largely performance-based
Make students' thinking visible
Generate data that can be acted upon
Build capacity in both teachers and
students
• Be part of a comprehensive and wellaligned continuum
http://21stcenturylearning.typepad.com/blog/2007/06/21st-century-as.html
9
Rich Real World Tasks
+ Higher Order Thinking
+ Collaboration
= 21st Century Learning
+ Transparent Schema
+ Self & Peer Assessment
+ Timely Appropriate
Feedback/Reflection
= 21st Century Assessment
http://edorigami.wikispaces.com/21st+Century+Assessment
Google: Intel Designing Effective Projects
10
http://developer.intel.com/content/www/us/en/education/k12/project-design/unit-plans/grade-index.html
Blended/Embedded/Aligned Assessment
11
http://www.intel.com/content/www/us/en/education/k12/assessin
g-projects/assessment-plans/secondary/accidental-discoveries.html
Google: Intel Designing Effective Projects
http://developer.intel.com/content/www/us/en/education/
k12/project-design/unit-plans/grade-index.html
12
วงจรการประเมิน
1. วางแผนการประเมินควบคูก่ บั การออกแบบการจัดการเรี ยนรู้
• ผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวังคืออะไร
• ประเมินอะไร ต้ องการข้ อมูลอะไรเป็ นตัวชี ้วัด
• ประเมิน(กี่ครัง้ )เมื่อไร กาหนดความสาคัญ/น ้าหนักอย่างไร
• ใครเป็ นผู้ประเมิน ใช้ วิธีการ/เครื่ องมืออะไร
• ให้ ข้อมูลป้อนกลับอย่างไร ใช้ ผลการประเมินอย่างไร
2. สร้ างและพัฒนาเครื่ องมือประเมิน (ทดลองใช้ vs. มิตรวิพากษ์ )
3. ดาเนินการประเมินตามแผนที่วางไว้
4. วิเคราะห์ รายงานผลและให้ ข้อมูลป้อนกลับเชิงสร้ างสรรค์
5. ทบทวนการประเมินและการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ผลการประเมินเป็ น13ฐาน
Bloom's Taxonomy of Learning Domains
Evaluation
Synthesis
Analysis
Application
Comprehension
Knowledge
Creating
Evaluating
Analyzing
Applying
Understanding
Remembering
14
กลุ่ม
การจา
remembering
การเข้ าใจ
understanding
พฤติกรรมบ่ งชี ้ (คร่ าว ๆ ไม่ ใช่ กฏตายตัว)
ระลึก บอก ระบุ บอกชื่อ ทำซ ้ำ คัดลอก เขียนรำยกำรของสิง่ ที่เคยเรี ยนร้ /
ผ่ำนตำ ฯลฯ
แปลควำมหมำย ถอดควำม ยกตัวอย่ำงเพิ่มเติม สรุปควำม อ้ ำงอิง บอก
หลักกำรเบื ้องหลัง ฯลฯ
การประยุกต์
applying
นำไปใช้ ประยุกต์ แก้ ไขปั ญหำ เลือกใช้ นำควำมร้ ไปใช้ ในสถำนกำรณ์ที่
ต่ำงไปจำกเดิม ฯลฯ
การวิเคราะห์
analyzing
เปรี ยบเทียบ อธิบำยลักษณะ บอกควำมเหมือนควำมต่ำง จำแนก
ตรวจสอบ วินิจฉัย หำจุดเปลี่ยน ฯลฯ
การประเมินค่ า พิสจน์หรื อตัดสินใจ ตรวจสอบ วิจำรณ์ ตัดสิน อภิปรำย แก้ ต่ำง โต้ แย้ ง
ุ ค่ำ ฯลฯ
evaluating เลือก ให้ คณ
