โปรแกรมB_Index

Download Report

Transcript โปรแกรมB_Index

การวิเคราะห์ ข้อสอบแบบเลือกตอบโดยวิธี B-Index
ด้ วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ศูนย์ เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่ อการศึกษา
SCT
ความสามารถของโปรแกรม
www.sct.ac.th
1. การตรวจและวิเคราะห์ ข้อสอบแบบอิงเกณฑ์โดยวิธีหาค่าดัชนีจา แนก B (B-Index)
2. การวิเคราะห์ ข้อสอบแบบอัตนัย (Essay Item)
3. การวิเคราะห์ แบบสอบถามแบบ Rating Scale
SCT
คุณสมบัติของโปรแกรม
www.sct.ac.th
 เป็ นโปรแกรมที่สามารถตรวจข้ อสอบ และวิเคราะห์ ข้อสอบ เลือกตอบ 4-5 ตัวเลือก
เมื่อสอบแล้ วนา มาวิเคราะห์ ได้ เลย โดยไม่ ต้องตรวจข้ อสอบก่ อน
 โปรแกรมจะรายงานคะแนนผลการสอบรายบุคคล รายจุดประสงค์ ผ่ านหรื อไม่ ผ่านจุดประสงค์
ใดบ้ าง
 สามารถวิเคราะห์ ข้อสอบจา แนกเป็ น รายจุดประสงค์ และวิเคราะห์ เป็ นรายข้ อ
 สามารถวิเคราะห์ ตัวเลือกได้ ทุกตัวเลือก และบ่ งชี ค้ ุณภาพของตัวเลือกทุกข้ อ
 วิเคราะห์ ค่ า Mean , S.D.
 วิเคราะห์ หาค่ าความเชื่ อมัน่ ของแบบทดสอบแบบอิงเกณฑ์ ทั้งฉบับ
 สามารถวิเคราะห์ ได้ ทั้งแบบอิงกลุ่มและแบบอิงเกณฑ์
 โปรแกรม Version นี ้ ใช้ งานบน Windows 98 , NT, Windows
2000 และWindows XP.
SCT
เงื่อนไขสาคัญ และความคิดรวบยอดของการวิเคราะห์
www.sct.ac.th
1
ข้อสอบที่นำ มำวิเครำะห์ ต้องเป็ นข้อสอบที่สอบวัด และ
จำแนกตำมจุดประสงค์กำรเรี ยนรู ้ หรื อจำแนกตำมกลุ่มพฤติกรรม
(ควรจะผ่ำนกำรวิเครำะห์ควำมเที่ยงตรงตำมเนื้อหำหรื อตรงตำม
จุดประสงค์ มำก่อน ถ้ำยังไม่วเิ ครำะห์มำก่อนก็สำมำรถวิเครำะห์ได้
แต่ขอ้ สอบต้องสอบวัดตำมจุดประสงค์)
2
ข้อสอบที่สอบวัดแต่ละจุดประสงค์จะต้องเรี ยงข้อสอบเป็ นชุด ๆ
เช่นจุดประสงค์ที่ 1 ข้อ 1-8 จุดประสงค์ที่ 2 ข้อ 9-15
เป็ นต้น
3
ข้อสอบที่สอบวัดแต่ละจุดประสงค์ จะต้องมีจำนวนมำกพอที่จะเป็ น
ตัวแทนของพฤติกรรมตำมจุดประสงค์น้ นั ๆ
(ไม่ควรต่ำกว่ำ 5 ข้อ)
SCT
ข้ อสอบที่ดี ผลการวิเคราะห์ ควรจะมีค่าดังนี ้
www.sct.ac.th
ข้ อถูกหรื อตัวเลือกที่ถกู ค่ าอานาจจาแนกต้ องมีค่าเป็ นบวก ระหว่ าง 0.20
ถึง 1.00
ค่ าอานาจจาแนกของตัวลวง จะต้ องมีค่าเป็ นลบ (ลวงกลุ่มไม่ ผ่านเกณฑ์ มากกว่ า
กลุ่มผ่ านเกณฑ์ )
การเลือกตอบแต่ ละตัวเลือกที่ เป็ นตัวลวงควรจะกระจายทุก ๆ ข้ อใกล้ เคียงกัน (ค่ า
สั ดส่ วนใกล้ เคียงกัน)
SCT
การใช้ งานโปรแกรม
www.sct.ac.th
1. การเตรียมข้ อสอบทีจ่ ะนามาวิเคราะห์
