โดย นางเพ็นนี บุญอาษา นางนันทชัย ลีลาชัย นางนิภาพร อาจหาญ การศึกษาระบบโรงเรี ยนสมัยใหม่ในประเทศญี่ปุ่นเริ่ มขึ้น ในปี พ.ศ. 2415 กฎหมายที่เป็ นพื้นฐานสาคัญของการศึกษาและ กฎหมายที่วา่ ด้วยระบบโรงเรี ยนเริ่ มมีผลบังคับใช้ในปี พ.ศ.2490 และระบบการศึกษาในโรงเรี ยนถูกจัดขึ้นด้วยระบบ 6-3-3-4 โดยมุ่งเน้นที่จะจัดการศึกษาในลักษณะสร้างความเสมอภาคของ โอกาสทางการศึกษา.

Download Report

Transcript โดย นางเพ็นนี บุญอาษา นางนันทชัย ลีลาชัย นางนิภาพร อาจหาญ การศึกษาระบบโรงเรี ยนสมัยใหม่ในประเทศญี่ปุ่นเริ่ มขึ้น ในปี พ.ศ. 2415 กฎหมายที่เป็ นพื้นฐานสาคัญของการศึกษาและ กฎหมายที่วา่ ด้วยระบบโรงเรี ยนเริ่ มมีผลบังคับใช้ในปี พ.ศ.2490 และระบบการศึกษาในโรงเรี ยนถูกจัดขึ้นด้วยระบบ 6-3-3-4 โดยมุ่งเน้นที่จะจัดการศึกษาในลักษณะสร้างความเสมอภาคของ โอกาสทางการศึกษา.

โดย
นางเพ็นนี บุญอาษา
นางนันทชัย ลีลาชัย
นางนิภาพร อาจหาญ
1
การศึกษาระบบโรงเรี ยนสมัยใหม่ในประเทศญี่ปุ่นเริ่ มขึ้น
ในปี พ.ศ. 2415 กฎหมายที่เป็ นพื้นฐานสาคัญของการศึกษาและ
กฎหมายที่วา่ ด้วยระบบโรงเรี ยนเริ่ มมีผลบังคับใช้ในปี พ.ศ.2490
และระบบการศึกษาในโรงเรี ยนถูกจัดขึ้นด้วยระบบ 6-3-3-4
โดยมุ่งเน้นที่จะจัดการศึกษาในลักษณะสร้างความเสมอภาคของ
โอกาสทางการศึกษา
2
พ.ศ. 2491 เริ่ มมีโรงเรี ยนมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยมีท้ งั แบบ
ศึกษาในเวลาและนอกเวลา
พ.ศ. 2492 มหาวิทยาลัยระบบใหม่ได้เริ่ มขึ้น
พ.ศ. 2493 เริ่ มมีวิทยาลัยที่เปิ ดสอนระดับอนุปริ ญญา และมี
การดาเนินปรับปรุ งจนเป็ นระบบถาวรในปี
พ.ศ. 2507
พ.ศ. 2504 ได้มีระบบการเรี ยนทางไปรษณี ย ์
3
พ.ศ. 2505 เริ่ มมีวิทยาลัยเทคนิค โดยรับนักเรี ยนทีส่ าเร็ จ
การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นมาศึกษาต่อ
5 ปี
พ.ศ. 2534 มีการปรับปรุ งกฎหมายการศึกษานักเรี ยนและนิสิต
นักศึกษา ที่มีความพิการไม่วา่ จะ หูหนวก ตาบอด
หรื อพิการด้านอื่น ๆ จะมีโรงเรี ยนสอนคนหูหนวก
คนตาบอด และโรงเรี ยนสาหรับเด็กพิการด้านอื่น ๆ
4