การสร้ างสรรค์ ออกแบบ วำงแผน ผลิต สร้ ำง ให้ ควำมเห็นในมุมมองใหม่ ฯลฯ
creating
15
1. หากเปรี ยบเทียบ พ.ศ. 2310 เป็ นปี ที่ไทยเสียกรุ งศรี
อยุธยาครั ง้ ที่ 2 ซึ่งตรงกับยุคสมัยใดของประวัตศิ าสตร์ สากล
ก. สมัยจักรวรรดินิยม
ข. สมัยสงครามโลกครั ง้ ที่ 1
ค. สมัยสงครามโลกครั ง้ ที่ 2
ง. สมัยการสารวจทางทะเล
จ. สมัยการปฏิวัตอิ ุตสาหกรรม
เสียกรุงศรี อยุธยาครัง้ ที่ 1 เพราะพระยาจักรี
เสียกรุงศรี อยุธยาครัง้ ที่ 2 เพราะพระยาพลเทพ
16
2. พระราชกรณียกิจใดของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชกับ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั ที่คล้ ายคลึงกัน
ก. การยกเลิกระบบไพร่ และระบบทาสออกจากสังคมไทย
ข. ทรงส่ งเสริมให้ ชาวต่ างชาติเข้ ามาค้ าขายในแผ่ นดินไทย
ค. ทรงกอบกู้อสิ รภาพและทรงปฏิรูปบ้ านเมืองให้ ทนั สมัย
ง. การทาให้ ประเทศไทยไม่ ตกอยู่ใต้ การปกครองของต่ างชาติ
จ. ทรงขยายอาณาเขตของแผ่ นดินไทยออกไปอย่ างกว้ างขวาง
17
3. วันหยุดเด็กชายเอ จะใช้ คอมพิวเตอร์ อยู่คนเดียวทัง้ วัน
จะเกิดปั ญหาใน ข้ อใดมากที่สุด
ก. เกิดอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
ข. เกิดการเผยแพร่ วัฒนธรรมที่ไม่ เหมาะสม
ค. ความสัมพันธ์ ของมนุษย์ เสื่อมถอย
ง. มีการพัฒนาอาวุธมีอานาจทาลายล้ างสูง
18
4. สัญลักษณ์ ส่ ีเหลี่ยมด้ านขนานใช้ ในขัน้ ตอนใด
ก. แสดงค่ า
ข. รั บค่ า
ค. ประมวลผล
ง. เริ่มต้ น
5. ในผังงานของการจาแนกภาวะอ้ วนผอมต่ อไปนี ้
ลาดับการทางาน (4) คือ
ก. มากกว่ า 53 กก.
ข. น้ อยกว่ า 80 กก.
ค. น้ อยกว่ าหรื อเท่ ากับ 53 กก.
ง. มากกว่ าหรื อเท่ ากับ 80 กก.
19
ตัวอย่ างเครื่ องมือประเมิน (1)
20
Mathematics Literacy
การรูเ้ รือ่ งคณิตศาสตร์
การกาหนดปั ญหา
ทางคณิตศาสตร์



ระบุตวั แปรหรื อประเด็นที่สาคัญจากสถานการณ์ในโลกจริง
รับรู้ถงึ โครงสร้ างทางคณิตศาสตร์ ในปั ญหาหรื อสถานการณ์
ทาปั ญหาหรื อสถาณการณ์ให้ อยูใ่ นรูปอย่างง่าย หรื อแปลง
โมเดลทางคณิตศาสตร์
การนากระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์ ไปใช้



เลือกและใช้ กลยุทธ์ในการแก้ ปัญหาคณิตศาสตร์
ใช้ เครื่ องมือทางคณิตศาสตร์ หาวิธีที่เหมาะสมในการแก้ ปัญหา
ประยุกต์ใช้ ข้อเท็จจริง กฎ ขันตอนและโครงสร้
้
างในการแก้ ปัญหา
การแปลผลลัพธ์
ทางคณิตศาสตร์
นาผลที่ได้ จากการแก้ ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ไปใช้ ในชีวิตจริง
ประเมินความเหมาะสมของวิธีแก้ ปัญหาคณิตศาสตร์ ในบริบท
ของความเป็ นจริง
 ระบุและวิจารณ์ข้อจากัดของรู ปแบบที่ใช้ ในการแก้ ปัญหา21


6. นักข่ าวโทรทัศน์ แสดงกราฟต่ อไปนี ้ และรายงานว่ า “กราฟแสดง
ให้ เห็นว่ า คดีปล้ นในปี พ.ศ.2542 มีจานวนเพิ่มขึน้ จากปี พ.ศ.2541
มาก”
ที่มา: ดัดแปลงจำกข้ อสอบโครงกำร PISA ประเทศไทย สสวท.
22
7.