1.1 ถ้ำต้องกำรรำยงำนคะแนนนักเรี ยนทุกคน ให้เตรี ยมข้อสอบไว้ท้ งั หมด
1.2 ถ้ำต้องกำรผลกำรวิเครำะห์เพื่อพัฒนำข้อสอบอย่ำงเดียว ให้เลือกข้อสอบ
ประมำณ 100 ฉบับขึ้นไป ถ้ำมีขอ้ สอบต่ำกว่ำ 100 ฉบับ ควรใช้ท้ งั หมด
1.3 ถ้ำข้อสอบมีมำกอำจจะเลือก 27% สูง-ต่ำก็ได้ จะทำ ให้ผลกำรวิเครำะห์เชื่อถือ
ได้ยงิ่ ขึ้น
1.4 ถ้ำจะให้ง่ำยและสะดวกอำจจะนำ ห้องเก่งมำ 1 ห้อง และ ห้องไม่เก่งมำ 1 ห้อง
ก็ได้ แต่ถำ้ เตรี ยมเรี ยงข้อมูล 27% สูง-ต่ำ ก็จะดีกว่ำ
SCT
ผลการวิเคราะห์ อนื่ ๆ
www.sct.ac.th
 ค่ำ คะแนนเฉลี่ย เป็ นคะแนนเฉลี่ยของกลุ่มที่นำ มำวิเครำะห์ท้งั หมด
 ค่ำ S.D.เป็ นตัวเลขที่บ่งบอกถึงกำรกระจำย หรื อ ควำมแตกต่ำงของคะแนนของกลุ่ม ถ้ำค่ำ
S.D. มำก แสดงว่ำ คะแนนของนักเรี ยนกระจำยต่ำงจำกค่ำเฉลี่ยมำก
และ ถ้ำค่ำ S.D. น้อย แสดงว่ำ คะแนนของนักเรี ยน แตกต่ำงกันน้อย (คะแนนใกล้เคียง
กับคะแนนเฉลี่ยเป็ นจำ นวนมำก ) บ่งชี้ถึงควำมสำ เร็จของกำรสอนเรำด้วย เช่น ถ้ำเรำ
สอบก่อนสอน ได้ค่ำเฉลี่ยต่ำ กำรกระจำยมำก (S.D. มำก) และหลังกำรสอน ได้ค่ำเฉลี่ยสูง
กำรกระจำย น้อย นัน่ คือเรำได้พฒั นำนักเรี ยนให้มีควำมรู ้ ควำมสำมำรถเพิ่มขึ้นจริ ง แต่อย่ำงไรก็
ตำมอำจจะต้องใช้ขอ้ มูลอื่น ๆ ประกอบกำรพิจำรณำด้วย
 ค่ำควำมเชื่อมัน่ ของแบบทดสอบ( ค่ำ rtt และ ค่ำ rcc ) ผลกำรวิเครำะห์ 2 ค่ำนี้
มีควำมหมำยว่ำ ข้อสอบนี้มีควำมเชื่อมัน่ อยูใ่ นระดับใด ซึ่ งจะมีค่ำ อยูร่ ะหว่ำง 0.00 ถึง 1.00
SCT
การวิเคราะห์ ข้อสอบแบบอัตนัย
(Essay Item)
www.sct.ac.th
 การวิเคราะห์ ค่ าดัชนีอา นาจจา แนกของข้ อสอบ และ ค่ าดัชนีความยากของข้ อสอบแต่ ละข้ อ ใน
ที่น้ ี เลือกใช้ตำมวิธีของ D.R Whitney และ D.L Sabers (อ้ำงอิงในโกวิท
ประวำลพฤกษ์ , 2527 : 276) และกำรวิเครำะห์ ความเชื่ อมัน่ ของแบบทดสอบใช้วธิ ี หำค่ำ
Coefficient Alpha (α) ของ Cronbrach (1951)
 ค่ าดัชนีอา นาจจา แนกของข้ อสอบแต่ ละข้ อ หมำยถึง ตัวเลขที่บ่งชี้คุณภำพของข้อสอบแต่ละข้อ
ว่ำ มีความสามารถจา แนกผู้ที่เข้ าสอบที่มีความรู้ ความสามารถจริ งหรื อ ผ่ านจุดประสงค์ อย่ าง
แท้ จริ ง และ ผู้ที่ยงั ไม่ มีความรู้ ความสามารถ หรื อ ไม่ ผ่านจุดประสงค์ ออกจากกันได้ หรื อไม่
เพียงใด
 ค่ าดัชนีความยากของข้ อสอบแต่ ละข้ อ หมำยถึง ตัวเลขสัดส่ วนที่บ่งชี้ถึงควำมยำกของข้อสอบแต่
ละข้อ โดยคิดเปรี ยบเทียบค่ำคะแนนที่ได้จริ งของทั้ง 2 กลุ่มเปรี ยบเทียบกับคะแนนสูงสุดที่
เป็ นไปได้ ของทั้งสองกลุ่ม เช่ น ข้ อสอบข้ อที่ 1คะแนนเต็ม 5 คะแนน (คะแนนสูงสุด) และ