การศึกษาระดับอนุบาล และระดับเด็กเล็กก่อนวัยเรียนจะมี
วิทยาลัยทีท่ าหน้าทีฝ่ ึกอบรมเป็ นพิเศษเฉพาะทาง
5
ประเทศญี่ปุ่นแล้ว มีนโยบายและโครงการพิเศษที่กระทรวง
การศึกษาวัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี(MEXT)
ของประเทศญี่ปุ่น ดาเนินการที่สาคัญ ๆ ดังนี้
1.1 การเร่ งรัดปลูกฝังลักษณะนิสยั การเรี ยนรู ้ตลอดชีวิตให้กบั
ผูเ้ รี ยนทุกระดับตลอดจนประชาชน ทัว่ ไปอย่างกว้างขวาง
(Lifelong Learning)
1.2 ส่ งเสริ มและพัฒนาศักยภาพความพร้อมของโรงเรี ยน ครู
และนักเรี ยนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.3 แนวทางการยกระดับสิ่ งอานวยความสะดวกภายในโรงเรี ยน
6
1.4 เน้นการจัดสภาพแวดล้อมภายในโรงเรี ยนให้สอดคล้อง
กลมกลืนกับธรรมชาติให้มาก
1.5 การพัฒนาสิ่ งอานวยความสะดวกในการฝึ กซ้อมป้ องกัน
แผ่นดินไหว
1.6 ระบบการยกระดับมาตรฐานความสามารถทางวิชาการของ
นักเรี ยนตั้งแต่ระดับอนุบาลจนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยมุ่ง
พิจารณาทบทวนตั้งแต่วตั ถุประสงค์ เป้ าหมาย หลักสูตร จานวน
สัปดาห์ของการเรี ยน และรายวิชาที่มีความแตกต่างกันในแต่ละ
ระดับชั้น
7
สังคมญี่ปุ่นให้ความสาคัญกับการศึกษาเป็ นอย่างมาก เด็ก ๆ จะ
ได้รับการศึกษาใน 3 ทาง ได้แก่
1) โรงเรี ยนรัฐบาลสาหรับการศึกษาภาคบังคับ
2) โรงเรี ยนเอกชนสาหรับการศึกษาภาคบังคับ
3) โรงเรี ยนเอกชนที่ไม่ได้ยดึ มาตรฐานของกระทรวงการศึกษา
วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (MEXT)
8
วัฒนธรรมญีป่ นุ่ สอนให้เคารพต่อสังคมและมีการสร้างแรงจูงใจ
ให้อยูร่ วมเป็ นกลุ่มโดยให้รางวัลเป็ นกลุ่มมากกว่าจะให้รางวัล
เป็ นบุคคล การศึกษาของญีป่ นุ่ เน้นหนักในเรือ่ งความขยัน
การตาหนิตนเอง และอุปนิสยั การเรียนรูท้ ด่ี ี ชาวญี่ปนุ่ ถูก
ปลูกฝงั ว่าการทางานหนักและความขยันหมันเพี
่ ยรจะทาให้
ประสบความสาเร็จในชีวติ
9
คะแนนการศึกษานานาชาติ (พ.ศ. 2546)
(คะแนนเฉลีย่ เด็กอายุ 13 ปี , TIMSS การศึกษาคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ นานาชาติ ครั้งที่ 3, พ.ศ.