นักเรียนคนหนึ่งคิดที่จะแสดงข้ อมูลเหล่ านีเ้ ป็ นแผนภูมิแท่ ง จงให้ เหตุผล
หนึ่งข้ อว่ าทาไมแผนภูมิแท่ งจึงไม่ เหมาะสมในการแสดงข้ อมูลเหล่ านี ้
ที่มา: ดัดแปลงจากข้ อสอบโครงการ PISA ประเทศไทย สสวท.
23
8. วันหนึง่ ในชันเรี
้ ยนวิชำคณิตศำสตร์ ชนหนึ
ั ้ ง่ มีกำรวัดส่วนสงของนักเรี ยนทุกคน พบว่ำ ควำม
สงเฉลี่ยของนักเรี ยนชำยเท่ำกับ 160 cm และควำมสงเฉลี่ยของนักเรี ยนหญิงเท่ำ กับ 150 cm
นักเรี ยนที่สงที่สดุ คือ อำรี ยำ ควำมสงของเธอเท่ำกับ 180 cm ส่วนดิเรกเตี ้ยที่สดุ ควำมสงของ
เขำเท่ำกับ 130 cm ในวันนันมี
้ นกั เรี ยนที่ขำดเรี ยนสองคน แต่ทงสองได้
ั้
มำเรี ยนในวันรุ่งขึ ้น จึงมี
กำรวัดส่วนสง และได้ คำนวณหำค่ำควำมสงเฉลี่ยใหม่ ผลปรำกฏว่ำ ค่ำควำมสงเฉลี่ยของ
นักเรี ยนชำย และค่ำควำมสงเฉลี่ยของนักเรี ยนหญิงไม่เปลี่ยนแปลง
1)
2)
3)
4)
5)
ข้ อสรุ ป
ข้ อสรุ ปนีใ้ ช่ หรื อไม่ ใช่
ในวันที่น.ร.ขาด 2 คน ความสูงเฉลี่ยของน.ร.ชายเท่ากับ 160 cm
ใช่ / ไม่ใช่
ในวันที่น.ร.ขาด 2 คน โดยเฉลี่ยแล้ ว น.ร.หญิงสูงกว่าน.ร. ชาย
ใช่ / ไม่ใช่
ดิเรกเป็ นน.ร. ที่เตี ้ยที่สดุ ในห้ องนี ้
ใช่ / ไม่ใช่
ในชันเรี
้ ยนนี ้ มี น.ร.ชาย และ น.ร. หญิง จานวนเท่า ๆ กัน
ใช่ / ไม่ใช่
ถ้ าน.ร.ที่ขาดเรี ยนเป็ น น.ร.ชาย 1 คนที่มีความสูง 129 cm
ใช่ / ไม่ใช่
แล้ วความสูงเฉลี่ยของ น.ร.ชายจะลดลง
ที่มา: ดัดแปลงจำกข้ อสอบโครงกำร PISA ประเทศไทย สสวท.
24
9. การประมาณพืน้ ที่ทงั ้ หมดของห้ องชุด
สามารถทาได้ โดยวัดขนาดของแต่ ละห้ อง
คานวณพืน้ ที่ของแต่ ละห้ อง แล้ วบวกพืน้ ที่
ทัง้ หมดเข้ าด้ วยกัน
อย่ างไรก็ตาม มีวิธีท่ มี ีประสิทธิภาพ
มากกว่ า โดยใช้ การวัดความยาว
เพียง 4 ด้ านเท่ านัน้
จงทาเครื่องหมายลงบนแบบแปลน
เพื่อแสดงความยาวด้ าน 4 ด้ านที่
ต้ องใช้ ในการประมาณพืน้ ที่ทงั ้ หมด
ของห้ องชุดนี ้
ที่มา: ดัดแปลงจำกข้ อสอบโครงกำร PISA ประเทศไทย สสวท.
25
9. การประมาณพืน้ ที่ทงั ้ หมดของห้ องชุด
สามารถทาได้ โดยวัดขนาดของแต่ ละห้ อง
คานวณพืน้ ที่ของแต่ ละห้ อง แล้ วบวกพืน้ ที่
ทัง้ หมดเข้ าด้ วยกัน
อย่ างไรก็ตาม มีวิธีท่ มี ีประสิทธิภาพ
มากกว่ า โดยใช้ การวัดความยาว
เพียง 4 ด้ านเท่ านัน้
จงทาเครื่องหมายลงบนแบบแปลน
เพื่อแสดงความยาวด้ าน 4 ด้ านที่
ต้ องใช้ ในการประมาณพืน้ ที่ทงั ้ หมด
ของห้ องชุดนี ้
ที่มา: ดัดแปลงจำกข้ อสอบโครงกำร PISA ประเทศไทย สสวท.
