การสอบสวนโรคเรื้อน - สถาบันราชประชาสมาสัย

Download Report

Transcript การสอบสวนโรคเรื้อน - สถาบันราชประชาสมาสัย

้ น
การสอบสวนโรคเรือ
ั
้ น สถาบ ันราชประชาสมาสย
กลุม
่ กาจ ัดโรคเรือ
1
การสอบสวนโรคระบาด
วัตถุประสงค์ :- เพือ่ ค้นหาแหล่งแพร่ระบาดของโรคหรือสาเหตุของการเกิดโรค
นาไปสู่การวางแผนการจัดการควบคุมโรค
ไม่ให้ลุกลามขยายวงกว้างออกไป
ดังนั้น ผูท้ ีด่ าเนินการสอบสวนโรคระบาดต้องมีความรูพ้ นฐานของ
ื้
ลักษณะการเกิดโรคและธรรมชาติของโรคทีส่ อบสวน
รวมถึงขั้นตอนในการสอบสวนโรค
2
ชนิดของการระบาดของโรค (Outbreak patterns)
แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1.
ื้ ร่วม
การระบาดของโรคจากแหล่งแพร่เชอ
(common-source epidemics)
่ ก
2. การระบาดของโรคจากคนหนึง่ ไปสูอ
ี คนหนึง่
(Propagated source/Person-to-person
transmission)
3
ชนิดของการระบาดของโรค (Outbreak patterns)
แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1.
การระบาดของโรคจากแหล่ งแพร่ เชือ้ ร่ วม (common-source epidemics)
เป็ นการระบาดของโรคอย่ างฉับพลัน โดยการได้ รับเชือ้ ของกลุ่ม คน
พร้ อมๆกันในเวลาใกล้ เคียงกัน และคนเหล่ านัน้ จะได้ รับเชือ้ โรคจาก
แหล่ งเดี ย วกั น เช่ น การใช้ แหล่ งน า้ รั บ ประทานร่ วมกั น ที่ มี การ
ปนเปื ้ อนเชื อ้ อหิวาตกโรค หรื อการไปร่ วมรั บประทานอาหารทะเล
มือ้ เดียวกันในงานเลีย้ งที่ปนเปื ้ อนเชือ้ Vibrio parahaemolyticus
Common Source
4
ชนิดของการระบาดของโรค (Outbreak patterns)
แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
2. การระบาดของโรคจากคนหนึ่ งไปสู่ อี ก คนหนึ่ ง (Person-to-person
transmission) จะโดยทางตรงหรื อทางอ้ อมก็ตาม เช่ น การระบาดของ
โรคไข้ หวัดใหญ่ สายพันธุ์ใหม่ ดังนัน้ การสอบสวนโรคจึงเน้ นไปที่การ
ค้ นหาผู้ป่วยต้ นเหตุ (Primary case) และการค้ นหาผู้ป่วยที่ได้ รับเชือ้
โดยตรงจากผู้ป่วยต้ นเหตุ
Propagated Source
5
การสอบสวนโรคเรื้อน
วัตถุประสงค์ :1.เพื่อค้ นหาผู้ป่วยโรคเรื อ้ นที่เป็ นต้ นเหตุของการแพร่เชื ้อในชุมชน (Primary case)
2.เพื่อการตรวจคัดกรองโรคเรื อ้ นในผู้สมั ผัสโรคใกล้ ชิด ได้ แก่
- ผู้สมั ผัสโรคร่วมบ้ าน (Household contact)
- ผู้ที่อาศัยอยูบ่ ้ านติดกันกับบ้ านผู้ป่วยหรื อเพื่อนบ้ าน (Neighboring contact)
- ผู้ที่มีกิจกรรมร่วมกับผู้ป่วย (Social contact) เช่น เพื่อนร่วมงาน ฯลฯ
ผูป้ ่ วยโรคเรือ้ นได้รบั การรักษาตามมาตรฐาน
