การปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สอง (๒๕๕๒-๒๕๖๑) สำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึ กษำ รวบรวมโดย...ประถม เชื้อหมอ ๑. ความเป็ นมา  จากการประเมินผลการปฏิรูปการศึกษาที่ผ่านมาพบว่า หลายเรือ่ งประสบผลสาเร็จ เช่น - การปรับโครงสร้างการบริหารจัดการให้มีเอกภาพ - การจัดระเบียบบริหารราชการแบบเขตพื้นที่การศึกษา - การจัดตัง้ สมศ. - การนามหาวิทยาลัยออกนอกระบบ หลายเรือ่ งต้องเร่งพัฒนาปรับปรุง ต่อยอด  กกศ.เห็นชอบให้ สกศ.

Download Report

Transcript การปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สอง (๒๕๕๒-๒๕๖๑) สำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึ กษำ รวบรวมโดย...ประถม เชื้อหมอ ๑. ความเป็ นมา  จากการประเมินผลการปฏิรูปการศึกษาที่ผ่านมาพบว่า หลายเรือ่ งประสบผลสาเร็จ เช่น - การปรับโครงสร้างการบริหารจัดการให้มีเอกภาพ - การจัดระเบียบบริหารราชการแบบเขตพื้นที่การศึกษา - การจัดตัง้ สมศ. - การนามหาวิทยาลัยออกนอกระบบ หลายเรือ่ งต้องเร่งพัฒนาปรับปรุง ต่อยอด  กกศ.เห็นชอบให้ สกศ.

การปฏิรูปการศึกษา
ในทศวรรษที่สอง (๒๕๕๒-๒๕๖๑)
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึ กษำ
รวบรวมโดย...ประถม เชื้อหมอ
1
๑. ความเป็ นมา
 จากการประเมินผลการปฏิรูปการศึกษาที่ผ่านมาพบว่า
หลายเรือ่ งประสบผลสาเร็จ เช่น
- การปรับโครงสร้างการบริหารจัดการให้มีเอกภาพ
- การจัดระเบียบบริหารราชการแบบเขตพื้นที่การศึกษา
- การจัดตัง้ สมศ.
- การนามหาวิทยาลัยออกนอกระบบ
หลายเรือ่ งต้องเร่งพัฒนาปรับปรุง ต่อยอด
 กกศ.เห็นชอบให้ สกศ. ดาเนินการปฏิรูปการศึกษา
ในทศวรรษที่สอง และแต่งตัง้ อนุกรรมการเฉพาะกิจฯ
2
ศึกษำเอกสำร รำยงำนที่เกี่ยวข้องผลกำรประเมิ นกำรปฏิ รปู
กำรศึกษำในช่วง ๙ ปี (พ.ศ. ๒๕๔๒-๒๕๕๑)
จัดประชุมระดมควำมคิ ดจำกผูท้ รงคุณวุฒิ
( ๒๔ธ.ค.๕๑ และที่ ๒๘ ม.ค.๕๒
จัดประชุมเสวนำรับฟั ง /ระดมควำมคิ ด ๕ ครัง้ ในส่วนกลำง
และ ๔ ภูมิภำค( ระหว่ำง ๑๓ ก.พ. - ๑๑ มีค.๕๒ มีผเ้ ู ข้ำร่วม
ประชุมประมำณ ๒,๐๐๐ คน)
จัดประชุมอนุกรรมกำรสภำกำรศึกษำ ๘ คณะ เพื่อจัดทำ
ข้อเสนอยุทธศำสตร์และมำตรกำรปฏิ รปู กำรศึกษำ ทัง้ ๙
ประเด็นเสนอต่อคณะอนุกรรมกำรสภำกำรศึกษำเฉพำะกิ จฯ
๒. การดาเนินงาน
สำรวจควำมคิดเห็น (poll)
เพื่อจัดอันดับควำมสำคัญ
ของประเด็นปฏิรปู
วิจยั &จัดทำข้อเสนอเชิงลึกบำงเรือ่ ง อำทิ
กำรจัดตัง้ สถำบันคุรศุ ึกษำฯ เป็ นต้น
อนุกรรมกำรสภำกำรศึกษำเฉพำะกิ จฯ สังเครำะห์ จัดทำ
ข้อเสนอกำรปฏิ รปู กำรศึกษำในทศวรรษที่สอง
เสนอ
รมว ศธ.