26
10. เรือบรรทุกนา้ มันในทะเลชนหิน
โสโครก ทาให้ เกิดรูร่ ัวที่ถังบรรจุ
นา้ มัน เรือบรรทุกอยู่ห่างจากแผ่ นดิน
ประมาณ 65 กม. หลังจากนัน้ อีก
หลายวัน นา้ มันได้ แพร่ กระจาย
ออกไป ดังแสดงในแผนที่
จงใช้ มาตราส่ วนจากแผนที่ ประมาณ
พืน้ ที่การรั่วไหลของนา้ มันในหน่ วย
ตารางกิโลเมตร
ที่มา: ดัดแปลงจำกข้ อสอบโครงกำร PISA ประเทศไทย สสวท.
27
กม. ต่ อ ชม.
11. เช้ าวันหนึ่งนา้ ฝนขับรถออกจากบ้ าน ระหว่ างทางมีแมววิ่งตัดหน้ ารถ
นา้ ฝนจึงเหยียบเบรคเพื่อไม่ ให้ ชนแมว
11.1 อัตราเร็วสูงสุดของรถที่น ้าฝนขับในเช้ าวันนันเป็
้ นเท่าไร
11.2 ขณะที่น ้าฝนเหยียบเบรคเพื่อไม่ให้ รถชนแมว ขณะนันเป็
้ นเวลาเท่าใด
11.3 สามารถบอกได้ หรื อไม่วา่ เส้ นทางที่น ้าฝนขับรถกลับบ้ านสันกว่
้ าเส้ นทาง
ที่เธอออกจากบ้ านถึงจุดที่ชนแมว จงใช้ ข้อมูลจากกราฟอธิบาย
28
ที่มา: ดัดแปลงจำกข้ อสอบโครงกำร PISA ประเทศไทย สสวท.
กม. ต่ อ ชม.
เช้ าวันหนึ่งนา้ ฝนขับรถออกจากบ้ าน ระหว่ างทางมีแมววิ่งตัดหน้ ารถ
นา้ ฝนจึงเหยียบเบรคเพื่อไม่ ให้ ชนแมว
- อัตราเร็วสูงสุดของรถที่นา้ ฝนขับในเช้ าวันนัน้ เป็ นเท่ าไร
- ขณะที่นา้ ฝนเหยียบเบรคเพื่อไม่ ให้ รถชนแมว ขณะนัน้ เป็ นเวลาเท่ าใด
- สามารถบอกได้ หรือไม่ ว่า เส้ นทางที่นา้ ฝนขับรถกลับบ้ านสัน้ กว่ าเส้ นทาง
ที่เธอออกจากบ้ านถึงจุดที่ชนแมว จงใช้ ข้อมูลจากกราฟอธิบายเพื่อ
29
ที
่
ม
า:
ดั
ด
แปลงจำกข้
อ
สอบโครงกำร
PISA
ประเทศไทย
สสวท.
สนับสนุนคาตอบ
12. ห้ องเรียนห้ องหนึ่งมีนักเรียน 25 คน ความสูงเฉลี่ยของนักเรียนกลุ่มนี ้
เป็ น 130 เซนติเมตร
12.1 จงอธิบายวิธีการหาความสูงเฉลี่ย
12.2 จงพิจารณาว่ าข้ อสรุ ปต่ อไปนีเ้ ป็ นจริงหรือไม่
ข้ อสรุ ป
1) ถ้ า น.ร. หญิง คนหนึง่ ในห้ องสูง 132 เซนติเมตร ต้ องมี น.ร. หญิง
อีกคนหนึง่ สูง 128 เซนติเมตร
2) น.ร. หญิงส่วนใหญ่ต้องมีความสูง 130 เซนติเมตร
3) ถ้ าจัดลาดับเด็กหญิงจากเตี ้ยที่สดุ ไปสูงที่สดุ น.ร. คนที่มีลาดับ
ตรงกลางต้ องมีความสูง 130 เซนติเมตร
4) ครึ่งหนึง่ ของ น.ร. หญิง ในห้ องต้ องเตี ้ยกว่า 130 เซนติเมตร และ
อีกครึ่งหนึง่ ต้ องสูงกว่า 130 เซนติเมตร
ที่มา: ดัดแปลงจำกข้ อสอบโครงกำร PISA ประเทศไทย สสวท.