2546)
ประเทศ:(ตัวอย่าง)
คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
อันดับโลก
คะแนน
อันดับ
คะแนน
อันดับ
สิ งคโปร์
1
605
1
578
1
ไต้ หวัน
2
585
4
571
2
เกาหลีใต้
3
589
2
558
3
ฮ่ องกง
4
586
3
556
4
ญี่ปุ่น
5
570
5
552
5
เนเธอร์ แลนด์
7
536
7
536
9
อังกฤษ
10
498
18
544
7
สหรัฐอเมริกา
12
504
15
527
11
มาเลเซีย
18
508
10
510
21
อิตาลี
23
484
22
491
22
ที่มา : TIMSS Math 2003 และ TIMSS Science 2003
10
2.2.1 ชั้นประถมศึกษา มีระยะเวลาในการเรี ยน 6 ปี
นักเรี ยนจะมีอายุระหว่าง 6–12 ปี
2.2.2 ชั้นมัธยมต้น มีระยะเวลาในการเรี ยน 3 ปี
นักเรี ยนจะมีอายุระหว่าง 12–15 ปี
2.2.3 ชั้นมัธยมปลายมีระยะเวลาในการเรี ยน 3 ปี
นักเรี ยนจะมีอายุระหว่าง 15–18 ปี
11
ปี การศึกษาในประเทศญี่ปุ่นจะเริ่ มตั้งแต่วนั ที่ 1 เมษายน และ
สิ้ นสุ ดวันที่ 31 มีนาคม ของปี ถัดไป การเรี ยนจะแบ่งเป็ น 3 เทอม
กฎหมายกาหนดให้หนึ่งปี การศึกษามีการเรี ยนอย่างน้อย 210 วัน
แต่โรงเรี ยนส่ วนมากมักจะเพิม่ อีก 30 วันสาหรับเทศกาลของ
โรงเรี ยน จานวนวันที่มีการเรี ยนการสอนจึงเหลืออยูป่ ระมาณ
195 วัน ชาวญี่ปุ่นมีความเชื่อในเรื่ องของการศึกษาว่า เด็ก ๆ
ทุกคนมีความสามารถในการเรี ยนรู ้ ความพยายาม ความ
พากเพียร และการมีระเบียบวินยั ต่อตนเองต่างหาก ที่เป็ น
ตัวกาหนดความสาเร็ จทางการศึกษา ไม่ใช่ความสามารถทาง
การเรี ยน
12
นักเรี ยนในชั้นประถมและชั้นมัธยมต้นไม่ได้ถูก
แบ่งกลุ่มหรื อสอนตามความสามารถของแต่ละคน การสอน
จะไม่คานึงถึงความแตกต่างของบุคคล หลักสูตรการศึกษา
แห่งชาติกาหนดให้นกั เรี ยนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่
พอเหมาะ และการเรี ยนภาคบังคับถือเป็ นการปฏิบตั ิต่อนักเรี ยน
ด้วยความเสมอภาค มีการกระจายงบประมาณไปตามโรงเรี ยน
ต่าง ๆ อย่างเท่าเทียมกัน นักเรี ยนที่เรี ยนในการศึกษาภาคบังคับ
จะได้รับตาราเรี ยนฟรี คณะบริ หารของโรงเรี ยนเป็ นผูเ้ ลือกตารา
เรี ยนทุก ๆ สามปี โดยเลือกจากรายชื่อหนังสื อที่กระทรวง
การศึกษาฯได้รับรอง
13
รัฐบาลญี่ปุ่นได้จดั ทาโครงสร้างระบบการศึกษาใหม่
โดยได้จดั ตั้งกระทรวงศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแทน
กระทรวงศึกษาธิการ และทบวงวัฒนธรรมที่มีอยูแ่ ต่เดิม ทั้งนี้
เพราะได้เล็งเห็นความสาคัญของการเรี ยนแบบองค์รวมไม่แยก
ส่ วน ญี่ปุ่นไม่ใช้วิชาเป็ นตัวตั้ง จะเน้นการบูรณาการในเรื่ องของ
การดาเนินชีวิต และใช้เทคโนโลยีการคิดค้นในเรื่ องต่าง ๆ นัน่ ก็
