นพ.สุขุม

Download Report

Transcript นพ.สุขุม

การขับเคลือ่ นการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพสู่
ความสาเร็จ
โดย นายแพทย์สุขุม กาญจนพิมาย
รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
งานมหกรรมวิชาการเรือ่ ง “ปรับพฤติกรรม เปลีย่ นสุขภาพคนไทย” ครัง้ ที่ ๓
วันที่ ๙-๑๐ มกราคม ๒๕๕๖ ณ รีเจนท์ รีสอร์ท ชะอา จังหวัดเพชรบุ
รี 1
Page
ทิศทางการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพคนไทย
*แผนพัฒนา
สุขภาพ
ฉบับที่ ๑๐
*แผนสุขภาพดี
วิถีชีวิตไทย
*นโยบายการ
บริหารงาน
กระทรวง
สาธารณสุข
ประชาชนมีสขุ ภาวะที่ดี
ประชาชนมีพฤติกรรม
สุขภาพถูกต้อง
มีปัจจัยที่ส่งผลต่อ
พฤติกรรมสุขภาพที่สมดุล
เหมาะสม
ปัญหาสุขภาพสาคัญ
* CD
* NCD
*พฤติกรรม ๓อ ๒ส
ที่ไม่ถกู ต้อง
*อนามัยส่วนบุคคล
*ภาวะเครียด
Page 2
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐
น้อมนา “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นแนวทางในการพัฒนาสุขภาพ”
“สุขภาพดีเป็ นผลมาจากสังคมดี”
ยุทธศาสตร์ที่๒ การสร้างวัฒนธรรมสุขภาพและวิถีชีวิตทีม่ ีความสุขใน
สังคมแห่งสุขภาวะ เป็ นการเร่งรัดงานสุขภาพเชิงรุก เพือ่ สร้าง
หลักประกันความปลอดภัยอย่างพอเพียงในชีวิตประจาวัน ทั้งด้ านอาหาร
ยา ผลิตภัณฑ์สขุ ภาพ
การประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งส่งเสริมบทบาทของครอบครัว
ชุมชน และภาคประชาชนในการสร้างวัฒนธรรมการดูแลสุขภาพที่ดีและ
สร้างสรรค์สังคมที่มคี วามสุขในทุกระดับ
Page 3
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวถิ ชี วี ติ ไทย พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๖๓
เป้าประสงค์ : ประชาชน ชุมชน สังคม และประเทศ มีภมู ิค้มุ กันและ
ศักยภาพในการสกัดกั้นภัยคุกคามสุขภาพจากโรควิถีชีวิต
ที่สาคัญได้
เป้าหมาย : +ลดปัญหาโรควิถีชีวิตที่สาคัญ ๕ โรค ได้แก่ โรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง
โรคมะเร็ง
+ลดปัญหา ๕ ด้านคือ ลดการเกิดโรค ลดภาวะแทรกซ้อน
ลดความพิการ ลดการตาย ลดภาระค่าใช้จ่าย
+เพิม่ วิถีชีวิตพอเพียง ๓ ด้านคือ การบริโภคที่เหมาะสม
การออกกาลังที่พอเพียง และการจัดการอารมณ์ที่เหมาะสม
Page 4
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวถิ ชี วี ติ ไทย พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๖๓ (ต่อ)
ตัวชี้วัด ๕๔-๕๖: ๑.ผูน้ าเชิงยุทธศาสตร์ของทุกภาคส่วน ร่วมผลักดัน
นโยบายอาหาร การออกกาลังกาย การดารงชีวิต
และสภาพแวดล้อมที่เอื้ อต่อสุขภาพสู่การปฏิบตั ิ
ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายเพิม่ ขึ้น
๒.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายพึงพอใจต่อนโยบาย รับรู้
เข้าใจ ตระหนักถึงภาวะเสี่ยง แนวทางสร้างเสริม
สุขภาพและมีภมู ิค้มุ กัน สามารถปรับพฤติกรรม
ควบคุมป้องกันปัจจัยเสี่ยงและโรควิถีชีวิตได้เพิม่ ขึ้น
๓.ชุมชน ท้องถิ่น องค์กรทุกภาคส่วนทุกระดับ สถาบัน
ครอบครัว และเครือข่ายทางสังคม ที่สามารถดูแล
และจัดการเกี่ยวกับการลดโรคและภาระโรควิถีชีวิต