ตัดวงจรการแพร่เชื้อโรคเรือ้ นในชุมชน
ลดการเกิดความพิการในผูป้ ่ วยโรคเรือ้ นรายใหม่
6
นิยามในการเฝ้ าระวังโรคเรื้ อน
(Case Definition for Surveillance)
อาการและอาการสงสัยว่ าเป็ นโรคเรื อ้ น
1. โรคผิวหนังเรื อ้ รังที่เป็ นมานานแล้ ว 3 เดือน ไม่คนั รักษาด้ วยยากินหรื อยาทาไม่ดีข ้น
2. วงแบนราบสี จ างหรื อ สี เ ข้ ม กว่า ผิ ว หนัง ปกติ วงขอบนูน แดง มี อ าการชา ผิ ว แห้ ง
เหงื่อไม่ออก ขนร่วง ไม่คนั
3. ผื่นหรื อตุม่ นูนแดง ผิวอิ่มฉ่าเป็ นมันเลื่อม ไม่คนั หูหนา
4. ตุม่ แดง กดเจ็บ ตามใบหน้ า แขน ขา ลาตัว
5. มีอาการบวมที่หน้ า มือ เท้ า
6. ฝ่ ามือ ฝ่ าเท้ าชา
7. เจ็บ หรื อกดเจ็บบริเวณเส้ นประสาทที่ข้อศอก ข้ อพับขา
8. กล้ ามเนื ้อตา มือ เท้ า อ่อนแรง ลีบ นิ ้วงอ กุด ข้ อมือ/ข้ อเท้ าตก หลับตาไม่สนิท
7
9. แผลเรื อ้ รังที่ฝ่าเท้ า
นิยามในการเฝ้ าระวังโรคเรื้ อน
(Case Definition for Surveillance)
อาการแสดงสาคัญ (cardinal signs) คือ
1. ตรวจพบรอยโรคผิวหนังที่มีลกั ษณะเฉพาะของโรคเรื อ้ น
2. ตรวจพบอาการชาข้ อใดข้ อหนง่ ดังต่อไปนี ้
2.1 ชาที่รอยโรคผิวหนัง
2.2 ชาที่ ผิ ว หนัง บริ เ วณที่ รั บ ความรู้ ส กจากเส้ น ประสาทส่ว นปลายที่ ถูก ท าลายโดย
เชื ้อโรคเรื อ้ น ได้ แก่ ที่ ตา มือ เท้ า
3. ตรวจพบเส้ นประสาทโต
4. ตรวจพบเชือ้ รู ปแท่งติดสีทนกรด (Acid
fast
bacilli)
จากการกรี ดผิวหนัง
(Slit skin smear)
้ น เมือ
วินจ
ิ ฉ ัยโรคเรือ
่ พบอาการแสดงอย่างน้อย 2 ข้อ จาก 3 ข้อแรก
หรือพบข้อ 4 เพียงข้อเดียว
8
้ น
ประเภทผูป
้ ่ วยโรคเรือ
(Case Classification)
ั (Suspected
ผูป
้ ่ วยทีส
่ งสย
case)
หมายถึง
ผูท
้ ม
ี่ อ
ี าการใกล้เคียงก ับเกณฑ์ทางคลินก
ิ
ผูป
้ ่ วยทีย
่ น
ื ย ันผล (Confirmed case) หมายถึง
ผูท
้ ม
ี่ อ
ี าการตาม Cardinal signs ทางคลินก
ิ
ข้ อ 1 - 3 ห รื อ มี ผ ล ก า ร ต ร ว จ ท า ง
ห้องปฏิบ ัติการ (Cardinal signs ข้อ 4)
9
การสอบสวนโรค
(Epidemiology Investigation)
1. การสอบสวนโรคเฉพาะราย (Case Investigation) ต้ องมี
การสอบสวนโรคเมื่ อ พบผู้ ป่ วยเพี ย ง 1 ราย เนื่ อ งจากโรคเรื อ้ น
พบน้ อย และเพื่อการรั กษาทันที ซึ่งจะทาให้ เชือ้ ลดลงอย่ างรวดเร็ว
ถ้ า ปล่ อ ยไว้ เ ชื อ้ จะเพิ่ ม ขึ น้ กลายเป็ นระยะรุ น แรงที่ มี เ ชื ้อ มากจึ ง
สามารถแพร่ เชือ้ ไปได้ ต้ องมีการค้ นหาผู้สัมผัสในบ้ านและผู้สัมผัส
ใกล้ ชิดในชุมชนปี ละ 1 ครั ง้ ติดต่ อกันอย่ างน้ อย 10 ปี เพื่อค้ นหา