จริง/ไม่ จริง
จริง / ไม่จริง
จริง / ไม่จริง
จริง / ไม่จริง
จริง / ไม่จริง
30
12. ห้ องเรียนห้ องหนึ่งมีนักเรียน 25 คน ความสูงเฉลี่ยของนักเรียนกลุ่มนี ้
เป็ น 130 เซนติเมตร
12.1 จงอธิบายวิธีการหาความสูงเฉลี่ย
12.2 จงพิจารณาว่ าข้ อสรุ ปต่ อไปนีเ้ ป็ นจริงหรือไม่
ข้ อสรุ ป
1) ถ้ า น.ร. หญิง คนหนึง่ ในห้ องสูง 132 เซนติเมตร ต้ องมี น.ร. หญิง
อีกคนหนึง่ สูง 128 เซนติเมตร
2) น.ร. หญิงส่วนใหญ่ต้องมีความสูง 130 เซนติเมตร
3) ถ้ าจัดลาดับเด็กหญิงจากเตี ้ยที่สดุ ไปสูงที่สดุ น.ร. คนที่มีลาดับ
ตรงกลางต้ องมีความสูง 130 เซนติเมตร
4) ครึ่งหนึง่ ของ น.ร. หญิง ในห้ องต้ องเตี ้ยกว่า 130 เซนติเมตร และ
อีกครึ่งหนึง่ ต้ องสูงกว่า 130 เซนติเมตร
ที่มา: ดัดแปลงจำกข้ อสอบโครงกำร PISA ประเทศไทย สสวท.
จริง/ไม่ จริง
จริง / ไม่จริง
จริง / ไม่จริง
จริง / ไม่จริง
จริง / ไม่จริง
31
13. ในปี ค.ศ. 1930 ได้ มีการศึกษาทดลองครั ง้ ใหญ่ ในโรงเรี ยนต่ าง ๆ ในท้ องที่หนึ่ง
ของสก็อตแลนด์ ในช่ วงเวลา 4 เดือน นักเรี ยนบางคนได้ รับนมฟรี และบางคนไม่ ได้ รับ
ครู ใหญ่ เป็ นผู้คัดเลือกว่ านักเรี ยนคนใดได้ รับนมการศึกษาทาดังนี ้
- นักเรี ยน 5,000 คน ได้ รับนมไม่ พาสเจอร์ ไรส์ ปริมาณหนึ่งทุกวันที่เรี ยน
- นักเรี ยนอีก 5,000 คน ได้ รับนมพาสเจอร์ ไรส์ ปริมาณเท่ ากันทุกวันที่เรียน และ
- นักเรี ยน 10,000 คน ไม่ ได้ รับนมชนิดใดเลย
ชั่งนา้ หนักและวัดส่ วนสูงของนักเรี ยนทัง้ 20,000 คน ทัง้ เริ่มต้ นและจบการทดลอง
ข้ อสรุ ป
1) จะต้ องทาอะไรบ้ างในการทานมพาสเจอร์ ไรส์
2) การดื่มนมเสริมจะมีผลอะไรกับเด็กนักเรี ยน
3) นมพาสเจอร์ ไรส์มีผลอะไรกับการเจริญเติบโตของเด็ก
4) การอยูใ่ นท้ องที่ตา่ งกันของสก็อตแลนด์มีผลอะไรกับสุขภาพของ
เด็ก
ที่มา: ดัดแปลงจำกข้ อสอบโครงกำร PISA ประเทศไทย สสวท.