ได้ด้วยตนเองเพิม่ ขึ้น
Page 5
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวถิ ชี วี ติ ไทย พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๖๓ (ต่อ)
ตัวชี้วัด ๕๔-๕๖: ๔.สถานพยาบาลทุกระดับทั้งภาครัฐและเอกชน มี
นโยบาย กระบวนทัศน์ของผูน้ าและทีมปฏิบัติงาน
และศักยภาพในการจัดการระบบเฝ้ าระวัง ควบคุม
ป้องกัน ส่งเสริมสุขภาพ และระบบบริการโรควิถีชีวิต
เพิม่ ขึ้น
๕.การบริโภคผักและผลไม้เพิม่ ขึ้น
๖.การบริโภคอาหารที่มรี สหวาน เค็ม มัน ปนเปื้ อน
สารเคมี และบุหรี่ สุรา ลดลง
Page 6
นโยบายการบริหารงานกระทรวงสาธารณสุข
โดย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข(นายแพทย์ประดิษฐ์ สินธวณรงค์)
วิสัยทัศน์ : ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสขุ ภาพ
แข็งแรงเพิม่ ขึ้น เพือ่ สร้างความเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้ อม
อย่างยั่งยืน
เป้าหมาย ระยะ ๑๐ ปี :
๑.อายุคาดเฉลี่ยเมือ่ แรกเกิด ไม่น้อยกว่า ๘๐ ปี
๒.อายุคาดเฉลี่ยของการมีสขุ ภาพดี ไม่น้อยกว่า ๗๒ ปี
Page 7
นโยบายการบริหารงานกระทรวงสาธารณสุข (ต่อ)
โดย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข(นายแพทย์ประดิษฐ์ สินธวณรงค์)
เป้าหมาย๑ปี (เขตสุขภาพจังหวัด) เฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
พฤติกรรมสุขภาพ :
เรื่องความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy)
ตัวชี้วัดที่ ๖๒ ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดัน
โลหิตสูงที่มกี ารปรับพฤติกรรม ๓อ ๒ส และลดเสี่ยง
(ไม่น้อยกว่า ๕๐)
Page 8
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมสุขภาพ
ปัจจัยนา
สมดุล
ปัจจัยเสริม
*กระแสสังคม
*กลุ่มเพือ่ น
*การบังคับใช้กฎ/ระเบียบ
*ความรู้
*ทักษะ
*ความรอบรู้ด้านสุขภาพ
เหมาะสม
การ
มีส่วนร่วมของ
เครือข่าย
เครือข่าย
ปัจจัยเอื้ อ
*ลานออกกาลังกาย
*ร้านค้าผักปลอดสารพิษ
*วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ
Page 9
บทบาทของเครือข่ายสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
ก.ส่วนกลาง
๑.กาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนแบบบูรณาการ
๒.ดาเนินการและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบตั ิอย่ าง
เป็ นรูปธรรม
๓.ส่งเสริม พัฒนาศักยภาพเครือข่ายฯ
๔.สนับสนุน ประสาน ติดตามกากับการดาเนินงานของเครือข่าย
ในส่วนภูมิภาค
Page 10
บทบาทของเครือข่ายสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
ข.ส่วนภูมิภาค
๑.สร้างนโยบายสาธารณะเพือ่ สุขภาพ โดยเน้นการส่งเสริมสุขภาพ
เช่น *การส่งเสริมสุขบัญญัติให้แก่เด็กและเยาวชน
*การส่งเสริมให้ประชาชนอายุ ๑๕ปี ขึ้นไปกินผักและผลไม้สด
อย่างน้อยวันละครึ่งกิโลกรัม ควบคู่กับการออกกาลังกาย
๓-๕วันต่อสัปดาห์ วันละอย่างน้อย๓๐นาที
๒.มีแผนพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของจังหวัด
Page 11
บทบาทของเครือข่ายสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
ข.ส่วนภูมิภาค (ต่อ)
๓.สร้างสรรค์ส่ิงแวดล้อมในการดูแลสุขภาพ เช่น ลานออกกาลังกาย