ผู้ป่วยได้ อย่ างรวดเร็วและครอบคลุม
2. การสอบสวนการระบาด (Outbreak
Investigation)
จะดาเนินการในกรณีเกิดโรคเป็ นกลุ่ม(Cluster) ซึ่งมีโอกาสพบ
น้ อยในโรคเรื อ้ น
10
การสอบสวนโรคเรื้อน
Close contact
ั ัสใกล้ชด
ิ ผูป
ผูส
้ มผ
้ ่ วย
ื้ มาก
้ นชนิดเชอ
โรคเรือ
1.Household contact
2.Neighboring contact
3.Social contact
ื้ โรคเรือ
้ น
ติดเชอ
ปรากฏอาการ
้ น (Onset)
ของโรคเรือ
ได้ร ับการตรวจวินจ
ิ ฉ ัยและ
ร ักษาทีถ
่ ก
ู ต้องตามมาตรฐาน
ระยะฟักต ัว
PB = 3-5 ปี
(Incubation period)
MB = 8-12 ปี
Since of onset
ไม่ควรเกิน
1 ปี
11
การสอบสวนโรคเรื้อน
ั ัสใกล้ชด
ิ ผูป
้ น
ผูส
้ มผ
้ ่ วยโรคเรือ
ั านเดียวก ับผูป
้ น
1. ผูท
้ อ
ี่ ยูอ
่ าศยบ้
้ ่ วยโรคเรือ
(Household
contact) คือ
ั หรือ เคยอาศ ย
ั อยู่ ร ่ ว มชายคาเดีย วก น
ผู ้ท ี่อ าศ ย
ั กบ
ั ผู ้ป่ วยโรคเรื้อ นเป็ น
้ ไป ก่อนผูป
ระยะเวลาตงแต่
ั้
6 เดือนขึน
้ ่ วยจะได้ร ับการร ักษาด้วยสูตรยาผสม
ั้ (MDT) โดยผูท
ั
ั ัส
ระยะสน
้ ม
ี่ าอยูอ
่ าศยหล
ังจากผูป
้ ่ วยกินยาแล้วไม่น ับเป็นผูส
้ มผ
โรคร่วมบ้าน
ั อ ยู่ บ ้ า น ติ ด ก น
2 . ผู ้ ท ี่ อ า ศ ย
ั กบ
ั ผู ้ ป่ ว ย โ ร ค เ รื้ อ น ใ น ร ศ
ั มี 2 0 เ ม ต ร
(Neighboring contact)
้ นนานอย่า งน้อ ย 3 ชม./ว น
3. ผูท
้ ท
ี่ ากิจ กรรมร่ว มก น
ั กบ
ั ผูป
้ ่ วยโรคเรือ
ั
ไ ม่ ต้ อ ง ติ ด ต่ อ ก ั น เ ป็ น เ ว ล า อ ย่ า ง น้ อ ย 3 ว ั น / ส ั ป ด า ห์
โดยต่อเนือ
่ งมากกว่า 1 เดือน (Social contact)
12
้ น
การสอบสวนโรคเรือ
Primary case
(New / Old case)
Household contact
Neighboring contact
้ น
สอบสวนโรคเรือ
Social contact
ื้
แพร่เชอ
Index case
้ น
สอบสวนโรคเรือ
ื้
แพร่เชอ
ื้
แพร่เชอ
New case
Household contact
Neighboring contact
Social contact
ตรวจวินจ
ิ ฉ ัยยืนย ันโรค
ี่ วชาญโรคเรือ
้ น
โดยผูเ้ ชย
13
้ น
แบบสอบสวนโรคเรือ
ประกอบด้ วย 5 ส่ วน คือ
ส่ วนที่
ส่ วนที่
ส่ วนที่
ส่ วนที่
ส่ วนที่
1
2
3
4
5
ข้ อมูลทั่วไป
ประวัตกิ ารรักษา
ประวัตผิ ้ ูป่วย
ผู้ป่วยรายอื่นๆ ในชุมชน
การตรวจคัดกรองโรคเรือ้ น
บัตรบันทึกผู้ป่วยโรคเรื อ้ น รบ. 1 ต. 10 (นฮ.3)
14
้ น
แบบสอบสวนโรคเรือ
1.ข้ อมูลทั่วไป
ชื่อ - สกุล ...............................................................................................................................................................