ใช่ /ไม่ ใช่
ใช่ / ไม่ใช่
ใช่ / ไม่ใช่
ใช่ / ไม่ใช่
ใช่ / ไม่ใช่
32
Reading Literacy
การรูเ้ รือ่ งการอ่าน
การค้ นสาระ
• ค้ นหาหรือสรุ ปสาระสาคัญจากเรื่องที่อ่าน
การตีความ
• ตีความหรือแปลความจากเรื่องที่อ่าน
• วิเคราะห์ เนือ้ หาหรือข้ อความที่เกี่ยวข้ อง
กับสิ่งต่ าง ๆ
การวิเคราะห์
และประเมิน
• วิเคราะห์ รูปแบบการนาเสนอของข้ อความ
• ประเมินและให้ ความเห็นหรือโต้ แย้ งด้ วย
มุมมอง ของตนเองต่ อบทความที่อ่าน
33
ตึกสูง
34
14. ขณะที่บทควำมนี ้ตีพิมพ์ในนิตยสำร ตึกใดในรปที่ 2 สร้ ำงเสร็จแล้ วและสงที่สดุ
15. รปที่ 1 ให้ ข้อมลอะไร
1. กำรเปรี ยบเทียบควำมสงของตึกต่ำง ๆ
2. จำนวนตึกทังหมดในเมื
้
องต่ำง ๆ
3. จำนวนตึกที่มีควำมสงมำกกว่ำควำมสงระดับหนึง่ ของเมืองต่ำง ๆ
4. ข้ อมลเกี่ยวกับรปแบบของตึกในเมืองต่ำง ๆ
16. เรดิสนั SAS พลำซ่ำในเมืองออสโล ประเทศนอร์ เวย์สงเพียง 117 เมตร
ทำไมจึงนำตึกนี ้มำใส่ในรปที่ 2
ที่มา: ดัดแปลงจำกข้ อสอบโครงกำร PISA ประเทศไทย สสวท.
35
ICT Literacy by ETS (2002):
a bridge between
Information and Communication Technology Literacy
–Can I find information on the web?
–Can I create a persuasive presentation?
Technical Literacy
Database
Word
Presentation
Processing
• Can I bold a word?
• Can I open a database?
Information Literacy
Access
Evaluate
Use
• Can you find information?
• Can you evaluate authority?
36
17. ข้ อใดเขียนคำว่ำ เทคโนโลยีสำรสนเทศ ได้ ถกต้ อง
ก. Techno Information
ข. Information Techno
ICT
ค. Technology Information
Literacy?
ง. Information Technology
18. อำชีพ System Analyst เป็ นอำชีพที่ตรงกับข้ อใด
ก. นักวิเครำระห์ระบบ
ข. ผ้ ดแลและบริ หำรระบบ
ค. ผ้ ดแลและบริ หำรฐำนข้ อมล
ง. ผ้ ดแลและบริ หำรระบบเครื อข่ำย
37
(Y10 only)
NAP_ICTL08_Ex Internet_Use
All modules
begin with an
introduction
screen. In the
live module
students would
next view a
demonstration
video to show
them the
upcoming tasks
and software
environment.
38
(Y10 only)
Students can
toggle between
the web
browser and
note taker. The
links are to
websites in a
closed webenvironment.
39
(Y10 only)
The closed
webenvironment
contains five
websites of
varying
relevance and
credibility.
40
(Y10 only)
The notetaking software
allows students
to type original
notes or copy
and paste
content from
the web-pages.
Each field is
limited to 80
characters to
encourage
students to
plan and
consider their
notes.
41
(Y10 only)
In the live
module
students would
next view a
demonstration
video to show
them the
upcoming tasks
and software
environment.
42
(Y10 only)
Scorers viewed
each student’s
completed
presentation
file in order to
score the task.
43
การพิจารณาคุณภาพข้ อสอบ
พิจารณาจาก
ความสอดคล้ องระหว่ างข้ อสอบกับระดับชัน้ เนือ้ หา
สาระและตัวบ่ งชี/้ เป้าหมายที่ต้องการจะวัด
• ความเหมาะสมของสถานการณ์ และคาถาม
• ความเหมาะสมของตัวเลือก สาหรั บข้ อสอบเลือกตอบ
• ความถูกต้ องชัดเจนของแนวการตอบ และเกณฑ์ การ
ให้ คะแนน สาหรั บข้ อสอบเขียนตอบ
• ค่ าสถิตข
ิ องข้ อสอบ เช่ น ค่ าความยากง่ าย (P) และ
ค่ าอานาจจาแนก (r)
•
44
การวิเคราะห์ ความยากง่ ายและอานาจจาแนก
•
ค่ าความยากง่ าย (difficulty: P)
𝐻+𝐿
𝑃=
𝑁𝐻 + 𝑁𝐿
•
ข้ อสอบที่มีคา่ P อยูใ่ นช่วง 0.20–0.80
เป็ นข้ อสอบที่มีความยากง่ายเหมาะสม
ค่ าอานาจจาแนก (discrimination: r)
𝐻
𝐿
𝑟=
−
𝑁𝐻 𝑁𝐿
ข้ อสอบที่มีคา่ r ตังแต่
้ 0.20 ขึ ้นไป
เป็ นข้ อสอบที่มีอานาจจาแนกเหมาะสม
โดยที่
H แทน จานวนผู้ตอบถูกในกลุม่ คะแนนสูง
L แทน จานวนผู้ตอบถูกในกลุม่ คะแนนต่า
NH แทน จานวนผู้ตอบทังหมดในกลุ
้
ม่ คะแนนสูง
NL แทน จานวนผู้ตอบทังหมดในกลุ
้
ม่ คะแนนต่า
45
ตัวอย่ างผลการวิเคราะห์ ข้อสอบ
การเปรี ยบเทียบในข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1
5
1. 3
=3
10
50
56
14
2.