กกศ.
เห็นชอบ
๔ มิ.ย. ๕๒
ครม.
เห็นชอบ
๑๘ ส.ค.๕๒
ขับเคลื่อนการปฏิรูป
การศึกษาในทศวรรษ
ที่สอง
3
๓. ข้อเสนอ
การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง
• วิสยั ทัศน์
คนไทยได้เรียนรูต้ ลอดชีวิตอย่างมีคณ
ุ ภาพ
• เป้าหมาย
ภายในปี ๒๕๖๑ มีการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรูอ้ ย่าง
เป็ นระบบ โดยเน้นเป้าหมายหลัก ๓ ประการ คือ
 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเรียนรูข้ องคนไทย
 เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและเรียนรูอ้ ย่างทั ่วถึงและมีคณ
ุ ภาพ
 ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วนของสังคมในการ
บริหารและจัดการศึกษา
4
• กรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ๔ ใหม่
 พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่
 พัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่
 พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา &แหล่งเรียนรูย้ ุคใหม่
 พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่
5
๑.
พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่
๑.๑ พัฒนาคุณภาพการศึกษาและเรียนรู ้
๑.๒ ผลิตและพัฒนากาลังคนที่มีคุณภาพ
มีสมรรถนะ และความรู ้ ความสามารถ
6
๑.๑ พัฒนาคุณภาพการศึกษาและเรียนรู ้
๑) ให้มีระบบการวัดประเมินผลการศึกษาที่เป็ นมาตรฐาน
ให้มีการวัดผลระดับชาติในชั้นปี สุดท้ายของแต่ละ
ช่วงชั้น และนาผลมาใช้ปรับปรุงการเรียนการสอน
๒) พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาขนาดเล็กและด้อยคุณภาพ
๓) ส่งเสริมบทบาทของครอบครัวในการพัฒนาการเรียนรู ้
ของบุตรหลาน
๔) พัฒนาและเตรียมความพร้อมของเด็กปฐมวัย
7
๑.๑ พัฒนาคุณภาพการศึกษาและเรียนรู ้ (ต่อ)
๕) จัดหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน เพื่อเอื้อต่อการพัฒนา
ผูเ้ รียนอย่างรอบด้าน ด้วยรูปแบบที่เหมาะสม
๖)
๗)
๘)
๙)
พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
พัฒนาคุณภาพมาตรฐานอาชีวศึกษา
ปฏิรูปอุดมศึกษา สูค่ วามเป็ นเลิศ
ส่งเสริม อนุรกั ษ์ และใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง ควบคู่กบั การ
เรียนรูภ้ าษาสากลเป็ นภาษาที่สอง
๑๐) พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งเนื้อหาและวิธีการที่
เหมาะสม
8
๑.๒ ผลิตและพัฒนากาลังคนที่มีคุณภาพ
มีสมรรถนะ และความรู ้ ความสามารถ
๑) พัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ
(National Qualification Framework)
๒ ) จัดการศึกษาและเรียนรูอ้ าชีวศึกษาโดยเน้น
การปฏิบตั ิ ขยายระบบทวิภาคี สหกิจศึกษา และ
การฝึ กงาน
๓ ) พัฒนาระบบการแนะแนวการศึกษาและอาชีพ
๔ ) พัฒนาหลักสูตรฐานวิชาชีพต่อยอดจากการศึกษา
ภาคบังคับ
9
๑.๒ผลิตและพัฒนากาลังคนที่มีคณ
ุ ภาพมีสมรรถนะ
และความรู ้ ความสามารถ (ต่อ)
๕) จัดตัง้ สถาบันการอาชีวศึกษาให้สอดคล้องกับการพัฒนา
กลุม่ จังหวัด และจัดหลักสูตรอาชีวศึกษาแต่ละระดับให้
ต่อเนื่องเชื่อมโยงกัน
๖) สร้างกลไกการวิจยั และถ่ายทอดความรูแ้ ละเทคโนโลยี
ระหว่างภาคธุรกิจเอกชน สถานประกอบ กับ
สถาบันอุดมศึกษาและอาชีวศึกษา
๗) กาหนดทิศทางความต้องการกาลังคน และสร้างระบบ
เครือข่ายความร่วมมือในการผลิตและพัฒนากาลังคน
จากภาคส่วนต่างๆ
10
๒.
พัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่
๒.๑ พัฒนาระบบผลิตครู คณาจารย์ และบุคลากร กศ.
๒.๒ การพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
๒.๓ การใช้ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
11
๒.๑ พัฒนาระบบผลิตครู คณาจารย์ และบุคลากรทาง กศ.
๑) ปรับระบบการผลิต คัดสรร ค่าตอบแทนและ
สวัสดิการ ให้สามารถดึงดูดคนเก่งและดี มีใจรักใน
วิชาชีพมาเป็ นครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการ
ศึกษา
๒) ให้มีสถาบันอุดมศึกษาที่เน้นความเป็ นเลิศด้านการ
ผลิตครู วิจยั และพัฒนาเกี่ยวกับวิชาชีพครู มีระบบ
ประกันและรับรองคุณภาพมาตรฐานวิชาชีพครูและ
สถาบันผลิตครู
12
๒.๒ การพัฒนาครู คณาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา
๑) ปรับปรุง พัฒนาระบบและเกณฑ์การประเมินสมรรถนะ
วิชาชีพครู ให้เชื่อมโยงกับความสามารถในการจัดการเรียน
การสอนและเรียนรูเ้ พื่อพัฒนาผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ
๒) เร่งจัดตัง้ กองทุนพัฒนาและกองทุนส่งเสริมครู คณาจารย์
และบุคลากรทางการศึกษา
๓) พัฒนาครู คณาจารย์ โดยใช้โรงเรียนเป็ นฐาน ให้สามารถ
จัดการเรียนการสอนที่เน้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ โดยเฉพาะครู
ประจาการที่สอนไม่ตรงวิชาเอก ให้สามารถจัดการเรียนการ
สอนอย่างมีคณ
ุ ภาพ ให้มีระบบและมาตรการจูงใจให้ครู
คณาจารย์ ผูบ้ ริหาร และบุคลากรการศึกษา พัฒนาตนเอง
อย่างต่อเนื่อง
13
๒.๓ การใช้ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
๑) คืนครูให้กบั ผูเ้ รียน โดยลดภาระงานอื่นที่ไม่จาเป็ น และ
จัดให้มีบุคลากรสายสนับสนุนให้เพียงพอ เพื่อให้ครูได้ทา
หน้าที่พฒ
ั นาผูเ้ รียนอย่างเต็มที่และมีโอกาสพัฒนาตนเอง
อย่างต่อเนื่อง
๒) ปรับปรุงเกณฑ์กาหนดอัตราครู โดยพิจารณาจากภาระ
งานที่ชดั เจน และจัดให้มีจานวนครูพอเพียงตามเกณฑ์
และมีวุฒิตรงตามวิชาที่สอน
๓) แยกบัญชีเงินเดือนและวิทยฐานะของข้าราชการครู และ
บุคลากรการศึกษาออกจากกัน
14
๓. พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและแหล่งเรียนรูย้ คุ ใหม่
๑) รณรงค์ให้คนไทยมีนิสยั รักการอ่าน และส่งเสริม
การผลิตสื่อที่มีคณ
ุ ภาพ
๒) พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาให้เอื้อต่อการศึกษาและเรียนรู ้
๓) พัฒนาห้องสมุดชุมชน ให้กระจายอย่างทั ่วถึง
๔) พัฒนาแหล่งเรียนรูใ้ นรูปแบบอื่นๆ ที่หลากหลาย
มีคณ
ุ ภาพ และกระจายอย่างทั ่วถึง
๕) ส่งเสริมการสร้างสภาพแวดล้อมของชุมชน ท้องถิ่น
สังคม เป็ นแหล่งเรียนรูแ้ ละพัฒนาการเรียนรูใ้ นชุมชน
ท้องถิ่น
15
๔. พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่
๔.๑ กระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาให้กบั
สถานศึกษาและเขตพื้นที่การศึกษา
๔.๒ พัฒนาระบบบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลให้มี
ประสิทธิภาพ
๔.๓ พัฒนาการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษา
อย่างมีคุณภาพ
๔.๔ พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการมีสว่ นร่วมของ
ประชาชน ภาคเอกชน และทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา
และสนับสนุนการศึกษาและเรียนรูใ้ ห้มากขึ้น
๔.๕ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการศึก16ษา
๔.๑ กระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษา
ให้กบั สถานศึกษาและเขตพื้นที่การศึกษา
๑) ให้มีการกระจายอานาจตามศักยภาพความพร้อม
ด้วยกลไกขับเคลื่อนอย่างเป็ นระบบ
๒) สร้างผูน้ าการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรมการบริหาร
เชิงคุณภาพ
๓) พัฒนา สพท. รูปแบบใหม่ที่เน้นยุทธศาสตร์เชิงวิชาการ
และส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษาในพื้นที่ให้มีความ
เข้มแข็งยิง่ ขึ้น
๔) ส่งเสริมการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับและประเภท
โดยยึดพื้นที่เป็ นฐาน (area – based)
17
๔.๒ พัฒนาระบบบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล
๑) ทบทวนระบบการบริหารโดยองค์คณะบุคคลในทุก
ระดับ และเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของ
องค์คณะบุคคล
๒) ปรับระบบบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูให้เป็ นไป
ตามหลักธรรมาภิบาล และส่งเสริมวิชาชีพครูให้เป็ น
วิชาชีพชั้นสูง
18
๔.๓ พัฒนาการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษา
อย่างมีคณ
ุ ภาพ
๑) พัฒนาระบบการศึกษาที่ยดื หยุน่ และมีระบบเทียบโอน
๒) ให้ทุกคนได้รบั การศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างทั ่วถึง มีคณ
ุ ภาพ
เสมอภาค เป็ นธรรม เป้าหมายไม่ต ่ากว่า ๑๕ ปี
๓) ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อ
ส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวิต และสร้างสังคมแห่งการเรียนรู ้
๔) ส่งเสริมการจัดการศึกษาสาหรับผูด้ อ้ ยโอกาส
๕) ส่งเสริมการจัดวิทยาลัยชุมชน
๖) พัฒนาระบบการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา
๗) ปรับระบบกระบวนการเรียนรูแ้ ละประเมินผลผูเ้ รียนให้เอื้อต่อการ
19
จัดการศึกษาทางเลือก
๔.๔ พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อส่งเสริมสนับสนุนการ
มีสว่ นร่วมของประชาชน ภาคเอกชนและทุกภาคส่วน
ในการจัดการศึกษาและสนับสนุนการศึกษาและเรียนรู ้
ให้มากขึ้น
๑) ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน
องค์กรชุมชน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ
สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น
ในการจัดการศึกษาและสนับสนุนการศึกษาให้มากขึ้น
๒) ส่งเสริมบทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เข้ามาร่วม
จัดและสนับสนุนการจัดการศึกษามากขึ้น
20
๔.๕ พัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการศึกษาให้มี
ประสิทธิภาพ
๑) ปรับปรุงการบริหารจัดการการเงินและงบประมาณ โดย
เน้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ (demand side)
๒) จัดระบบบริหารจัดการเพื่อรองรับการยุบ เลิก หรือ
ควบรวมสถานศึกษาขนาดเล็ก
๓) จัดสรรงบประมาณโดยคานึงถึงความต้องการและ
ความจาเป็ นที่แตกต่างแต่ละพื้นที่/กลุม่
๔) พัฒนาระบบการจัดสรรงบประมาณระหว่างรัฐบาลและ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และส่งเสริมให้ อปท.
จัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาและเรียนรูม้ ากขึ้น
21
๔.๕ พัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากร
เพื่อการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ (ต่อ)
๕) พัฒนาระบบการจัดสรรทุนการศึกษา
๖) ส่งเสริมการระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อ
การศึกษาและการเรียนรูใ้ นรูปแบบต่างๆ อย่าง
หลากหลายจากทุกภาคส่วน
๗) พัฒนาระบบการติดตามประเมินผลประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลการใช้ทรัพยากรเพื่อการศึกษา
22
กลไกหลักเพือ่ ขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
๑. คณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา

คณะกรรมการนโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง : กนป.
 คณะกรรมการขับเคลื่อนปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง :
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
กขป.
จัดตัง้ และ/หรือปรับบทบาทหน่ วยงาน
มอบหมายภารกิจเพิ่มเติม ให้หน่ วยงานที่มีอยู่แล้ว
พัฒนาระบบการเงิน การคลัง
พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเพือ่ การศึกษา
การปรับปรุงแก้ไข บังคับใช้กฎหมายการศึกษาและที่เกี่ยวข้อง
23
ควำมคืบหน้ ำกำรปฏิรปู กำรศึกษำ
ในทศวรรษที่สอง
(พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๖๑)
24
มติ กกศ.
๔ มิ.ย. ๕๒
เห็นชอบ
ข้อเสนอกำร
ปฏิรปู กศ. ใน
ทศวรรษที่สอง
๑๗ ม.ค. ๕๓
นรม. ลงนำม
แต่งตัง้ คกก.
ผูท้ รงคุณวุฒิ
กนป. ๑๐ คน
คณะกรรมกำร
นโยบำยปฏิรปู
กำรศึกษำ (กนป.)
มติ ครม.
๑๘ ส.ค. ๕๒
เห็นชอบ
ข้อเสนอกำร
ปฏิรปู ฯ
มติ ครม.
๑ ธ.ค. ๕๒
เห็นชอบ
ระเบียบสำนัก
นำยก รมต.
คณะกรรมกำร
ขับเคลื่อนกำรปฏิรปู
กำรศึกษำ (กขป.)
มีนำยกรัฐมนตรี
เป็ นประธำน
มี รมว.ศธ เป็ นประธำน
25
25
๑. กาหนดเป้าหมาย ตัวบ่งชี้การปฏิรูปฯ
๔ เป้าหมาย ๒๐ ตัวบ่งชี้
ผลกำร
ดำเนินงำน
๒. จัดตัง้ สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการ
เรียนรูแ้ ละคุณภาพเยาวชน (สสค.)
๓. กาหนดกรอบแนวทาง ยุทธศาสตร์
และกลไกขับเคลื่อนการปฏิรูปใน
ทศวรรษที่สอง
๔. แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการ กนป. รวม
๖ คณะ
๕. จัดทา ร่างแผนปฏิบตั กิ าร (Roadmap)
ขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาใน
ทศวรรษที่สอง (พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๖๑)
26 26
๑. เป้ าหมายยุทธศาสตร์
การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง
๑. คนไทยและการศึกษาไทยมีคุณภาพและได้มาตรฐานระดับสากล
๒. คนไทยใฝ่ รู ้ : สามารถเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง รักการอ่าน
และแสวงหาความรูอ้ ย่างต่อเนื่ อง
๓. คนไทยใฝ่ ดี : มีคณ
ุ ธรรมพื้นฐาน มีจติ สานึ กและค่านิ ยมที่พงึ
ประสงค์ เห็นแก่ประโยชน์สว่ นร่วม มีจติ สาธารณะ
มีวฒั นธรรมประชาธิปไตย
๔. คนไทยคิดเป็ น ทาเป็ น แก้ปญั หาได้ :
มีทกั ษะในการคิดและปฏิบตั ิ มีความสามารถในการแก้ปญั หา
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความสามารถในการแข่งขัน