เลขที่บัตรประชาชน
อายุ............ปี เพศ
ชาย
หญิง
อาชีพ........................................ศาสนา............................................................
ชื่อ - สกุล ผู้ปกครอง (กรณีผ้ ูป่วยอายุต่ากว่ า 15 ปี ).............................................................................................
ที่อยู่ขณะป่ วย บ้ านเลขที่........หมู่ท่ ี....ชื่อหมู่บ้าน/ชุมชน......ซอย.......ถนน......ตาบล........อาเภอ......จังหวัด........
ในเขตเทศบาลนคร
ในเขตเทศบาลเมือง
ในเขตเทศบาลตาบล
ในเขต อบต.
สถานที่ทางานผู้ป่วย ในปั จจุบัน ชื่อสถานประกอบการ................................... บ้ านเลขที่................หมู่ท่ ี.............
ชื่อหมู่บ้าน/ชุมชน......ซอย.......ถนน..........ตาบล.............อาเภอ................จังหวัด.........................
ในเขตเทศบาลนคร
ในเขตเทศบาลเมือง
ในเขตเทศบาลตาบล
ในเขต อบต.
2.ประวัตกิ ารรักษา
วันที่มารั บการรักษา.....................................................................สถานที่รักษา.......................................................
อาการเริ่มแรกมีลักษณะ..............................ที่บริเวณ.....................เริ่มมีอาการมานาน..........................เดือน/ปี
15
้ น
แบบสอบสวนโรคเรือ
3. ประวัตผิ ้ ูป่วย
ปี
ปี
ปี
ปี
ปี
ปี
3.1 ที่อยู่ภมู ิลาเนาเดิม ผู้ป่วยบ้ านเลขที่...............หมู่ท่ .ี ......ชื่อหมู่บ้าน/ชุมชน.............ซอย............ถนน......
ตาบล........อาเภอ......จังหวัด...........................
ในเขตเทศบาลนคร
ในเขตเทศบาลเมือง
ในเขตเทศบาลตาบล
ในเขต อบต.
3.2 ในช่ วง 10 ปี ที่ผ่านมาผู้ป่วยมีการย้ ายที่อยู่หรือไม่
ไม่ มี
มี ให้ ระบุรายละเอียดตามลาดับ ดังนี ้
พ.ศ......- พศ.....บ้ านเลขที่........หมู่ท่ ี....ชื่อหมู่บ้าน/ชุมชน......ซอย.........ถนน......ตาบล........อาเภอ.....จังหวัด...
พ.ศ......- พศ.....บ้ านเลขที่........หมู่ท่ ี....ชื่อหมู่บ้าน/ชุมชน......ซอย.........ถนน......ตาบล........อาเภอ.....จังหวัด...
พ.ศ......- พศ.....บ้ านเลขที่........หมู่ท่ ี....ชื่อหมู่บ้าน/ชุมชน......ซอย.........ถนน......ตาบล........อาเภอ.....จังหวัด...
3.3 ในช่ วง 10 ปี ที่ผ่านมาผู้ป่วยมีการเดินทางไปประกอบอาชีพที่อ่ นื หรือไม่
ไม่ มี
มี ให้ ระบุรายละเอียดตามลาดับ ดังนี ้
พ.ศ......- พศ.....สถานที่ทางาน......................ถนน..................ตาบล..............อาเภอ...........จังหวัด.....................
พ.ศ......- พศ.....สถานที่ทางาน......................ถนน..................ตาบล..............อาเภอ...........จังหวัด....................
พ.ศ......- พศ..... สถานที่ทางาน......................ถนน..................ตาบล..............อาเภอ...........จังหวัด....................
