ระบบการวิเคราะห์ข้อสอบออนไลน์อัตโนมัติ Automatic On
Download
Report
Transcript ระบบการวิเคราะห์ข้อสอบออนไลน์อัตโนมัติ Automatic On
ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทกั ษ์
บทนำ
ปจั จุบนั มีโปรแกรมช่วยวิเคราะห์ขอ้ สอบด้วยคอมพิวเตอร์ทาให้การวิเคราะห์งา่ ย
ขึน้ แต่การทีต่ อ้ งนาข้อมูลผลสอบมาป้อนด้วยมือทาให้การวิเคราะห์ขอ้ สอบใช้
เวลาและแรงงานเป็ นอย่างมาก
สอบ
ป้อนข้อมูลผล
สอบด้วยมือ
วิเคราะห์
ผลการ
วิเคราะห์
ระบบวิเคราะห์ขอ้ สอบอัตโนมัตโิ ดยนาผลการสอบออนไลน์มาวิเคราะห์ทาให้ลด
เวลาการวิเคราะห์ขอ้ สอบและพัฒนาไปสูร่ ะบบการคลังข้อสอบได้ในอนาคต
สอบ
วิเคราะห์
ผลการ
วิเคราะห์
รู ปแสดงการเปรียบเทียบวงจรการวิเคราะห์ ข้อสอบแบบดั้งเดิม(ซ้ าย) กับแบบอัตโนมัติ (ขวา)
วัตถุประสงค์
เพื่อพัฒนาระบบการวิเคราะห์ขอ้ สอบออนไลน์โดยใช้ทฤษฎีการทดสอบแบบ
คลาสสิ ก (Classical Test Theory: CTT) ดังนี้คือ
การวิเคราะห์ขอ้ สอบรายข้อเลือกเฉพาะค่าความยาก(Difficulty) ค่าอานาจ
จาแนก(Discrimination)
การวิเคราะห์ขอ้ สอบทั้งฉบับจะวิเคราะห์เฉพาะค่าความเชื่อมัน
่ (Reliability)
ด้วยวิธีการ Kuder-Richardson (KR-20)
ค่ ำควำมยำก
H L
p
N
p
H
L
N
ค่า
แทน ค่าความยาก
แทน จานวนคนในกลุ่มสู งทาถูก
แทน จานวนคนในกลุ่มต่าทาถูก
แทน จานวนคนในกลุ่มสู งและกลุ่มต่ารวมกัน
p ที่ใช้ได้ ควรมีค่าอยูร่ ะหว่าง .2 ถึง .8
ค่ ำอำนำจจำแนก (กรณีตัวเลือกถูก)
H L
r
N /2
ค่ ำอำนำจจำแนกตัวลวง (กรณีตัวเลือกผิด)
WH WL
rw
NH NL
•
•
•
•
r
แทน
ค่าอานาจจาแนก
H
แทน
จานวนคนในกลุ่มสู งที่ตอบถูก
L
แทน
จานวนคนในกลุ่มต่าที่ตอบถูก
ค่า r ที่ใช้ได้ ควรมีอยูร่ ะหว่าง +.2 ถึง + 1.00
•
•
•
•
•
WH = จานวนคนในกลุ่มสู งที่เลือกตัวลวงนั้น
WL = จานวนคนในกลุ่มต่าที่เลือกตัวลวงนั้น
NH = จานวนคนทั้งหมดในกลุ่มสู ง
NL = จานวนคนทั้งหมดในกลุ่มต่า
rw ควรมากกว่าหรื อเท่ากับ 0.05
ค่ ำควำมเชื่อมั่น (KR-20)
n pq
rtt
1 2
s
n 1
rtt
แทน ความเชื่อมัน่ ของแบบทดสอบ
k
แทน จานวนข้อของแบบทดสอบ
s2 แทน
ความแปรปรวนของคะแนนรวมทั้งฉบับ
p
แทน สัดส่ วนของคนทาถูกแต่ละข้อ
q
แทน สัดส่ วนของคนทาผิดแต่ละข้อ (q = 1 - p)
ค่าที่ใกล้ 1.0 แสดงระดับของความเชื่อมัน่ ที่สูง
วิธีกำร
ในการวิจยั ครั้งนี้ใช้การวิเคราะห์และออกแบบเชิงโครงสร้าง และ
แผนภาพความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี (Entity Relationship
Diagram: ERD) เพื่อออกแบบฐานข้อมูล ส่ วนซอฟต์แวร์ที่ใช้คือ
ภาษา PHP, JavaScript, MySQL และ Apache web server
ขั้นตอนการพัฒนา
การเริ่มต้ นและการวางแผน เป็ นการศึกษาความเป็ นไปได้ซ่ ึ งพบว่ามีเทคโนโลยี
เว็บที่สนับสนุนการวิจยั เช่น PHP, MySQL, Apache web server
ความต้ องการและการวิเคราะห์ เป็ นการรวบรวมความต้องการใช้ระบบโดยเก็บ
ข้อมูลผูเ้ กี่ยวข้องในระบบการสอบทั้งอาจารย์และนักเรี ยน
การออกแบบ เป็ นการนาเอาผลการวิเคราะห์มาออกแบบระบบเริ่ มจากแผนภาพ
บริ บทและขยายไปสู่ แผนภาพกระแสข้อมูลและออกแบบฐานข้อมูลด้วย
แผนภาพอีอาร์ (ER diagram)
การสร้ างโปรแกรม โดยนาแผนภาพกระแสข้อมูลมาเขียนโปรแกรมภาษา PHP
เชื่อมกับฐานข้อมูล MySQL บนเว็บเซิ ร์ฟเวอร์ Apache
การทดสอบ โดยทดสอบโปรแกรมกับข้อสอบแบบปรนัย 4–5 ตัวเลือก
การดาเนินงานและการบารุ งรั กษา โดยนาเอาระบบมาใช้งานจริ งตลอดจน
ตรวจสอบและปรับแต่งขณะใช้ระบบเพื่อความเหมาะสม
Context Diagram
DFD Level 0 (All)
DFD Level 0 (Difficulty)
DFD Level 0 (Discrimination)
DFD Level 0 (Reliability: KR-20)
ER-Diagram
รู ปรี เลชันหลังแปลงจาก ER-diagram แล้ว
ผังงานโปรแกรมระบบการวิเคราะห์ขอ้ สอบแบบอัตโนมัติ
ตัวอย่างระบบ: หน้ าหลัก
ตัวอย่ ำงระบบ: ผลกำรวิเครำะห์ ข้อสอบ
ตัวอย่ ำงระบบ: กำรแปลผลกำรวิเครำะห์
จบกำรนำเสนอ
คาถาม + คาตอบ