คะแนนตา่ สุดคือ 0 คะแนน ตัวเลขนี ้ คือตัวเลขคะแนนสูงสุดและตา่ สุดที่เป็ นไปได้
SCT
คุณสมบัตขิ องโปรแกรมสาหรับการวิเคราะห์ ข้อสอบแบบอัตนัย
www.sct.ac.th
ค่ำอำนำจจำแนกของข้อสอบรำยข้อ (Index of
Discrimination)
ค่ำควำมยำกของข้อสอบรำยข้อ ( Index of Difficulty)
ค่ำควำมเชื่อมัน่ ของข้อสอบทั้งฉบับ (Coefficient Alpha)
นอกจำกนี้ยงั สำมำรถสรุ ปรำยงำนข้อมูล ค่ำสถิติ ต่ำง ๆ เกี่ยวกับข้อสอบฉบับนั้น
อีกทุกแง่ทุกมุม เช่น ค่ำคะแนนเฉลี่ย ค่ำควำมแปรปรวนของคะแนนรำยข้อ และทั้ง
กลุ่ม ฯลฯ
SCT
การแปลความหมายผลการวิเคราะห์
www.sct.ac.th
ค่ำควำมยำก มีค่ำอยูร่ ะหว่ำง 0.00 ถึง 1.00 ข้ อสอบยาก ค่ำควำมยำกจะเข้ำใกล้ 0
และ ข้อสอบง่ าย ค่ำควำมยำก จะเข้ำใกล้ 1.00 หรื อ ตัวเลขมำก ข้อสอบง่ำย ตัวเลข
น้อย ข้อสอบยำก โดยทัว่ ๆ ไป ค่ำควำมยำกจะอยูท่ ี่ระดับ 0.20-0.80 ถ้ำต่ำหรื อสูง
กว่ำนี้ จะเป็ นข้อสอบที่ยำกหรื อง่ำยเกินไป
ค่ าอานาจจาแนกทีย่ อมรับ คือค่ าตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป จนถึง 1.00 ถ้ าต่ากว่ า 0.20
จะต้ องปรั บปรุงข้ อสอบข้ อนั้นหรื อตัดทิ้งไป
ค่ าความเชื่อมั่น มีค่าอย่ รู ะหว่ าง 0.00 ถึง 1.00 ค่ าความเชื่อมั่นทีย่ อมรับทัว่ ไปมีค่า
ตั้งแต่ 0.75 ขึ้นไป (กองวิจัยทางการศึกษา กรมวิชาการ, 2545 : 88)
SCT
ค่ าอานาจจาแนก
www.sct.ac.th
ค่ าอานาจจาแนก เป็ นตัวเลขที่บ่งบอกถึงประสิ ทธิ ภำพของข้อสอบข้อนั้น ๆ ว่ำมี
ควำมสำมำรถจำแนกผูเ้ ข้ำสอบได้ดีเพียงใด ถ้ำข้อสอบสำมำรถจำแนกคนที่ ไม่ มี
ควำมรู ้ควำมสำมำรถจริ งตำมจุดประสงค์น้ นั และผูท้ มี่ ีควำมรู้ควำมสำมำรถจริ งตำม
จุดประสงค์น้ นั ออกจำกกันได้ทุกคนอย่ำงถูกต้อง ข้อสอบข้อนั้นมีค่าอานาจ
จาแนก100 % หรื อ ค่ำอำนำจจำแนก = 1.00
SCT
ค่ าความเชื่อมั่น
www.sct.ac.th
ตัวเลขที่สำคัญที่ตอ้ งพิจำรณำคือ ค่ าความเชื่ อมัน่ (Coefficient
Alpha) ของข้อสอบซึ่ งเป็ นตัวเลขที่บ่งบอกว่ำข้อสอบฉบับนี้เชื่อมัน่ ได้มำก
น้อยเพียงใด ถ้ำข้อสอบมีควำมเชื่อมัน่ สู งหมำยควำมว่ำ ไม่วำ่ จะสอบกีค่ รั้ง ในกลุ่ม
เดิม (เว้นระยะห่ำงพอสมควร เช่น 1 สัปดำห์) ผลกำรสอบวัดก็ยงั คงเหมือนเดิม
หรื อใกล้เคียงกัน เช่น คนที่ทำข้อสอบไม่ได้ ก็ยงั คงไม่ได้เหมือนเดิม หรื อ คนที่ทำ
ข้อสอบได้ ก็ยงั คงทำ ได้เหมือนเดิม
ค่ าความเชื่อมั่น มีค่าอย่ รู ะหว่ าง 0.00 ถึง 1.00 ค่ าความเชื่อมั่นทีย่ อมรับทัว่ ไปมีค่า
ตั้งแต่ 0.75 ขึ้นไป (กองวิจัยทางการศึกษา กรมวิชาการ, 2545 : 88)
SCT
www.sct.ac.th
SCT