27
ตัวบ่งชี้และค่าเป้ าหมาย
การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง
๑. คนไทยและการศึกษาไทยมีคุณภาพและได้มาตรฐาน
ระดับสากล
ตัวบ่งชี้และค่าเป้ าหมาย
๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบ
ระดับชาติ มีคะแนนเฉลีย่ มากกว่าร้อยละ ๕๐
๑.๒ ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาด้านคณิ ตศาสตร์และ
วิทยาศาสตร์เพิม่ ขึ้นเป็ นไม่ตา่ กว่าค่าเฉลี่ยนานาชาติ
(ผลทดสอบ PISA)
28
ตัวบ่งชี้และค่าเป้ าหมาย
การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง
๑.๓ ความสามารถด้านภาษาอังกฤษเพิม่ ขึ้นร้อยละ ๓ ต่อปี
๑.๔ ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเพิม่ ขึ้นร้อยละ ๓ ต่อปี
๑.๕ สัดส่วนผูเ้ รียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
ประเภทอาชีวศึกษา : สามัญศึกษา เป็ น ๖๐ : ๔๐
๑.๖ ผูส้ าเร็จอาชีวศึกษาและอุดมศึกษามีคุณภาพระดับสากล
และเป็ นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
๑.๗ จานวนปี การศึกษาเฉลีย่ ของคนไทย (อายุ ๑๕-๕๙ ปี )
เพิม่ ขึ้นเป็ น ๑๒ ปี
29
ตัวบ่งชี้และค่าเป้ าหมาย
การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง
๒. คนไทยใฝ่ รู ้ : สามารถเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง รักการอ่าน และ
แสวงหาความรูอ้ ย่างต่อเนื่ อง
ตัวบ่งชี้และค่าเป้ าหมาย
๒.๑ ผูเ้ รียนทุกระดับการศึกษาไม่ตา่ กว่าร้อยละ ๗๕
มีทกั ษะในการแสวงหาความรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง
รักการเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่ อง
๒.๒ อัตราการรูห้ นังสือของประชากร (อายุ ๑๕ - ๖๐ ปี )
เป็ นร้อยละ ๑๐๐
30
ตัวบ่งชี้และค่าเป้ าหมาย
การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง
๒.๓ ผูเ้ ข้ารับบริการในแหล่งเรียนรูเ้ พิม่ ขึ้นปี ละอย่างน้อย
ร้อยละ ๑๐
๒.๔ คนไทยใช้เวลาอ่านหนังสือนอกเวลาเรียน/
นอกเวลาทางาน โดยเฉลีย่ อย่างน้อยวันละ ๖๐ นาที
๒.๕ สัดส่วนผูท้ ่ีใช้อนิ เทอร์เน็ ตเพือ่ การเรียนรูต้ ่อ
ประชากรอายุ ๑๐ ปี ข้ ึนไปเป็ นร้อยละ ๕๐
31
ตัวบ่งชี้และค่าเป้ าหมาย
การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง
๓. คนไทยใฝ่ ดี : มีคณุ ธรรมพื้นฐาน มีจติ สานึ กและค่านิ ยม
ที่พงึ ประสงค์ เห็นแก่ประโยชน์สว่ นร่วม
มีจติ สาธารณะ มีวฒั นธรรมประชาธิปไตย
ตัวบ่งชี้และค่าเป้ าหมาย
๓.๑ ผูเ้ รียนทุกระดับการศึกษาไม่ตา่ กว่าร้อยละ ๗๕
มีคณ
ุ ธรรม จริยธรรมและมีความเป็ นพลเมือง
๓.๒ จานวนคดีเด็กและเยาวชนที่ถกู ดาเนิ นคดี
โดยสถานพินิจฯ ลดลงร้อยละ ๑๐ ต่อปี
32
ตัวบ่งชี้และค่าเป้ าหมาย
การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง
๓.๓ จานวนเด็กอายุตา่ กว่า ๑๕ ปี ที่ตง้ั ครรภ์ลดลง
ร้อยละ ๑๐ ต่อปี
๓.๔ จานวนเด็กเข้ารับการบาบัดยาเสพติด
ลดลงร้อยละ ๑๐ ต่อปี
๓.๕ สัดส่วนคนไทยที่ประกอบกิจกรรมทางศาสนา
และกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ต่อผูอ้ น่ื และสังคม
อย่างสมา่ เสมอ เพิม่ ขึ้นร้อยละ ๕ ต่อปี