16
้ น
แบบสอบสวนโรคเรือ
Household contact
Neighboring contact
Social contact
ส่ วนที่ 4 ผู้ป่วยโรคเรื้อน ส่ วนที่ 5 คัดกรองโรคเรื้อน
ผู ้ป่ วยโรคเรือ
้ นรายใหม่
(Old case)
(New case)
ื้
แพร่เชอ
Index Case
้ื
แพร่เชอ
ื้
แพร่เชอ
้ื
แพร่เชอ
ผู ้ป่ วยโรคเรือ
้ นทีไ่ ด ้รับ
การวินจ
ิ ฉั ยแล ้วรายอืน
่ ๆ
17
้ น
แบบสอบสวนโรคเรือ
4. สอบถามหาผู้ป่วยโรคเรือ้ นที่ได้ รับการวินิจฉัยแล้ วรายอื่นๆในชุมชน (ซึ่งอาจเป็ นผู้แพร่ เชือ้ ให้
หรือรับเชือ้ จากผู้ป่วยรายปั จจุบนั (Index case))
4.1 มีหรื อเคยมีผ้ ูท่ อี าศัยอยู่บ้านเดียวกันกับผู้ป่วย มีประวัตปิ ่ วยเป็ นโรคเรื อ้ นหรื อไม่
ไม่ มี
มี ระบุ รายละเอียดตามตารางด้ านล่ าง
ชื่อ-นามสกุล
(ใส่ คานาหน้ า)
อายุ
ความ
สัมพันธ์ กับ
ผู้ป่วย
ได้ รับการ
วินิจฉัย
ว่ าเป็ น
โรคเรือ้ น
เมื่อปี พ.ศ.
อาการ
โรคเรือ้ นเป็ น
ครัง้ แรก
เมื่อปี พ.ศ.
ประวัตกิ ารรั กษา
ยา
Mono therapy
MDT
PB
ผลการรั กษา
ไม่ รักษา
กาลังรักษา
รักษาครบ
ขาดยา
MB
Mono therapy
MDT
PB
MB
ไม่ รักษา
กาลังรักษา
รักษาครบ
ขาดยา
18
้ น
แบบสอบสวนโรคเรือ
4. สอบถามหาผู้ป่วยโรคเรือ้ นที่ได้ รับการวินิจฉัยแล้ วรายอื่นๆในชุมชน (ซึ่งอาจเป็ นผู้แพร่ เชือ้ ให้ หรือ
รั บเชือ้ จากผู้ป่วยรายปั จจุบัน (Index case))
4.2 มีหรื อเคยมีผ้ ูท่ อี าศัยอยู่รอบๆ บ้ านผู้ป่วยในรั ศมี 20 เมตร มีประวัตปิ ่ วยเป็ นโรคเรื อ้ นหรื อไม่
ไม่ มี
มี ระบุ รายละเอียดตามตารางด้ านล่ าง
ชื่อ-นามสกุล
(ใส่ คานาหน้ า)
อายุ
ได้ รับการวินิจฉัย
ว่ าเป็ น
โรคเรือ้ น
เมื่อ ปี พ.ศ.
อาการโรคเรือ้ น
เป็ นครัง้ แรก
เมื่อปี พ.ศ.
ประวัตกิ ารรั กษา
ยา
Mono therapy
MDT
PB
ผลการรั กษา
ไม่ รักษา
กาลังรักษา
รักษาครบ
ขาดยา
MB
Mono therapy
MDT
PB
MB
ไม่ รักษา
กาลังรักษา
รักษาครบ
ขาดยา
19
้ น
แบบสอบสวนโรคเรือ
4. สอบถามหาผู้ป่วยโรคเรือ้ นที่ได้ รับการวินิจฉัยแล้ วรายอื่นๆในชุมชน (ซึ่งอาจเป็ นผู้แพร่ เชือ้ ให้ หรือ
รั บเชือ้ จากผู้ป่วยรายปั จจุบัน (Index case))
4.3 มีหรื อเคยมี ผ้ ูท่ ีทากิจกรรมร่ วมกับผู้ ป่วยนานอย่ างน้ อย 3 ชม.ต่ อวั น ไม่ ต้องติดต่ อกัน เป็ นเวลาอย่ างน้ อย 3 วั น
ต่ อสัปดาห์ โดยต่ อเนื่องมากกว่ า 1 เดือน เช่ น เพื่อนร่ วมงาน ฯลฯ มีประวัตปิ ่ วยเป็ นโรคเรื อ้ นหรื อไม่
ไม่ มี
ชื่อ-นามสกุล
(ใส่ คานาหน้ า)
อายุ
มี ระบุ รายละเอียดตามตารางด้ านล่ าง
ได้ รับการ
วินิจฉัย
ว่ าเป็ น
โรคเรือ้ น
เมื่อปี พ.ศ.