>
72
18
2
10
3.
<
5
25
38
4. 0.38 =
10
โรงเรียน
A
B
C
D
ความยากง่ าย (P)
ค่ าสถิติ
ความหมาย
0.186
ยากมาก
0.285
ค่ อนข้ างยาก
0.315
ค่ อนข้ างยาก
0.483
ยากปานกลาง
อานาจจาแนก (r)
ค่ าสถิติ
ความหมาย
0.062
จาแนกได้ ต่า
0.235
จาแนกได้ ปานกลาง
0.431
จาแนกได้ ดี
0.640
จาแนกได้ ดี 46
ตัวอย่ างผลการวิเคราะห์ ตัวเลือก
จานวนผู้สอบที่ตอบแต่ ละตัวเลือก
ตัวเลือก 1
2
การเปรี ยบเทียบในข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1.
2.
3.
4.
1
10
56
72
2
5
0.38
3
5
50
14
>
18
10
<
25
38
=
10
=3
กลุ่มคะแนนสูง (คน) 121
กลุ่มคะแนนต่า (คน) 24
23
67
3
4
7
41
0
17
จานวนผู้สอบ (คน)
140
120
100
80
60
40
20
0
กลุมคะแนนสู
ง
่
1
2
กลุมคะแนนต
ำ่
่
3
4
ตัวเลือก
47
ตัวอย่ างเครื่ องมือประเมิน (2)
แบบตรวจสอบรายการ/แบบบันทึกการสังเกต
พฤติกรรม
มี ไม่ มี ความเห็นเพิ่มเติม
1. มีการประชุมวางแผนร่วมกัน แบ่งหน้ าที่
รับผิดชอบชัดเจน
2. สมาชิกกลุม่ มีสว่ นร่วมแสดงความคิดเห็น
3. สมาชิกกลุม่ ร่วมกันแก้ ปัญหา
4. สมาชิกกลุม่ ยอมรับความเห็นซึง่ กันและกัน
48
เกณฑ์ การให้ คะแนน
• ให้ คะแนนในภาพรวม
• ใช้ ประเมินการทางานที่ต่อเนื่อง
Holistic Scoring Rubrics
หรือผลลัพธ์ สุดท้ าย
• ให้ ข้อมูลป้อนกลับทั่วไป/ภาพรวม
vs.
Analytic Scoring Rubrics • ให้ คะแนนด้ าน/มิตยิ ่ อย ๆ
• ใช้ ประเมินการทางานหรือผลลัพธ์
ในแต่ ละขัน้
• ให้ ข้อมูลป้อนกลับที่เฉพาะเจาะจง
49
แนวทางการพัฒนาเกณฑ์ การให้ คะแนน
1. กาหนดระดับคุณภาพและคะแนนที่ต้องการ
2. แบ่งคุณลักษณะของสิ่งที่จะประเมินออกเป็ นด้ าน/มิติย่อย ๆ
3. ในระดับคุณภาพขันสู
้ งสุดของแต่ละมิติยอ่ ย เขียนคาบรรยาย
คุณลักษณะที่ถกู ต้ องและสมบูรณ์ครบถ้ วนที่สดุ สาหรับระดับ
คุณภาพอื่น ๆ เขียนคาบรรยายให้ มีคณ
ุ ลักษณะที่ดีลดหลัน่ ลงไป
4. ทดลองใช้ เกณฑ์การให้ คะแนน
5. ปรับปรุงแก้ ไขเกณฑ์การให้ คะแนน
6. ตกลง/ทาความเข้ าใจเกี่ยวกับเกณฑ์การให้ คะแนนระหว่างผู้ประเมิน
และผู้ถกู ประเมิน ก่อนใช้ จริ ง
50
องค์ ประกอบที่สาคัญของเกณฑ์ การให้
คะแนน
Oakleaf, M. (2009). Writing rubrics right: Avoiding
51
common mistakes in rubric assessment.