33
ตัวบ่งชี้และค่าเป้ าหมาย
การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง
๔. คนไทยคิดเป็ น ทาเป็ น แก้ปญั หาได้ :
มีทกั ษะในการคิดและปฏิบตั ิ มีความสามารถในการแก้ปญั หา
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความสามารถในการแข่งขัน
ตัวบ่งชี้และค่าเป้ าหมาย
๔.๑ ผูเ้ รียนไม่ตา่ กว่าร้อยละ ๗๕ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์ มีวจิ ารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์
๔.๒ ผูส้ าเร็จการอาชีวศึกษาและการอุดมศึกษา มีสมรรถนะเป็ นที่พงึ พอใจ
ของผูใ้ ช้ และมีงานทาภายใน ๑ ปี รวมทัง้ ประกอบอาชีพอิสระ
เพิ่มขึ้น
๔.๓ กาลังแรงงานที่มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาขึ้นไปเพิ่มขึ้นเป็ น
34
ร้อยละ ๖๕ และมีสมรรถนะทางวิชาชีพตามมาตรฐาน
๒. กนป. เห็นชอบหลักการในการตั้ง
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรูแ้ ละคุณภาพ
เยาวชน (สสค.)
ครม. ในคราวประชุม เมื่อ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓
เห็นชอบการจัดตัง้ สสค.
35
๓. กาหนดกรอบแนวทาง ยุทธศาสตร์ และ
กลไกขับเคลื่อนเพื่อการบรรลุเป้าหมายการปฏิรูป
ในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๖๑) และ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก/ร่วม รวมทั้งตัวอย่าง
กลไก/โครงการ/กิจกรรมขับเคลื่อน
36
๔. แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการ กนป. รวม ๖ คณะ
๑) คณะอนุกรรมการ กนป. ด้านพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน
การศึกษาและเรียนรู ้
๒) คณะอนุกรรมการ กนป. ด้านการเพิ่มโอกาสทางการศึกษา
และเรียนรู ้
๓) คณะอนุกรรมการ กนป. ด้านการส่งเสริมการมีสว่ นร่วมใน
การจัดการศึกษา
๔) คณะอนุกรรมการ กนป. ด้านจัดทาแผนงบประมาณขับเคลื่อน
การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง
๕) คณะอนุกรรมการคุรุศึกษาแห่งชาติ
๖) คณะอนุกรรมการใน กนป. ด้านพัฒนาการศึกษาเพื่อสร้าง
ความเป็ นพลเมืองดี
37
๕. จัดทา ร่างแผนปฏิบตั กิ าร (Roadmap) ขับเคลื่อน
การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง
(พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๖๑) /ประชุมร่วมกับหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้อง และจัดทากรอบแผนงานที่ควรดาเนินการ
เพื่อขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา จากนั้น นาเสนอ
ต่อที่ประชุมผูบ้ ริหารองค์กรหลัก ศธ. ซึ่งที่ประชุม
มีมติเห็นชอบและให้ดาเนินการต่อไป
38
การดาเนินงานต่อไป
๑) จัดประชุมปฏิบตั กิ ารร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๒) นาเสนอ Roadmap ต่อ กขป. และ กนป. เพื่อ
เห็นชอบ และให้ดาเนินการต่อไป
๓) ผลักดัน ขับเคลื่อน ประสานหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องในการนาแผนปฏิบตั กิ ารสู่การปฏิบตั ิ
๔) หน่วยงานที่รบั ผิดชอบดาเนินการตามแผนฯ และ
รายงานความก้าวหน้าเป็ นระยะ ๆ
๕) เร่งรัด ติดตาม ประเมินผล การปฏิบตั ติ าม
แผนปฏิบตั กิ ารของหน่วยงาน
39