ประวัตกิ ารรั กษา
อาการโรคเรือ้ น
เป็ นครัง้ แรก
เมื่อปี พ.ศ.
ยา
Mono therapy
MDT
PB
ผลการรั กษา
ไม่ รักษา
กาลังรักษา
รักษาครบ
ขาดยา
MB
Mono therapy
MDT
PB
MB
ไม่ รักษา
กาลังรักษา
รักษาครบ
ขาดยา
20
้ น
แบบสอบสวนโรคเรือ
5. สอบถามเพื่อค้ นหาผู้ป่วยรายใหม่ (ซึ่งอาจเป็ นผู้แพร่ เชือ้ ให้ หรือรั บเชือ้ จากผู้ป่วยโรคเรือ้ นรายปั จจุบัน
(Index case))
5.1 มีหรื อเคยมีผ้ ูท่ อี าศัยอยู่บ้านเดียวกันกับผู้ป่วย (Household Contact) หรื อไม่
ไม่ มี
มี ระบุรายละเอียดตามตารางด้ านล่ าง
ชื่อ-นามสกุล
(ใส่ คานาหน้ า)
อายุ
ที่อยู่
ปั จจุบัน
ความสัมพันธ์
กับผู้ป่วย
ระยะเวลาที่
สัมผัสโรค
(.........ปี
.........เดือน)
ระยะเวลาที่สัมผัสโรค คือ ช่ วงเวลาที่สัมผัสใกล้ ชิ ดกับผู้ป่วย
โรคเรื้อนตั้งแต่ แสดงอาการของโรคก่อนการรักษา
ผลการตรวจ
คัดกรองโรคเรือ้ น
อาการที่สงสัยโรคเรือ้ น
เริ่มเป็ นครัง้ แรกเมือ
เดือน...............
พ.ศ................
วินิจฉัย
โรคเรือ้ น
สงสัย
ไม่ สงสัย
เป็ น
ไม่ เป็ น
สงสัย
ไม่ สงสัย
เป็ น
ไม่ เป็ น
สงสัย
ไม่ สงสัย
เป็ น
ไม่ เป็ น
สงสัย
ไม่ สงสัย
เป็ น
ไม่ เป็ น
21
้ น
แบบสอบสวนโรคเรือ
5. สอบถามเพื่อค้ นหาผู้ป่วยรายใหม่ (ซึ่งอาจเป็ นผู้แพร่ เชือ้ ให้ หรือรับเชือ้ จากผู้ป่วยโรคเรือ้ นรายปั จจุบัน
(Index case))
5.2 มีหรื อเคยมีผ้ ูท่ อี าศัยอยู่รอบๆบ้ านผู้ป่วยในรัศมี 20 เมตร (Neighboring Contact) หรื อไม่
ไม่ มี
มี ระบุรายละเอียดตามตารางด้ านล่ าง
ชื่อ-นามสกุล
(ใส่ คานาหน้ า)
อายุ
ที่อยู่
ปั จจุบัน
ระยะเวลาที่
สัมผัสโรค
(.........ปี
.........เดือน)
ผลการตรวจ
คัดกรองโรคเรือ้ น
อาการที่สงสัยโรคเรื อ้ น
เริ่มเป็ นครัง้ แรกเมือ
เดือน...............
พ.ศ................