52
ที่มา : ชุดฝึ กอบรมการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ การสร้ างและพัฒนาเครื่ องมือวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้, สพฐ.
53
54
55
ระดับดี
ระดับปานกลาง
ควรปรับปรุ ง
 การนาเสนอมีการ
 การนาเสนอมีการ
 การนาเสนอไม่
เรี ยงลาดับดี
เรี ยงลาดับเป็ นบางส่วน เรี ยงลาดับ และ
สร้ างสรรค์
และแสดงความคิด
แสดงความคิด
 มีสว่ นประกอบ ดังนี ้
สร้ างสรรค์น้อย
สร้ างสรรค์น้อย
มัลติมีเดีย ภาพสไลด์ไม่ต่ากว่า 5  ส่วนประกอบของภาพ  ส่วนประกอบของ
ภาพ ประกอบด้ วย
สไลด์ไม่ครบและ
ภาพสไลด์ไม่ครบ
ความเป็ นมา
ส่วนประกอบสาคัญ
และส่วนประกอบ
วัตถุประสงค์,
หายไป 2-3 ภาพ
สาคัญหายไป
วิธีการศึกษา,
 มีแหล่งอ้ างอิงข้ อมูล
มากกว่า 3 ภาพ
ผลการศึกษา,
น้ อยกว่า 2 แหล่ง
 ไม่มีแหล่งอ้ างอิง
สรุปผลการศึกษา,
ข้ อมูล
แนวทางแก้ ไขปั ญหา
และข้ อเสนอแนะ
 มีแหล่งอ้ างอิงข้ อมูลไม่
ต่ากว่า 2 แหล่ง
คะแนน
จาก
นักเรี ยน
คะแนน
จากครู
56
IPST Learning Space-Testing Module
School
Module
• Teacher Profile
• Student Profile
• School Item Bank
• Classroom Test/Quiz
Teacher PD
IPST etesting
• Self-Assessm
• Placement Te
• Accreditation
• Item Writer/Editor
• Item Bank
• Test Administration
• Score & Report
57 ง
Note: Item หมำยถึ
Test หมำยถึง
Test
Administration
Traditional
CBT
Computerbased
Testing
(CBT)
Fixed
Items
Random
Items
Computerized
Adaptive Testing
(CAT)
58
CAT for
Ability Estimate
(𝜽𝑰𝑹𝑻 )
3
Item 31
Item 21
Item 13
𝜽𝟓
Item 23
…
Item 16
Item 11
Item 32
0
Item 1
-3
1
2
3
4
5
6
7
8
Items
59
ผู้สอบ: นาย ONONON ONONONONONONON ID 01234567890123
ข้ อสอบ: วิชา คณิตศาสตร์ ระดับชัน้ ป.6 ตัวชีว้ ัด ค1.2 ป.6/2
ขอ
้
1
ขอ
้
2
ขอ
้
3
ขอ
้
4
ขอ
้
5
ขอ
้
6
ขอ
้
7
ขอ
้
8
ขอ
้
9
จากภาพ เกาะนีม้ ีพนื ้ ที่ประมาณกี่ตารางกิโลเมตร
2:
ตอบ
ขอ
้
10
ขอ
้
11
เวลา 0 ชั่วโมง 40 นาที
00:34:12 / 00:05:48
ขอ
ขอ
้
้
12
13
Media
ขอ
้
14
แผนผังของเกาะแห่ งหนึ่ง
: 2
: ยย
ข้ อก่ อน
หน้ า
ยืนยันคาตอบ
ขอ
้
15
ข้ อต่ อไป
60
Item
Formats
61
Virtual Experimental Physics โดย สาขาฟิ สิกส์ สสวท.
62
Google in Education
https://wiki.itap.purdue.edu/display/INSITE/iGoogle
63
Assessment in LMS
http://www.classstart.org/
64
Clicker/Response System
http://www.einstruction.eu/products/examview/
65
e-Rubrics
https://www.forallrubrics.com/
66
https://www.forallrubrics.com/
67
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ถาม-ตอบ
ขอบคุณครับ
68