๔.สร้างความเข้มแข็งให้แก่ชมุ ชน โดยให้ชมุ ชนเป็ นเจ้าของและ
ควบคุมกิจกรรมของชุมชนเอง เช่น มีแผนชุมชนในการแก้ปัญหา
สาธารณสุขของชุมชนและของจังหวัด เช่น
*การส่งเสริมโรงเรียนสุขบัญญัติ
*การพัฒนาหมูบ่ า้ นปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เป็ นต้น
Page 12
บทบาทของเครือข่ายสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
ข.ส่วนภูมิภาค (ต่อ)
๕.พัฒนาคุณภาพสถานบริการสุขภาพให้ดาเนินงานสุขภาพ
เชิงรุก โดยการดาเนินงานตามมาตรฐานงานสุขศึกษา และ
ส่งเสริมการยกระดับแม่ข่ายสถานบริการสุขภาพให้เข้าสู่
มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ
Page 13
เป้าหมายการสนับสนุนของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ปี งบประมาณ ๒๕๕๖
เป้าหมาย : ร้อยละ ๗๐ของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถกู ต้อง
(๑)กลุ่มเด็กและเยาวชนอายุ๖-๑๕ปี ในสถานศึกษา
ในพื้นที่เป้าหมาย โดยมุง่ เน้นพฤติกรรม
ตามแนวทางสุขบัญญัติแห่งชาติ
(๒)กลุ่มประชาชนอายุ ๑๕ปี ขึ้นไปในพื้นที่เป้าหมาย
โดยมุง่ เน้นพฤติกรรมการกินผักผลไม้สด
ลดอาหารไขมัน ควบคู่กับพฤติกรรมการออกกาลังกาย
Page 14
เป้าหมายการสนับสนุนของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ปี งบประมาณ ๒๕๕๖ (ต่อ)
พื้นที่เป้าหมาย : สถานศึกษา ๓๐๘ แห่ง และหมู่บ้าน ๓๐๘ แห่ง
ที่อยู่ในพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต. ๓๐๘ แห่ง
จาก ๗๗จังหวัด
(จังหวัดละ ๔ รพ.สต. /๔ โรงเรียน / ๔ หมู่บ้าน)
Page 15
การสนับสนุนของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ปี งบประมาณ ๒๕๕๖
๑.พัฒนาศักยภาพเครือข่ายฯ ทั้งระดับจังหวัด และระดับตาบล
๒.ส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินงานในพื้นที่ ได้แก่
๒.๑ การจัดงานมหกรรมวิชาการ
๒.๒ คู่มอื การดาเนินงาน และต้นแบบสื่อ
๒.๓ สนับสนุนการจัดเวที ๔ ภาค
๒.๔ ชุดความรู้เรื่อง การพัฒนาหมูบ่ า้ นปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
การสร้างเสริมพฤติกรรมตามสุขบัญญัติแห่งชาติในโรงเรียน ชุดสื่อประกอบ
การสอน
๒.๕ สัมมนาสื่อมวลชนและศิลปิ นท้องถิ่น และสนับสนุนความรู้ในการ
ดูแลสุขภาพ
๒.๖ นิเทศ ติดตาม และจัดประกวดระดับจังหวัดและระดับเขต
Page 16
การสนับสนุนของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ปี งบประมาณ ๒๕๕๖
๓.ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงานสุขศึกษาของ
สถานบริการสุขภาพ ได้แก่
*คู่มือการพัฒนาคุณภาพงาน
*อบรมยกระดับมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ
*พัฒนาทีมส่งเสริมและตรวจประเมินมาตรฐาน
งานสุขศึกษาระดับจังหวัด
๔.เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ผลงานเครือข่าย
Page 17
บทสรุป
การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน
ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค
เป็ นปัจจัยสาคัญต่อความสาเร็จ
ในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน
Page 18
สวัสดี
Page 19