วินิจฉัย
โรคเรือ้ น
สงสัย
ไม่ สงสัย
เป็ น
ไม่ เป็ น
สงสัย
ไม่ สงสัย
เป็ น
ไม่ เป็ น
สงสัย
ไม่ สงสัย
เป็ น
ไม่ เป็ น
สงสัย
ไม่ สงสัย
เป็ น
ไม่ เป็ น
22
้ น
แบบสอบสวนโรคเรือ
5. สอบถามเพื่อค้ นหาผู้ป่วยรายใหม่ (ซึ่งอาจเป็ นผู้แพร่ เชือ้ ให้ หรือรับเชือ้ จากผู้ป่วยโรคเรือ้ นรายปั จจุบัน
(Index case))
5.3 มีหรื อเคยมีผ้ ูท่ ที ากิจกรรมร่ วมกันกับผู้ป่วยนานอย่ างน้ อย 3 ชม.ต่ อวัน ไม่ ต้องติดต่ อกัน เป็ นเวลา
อย่ างน้ อย 3 วันต่ อสัปดาห์ โดยต่ อเนื่องมากกว่ า 1 เดือน (Social Contact) หรื อไม่
ไม่ มี
มี ระบุรายละเอียดตามตารางด้ านล่ าง
ชื่อ-นามสกุล
(ใส่ คานาหน้ า)
อายุ
ที่อยู่
ปั จจุบัน
ระยะเวลาที่
สัมผัสโรค
(.........ปี
.........เดือน)
หมายเหตุ:- กรณีที่พบผู้มีอาการสงสัยโรคเรื้อน
ให้ ยนื ยันการวินิจฉัยโรคโดยผู้เชี่ยวชาญโรคเรื้อน
ผลการตรวจ
คัดกรองโรคเรือ้ น
อาการที่สงสัยโรคเรื อ้ น
เริ่มเป็ นครัง้ แรกเมือ
เดือน...............
พ.ศ................
วินิจฉัย
โรคเรือ้ น
สงสัย
ไม่ สงสัย
เป็ น
ไม่ เป็ น
สงสัย
ไม่ สงสัย
เป็ น
ไม่ เป็ น
สงสัย
ไม่ สงสัย
เป็ น
ไม่ เป็ น
สงสัย
ไม่ สงสัย
เป็ น
ไม่ เป็ น
23
Timelines
ื้
A น่าจะติดเชอ
่ ง ปี 50-52
ในชว
A (PB)
Dx/Rx
12 มค.56
A เริม
่ มีอาการ
ครงแรก
ั้
2555
A มี SOS 1 ปี
39
40
41
49
50
51
52
53
54 55
56
สอบสวนโรค
15 ก.พ.56
ื้
B น่าจะติดเชอ
่ ง ปี 39-43
ในชว
B เริม
่ มีอาการ
ครงแรก
ั้
2551
New case
B (MB)
B มี SOS 5 ปี
C มี SOS 2 ปี
ื้
C น่าจะติดเชอ
่ ง ปี 49-51
ในชว
C เริม
่ มีอาการ
ครงแรก
ั้
2554
C (PB)
24
รายงาน
การสอบสวนโรคเรือ
้ น
เพือ่ นาเสนอเรื่องราวของเหตุการณ์ ทเี่ กิดขึน้
และการดาเนินงานเกีย่ วกับโรคเรื้อน
- รายงานผลการสอบสวนโรคเรื้อน
- รายงานผลการดาเนินงานป้ องกันควบคุมโรคเรื้อน
- ข้ อเสนอแนะแนวทางการป้ องกันควบคุมโรคเรื้อนในพืน้ ที่
เสนอให้ ผู้บริหารสาธารณสุ ขระดับต่ างๆ
รวมถึงผู้รับผิดชอบงานทีเ่ กีย่ วข้ อง
25
ประเด็นสาค ัญทีค
่ วรมีในการเขียนรายงาน
้ น
การสอบสวนโรคเรือ
ผู้ป่วย (Index Case) คาดว่ าติดเชือ้ มาจากใครในชุมชน (Primary case)
หรือคาดว่ าน่ าจะติดเชือ้ มาจากพืน้ ที่ใด
ค้ นหาผู้ป่วยโรคเรือ้ นรายใหม่ ในชุมชน
แผนการตรวจคัดกรองโรคเรือ้ น
- ผู้สัมผัสโรคร่ วมบ้ าน ปี ละ 1 ครั ง้ ระยะเวลา 10 ปี
- ผู้ท่ อี าศัยอยู่บ้านติดกันในรัศมี 20 เมตรและผู้ท่ มี ีกิจกรรมร่ วมกันกับผู้ป่วย พิจารณาตามความเหมาะสม
ขนาดปั ญหาของโรคเรือ้ นในพืน้ ที่
เพื่อการวางแผนงานป้องกันควบคุมโรคเรือ้ นในพืน้ ที่
ข้ อคิดเห็นและข้ อเสนอแนะ
ในการดาเนินงานป้องกันควบคุมโรคในพืน้ ที่
26
ขอบคุณ
27