คือ ใช้วิทยาศาสตร์มาเป็ นเครื่ องมือเพื่อการเรี ยนรู ้
14
ญี่ปุ่นยังคงรักษาเอกลักษณ์ศกั ดิ์ศรี ของตนไว้ แม้จะ
ได้รับอิทธิพลจากประเทศตะวันตก ชาวญี่ปุ่นก็ไม่เคยละเลย
รากเหง้าเดิมของตน ในทางตรงกันข้ามได้กาหนดยุทธศาสตร์
ใหม่ ๆ มาเพื่อสอนให้เยาวชนรุ่ นใหม่ได้ร่วมรับรู ้ความเป็ นมา
ของประเทศ รักและหวงแหนศิลปะวัฒนธรรมของชาติ โดยการ
สร้างความรู ้ใหม่ที่ปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับการ
เปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง และเทคโนโลยีของโลก
เป็ นการผสมกลมกลืนวิถีเก่ากับวัฒนธรรมใหม่ได้อย่างแท้จริ ง
15
การศึกษาของญี่ปุ่นถือเป็ นความรับผิดชอบระดับชาติ
ระดับจังหวัด และระดับเมือง กระทรวงการศึกษาฯ (MEXT) จะมี
คณะวิจยั กระบวนการศึกษาคอยให้คาแนะนาและให้แนวทางแก่
รัฐบาล
พ.ศ. 2523 ญี่ปุ่นปฏิรูปการศึกษาโดยมีเป้ าหมายเพื่อเน้น
ในเรื่ องความยืดหยุน่ ความคิดสร้างสรรค์ และการเพิ่มโอกาสให้
นักเรี ยนได้แสดงออกในสิ่ งที่ตนเองชอบ แต่ไม่ค่อยประสบ
ความสาเร็ จเท่าที่ควร
16
ต่อมา ในศตวรรษที่ 21 กระทรวงศึกษา วิทยาศาสตร์ และ
วัฒนธรรมได้จดั ให้มีการปฏิรูปการศึกษาเพื่อปรับปรุ งการเรี ยนการ
สอน การทางานของสถานศึกษา การมีส่วนร่ วมของทุกภาคทั้ง
ภาคเอกชน ภาคอุตสาหกรรม และภาคประชาชนโดยรวม ทั้งนี้
หมายถึงครู ผูป้ กครอง นักเรี ยน และชุมชนในแต่ละภูมิภาคให้เข้ามา
มีบทบาทช่วยให้การปฏิรูปการศึกษาประสบผลสาเร็ จ ยุทธศาสตร์
การปฏิรูปในศตวรรษที่ 21 นั้นมีอยู่ 7 ประการคือ
1. ปรับปรุ งสมรรถนะการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน
17
2. กระตุน้ ให้เยาวชนเข้ามามีส่วนในการช่วยเหลือและบริ การชุมชน
3. ปรับปรุ งสภาพแวดล้อมที่เอื้อแก่การเรี ยนรู ้ให้ผเู ้ รี ยน
4. ดาเนินการให้โรงเรี ยนเป็ นสถานที่ที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้
18
5. มีการฝึ กอบรมครู ให้เป็ น "ครู มืออาชีพ"
6. สนับสนุนการจัดตั้งมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพมาตรฐานเท่าเทียมกับ
นานาชาติ
7. กาหนดปรัชญาการศึกษาให้เหมาะสมกับศตวรรษที่ 21
19
จากยุทธศาสตร์การศึกษาทั้ง 7 ข้อ มียทุ ธศาสตร์ ขอ้ 2
และข้อ 3 ซึ่งเน้นที่ตวั ผูเ้ รี ยนและสถานที่ ซึ่งประเทศญี่ปุ่นไม่ลืม
วัฒนธรรม ประเพณี ของตน ประเทศญี่ปุ่นมีศิลปวัฒนธรรม
ปรากฏชัดอยูต่ ามที่ต่าง ๆ มากมาย ทั้งที่เป็ นสถานที่และบุคคล
ดังนั้นจึงมีการสนองตอบยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 ด้วยการจัดกิจกรรมให้เด็กญี่ปุ่นได้มโี อกาสศึกษา
ประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม ศิลปะ ตามสถานที่ต่าง ๆ
20
ครู ญี่ปุ่นจะพาเด็กไปทัศนศึกษาสถานที่ต่าง ๆ เพียง 1 ครั้ง และให้
ความรู ้กบั เด็กในเชิงบูรณาการได้หลายวิชา ทั้งในเรื่ อง ศาสนา คติ
ความเชื่อ และวัฒนธรรม ได้ศึกษาแนวคิดของพุทธศาสนา และ
ศาสนาชินโตจากสวนญี่ปุ่น สถาปัตยกรรม / จิตรกรรม
ประวัติศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ /กลศาสตร์ ภาษา และวรรณคดี
21
ภาคเอกชนก็เห็นความสาคัญเช่นกัน ดังจะเห็นได้จากธนาคาร
ห้างสรรพสินค้าส่วนใหญ่มกั จะสร้างหอศิลป์แสดงผลงานศิลปะประเพณี
โบราณและศิลปะปจั จุบนั ให้ประชาชนได้เรียนรู้ สวนญีป่ นุ่ พิพธิ ภัณฑ์ และ
หอศิลป์ มีอยูเ่ ป็ นร้อยเป็ นพันแห่ง เยาวชนจะได้เรียนรูป้ ระสบการณ์อนั
สูงค่า
22
ครูเป็ นอาชีพทีม่ เี กียรติ มีสถานะทางสังคมสูง เป็ นผลมาจาก
การทีก่ ฎหมายญีป่ นุ่ และประชาชนคาดหวังในหน้าทีข่ องครู
สังคมคาดหวังว่าครูจะช่วยปลูกฝงั ทัศนคติของสังคมลงในตัวเด็ก
ครูมรี ายได้ดี และมีการปรับเงินเดือนของครูอยูเ่ ป็ นระยะ ๆ
เงินเดือนเริม่ ต้นของครูเป็ นทีน่ ่าพึงพอใจเมือ่ เทียบกับอาชีพทาง
วิชาการอื่น ๆ และในบางครัง้ ก็สงู กว่า นอกจากเงินเดือนแล้ว
ครูยงั มีสทิ ธิ ์รับเงินพิเศษต่าง ๆ และโบนัส (จ่ายเป็ น 3 งวด) ซึง่
มีจานวนประมาณห้าเท่าของเงินเดือน ครูจะได้รบั การดูแล
สุขภาพ และสวัสดิการหลังเกษียณด้วยการเงินทีม่ นคง
ั ่ สถานะ
ทางสังคมทีส่ งู
23
การผลิตครู ของประเทศญี่ปุ่น เป็ นการจัดการศึกษาโดย
คณะศึกษาศาสตร์ / ครุ ศาสตร์ในมหาวิทยาลัยและระดับวิทยาลัย มี
จานวนรวมทั้งสิ้ น 48 แห่ง ระบบการจัดการเรี ยนการสอนระดับ
ปริ ญญาตรี เป็ นหลักสูตร 4 ปี และมีการฝึ กสอนในสถานศึกษา
จานวน 12 สัปดาห์
24
การพัฒนาครูจะมีการดาเนินการตัง้ แต่เริม่ ต้นชีวติ ความ
เป็ นครู โดยผูท้ ม่ี หี น้าทีจ่ ดั การฝึกอบรมอาจแบ่งได้เป็ น 2
ระดับหลัก คือ
3.2.1 การฝึกอบรมทีจ่ ดั ในระดับชาติ
3.2.2 การฝึกอบรม ทีจ่ ดั ระดับจังหวัด
25
3.3.1 ครู ระดับอนุบาล ส่ วนมากจะถูกกาหนดให้
รับผิดชอบดูแลชั้นรวมทั้งสอนแบบเหมารวม
3.3.2 ครู ระดับประถมศึกษา จะต้องใช้ความสามารถ
พิเศษเฉพาะทาง สอนเฉพาะวิชาที่ถนัด ได้แก่ ดนตรี ศิลปะ และ
งานฝี มือพลศึกษา
และงานบ้าน
3.3.3 ครู ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จะได้รับมอบหมาย
ให้สอนคนละ 1-2 รายวิชา และจะต้องสอนในหลาย ๆ ห้อง
3.3.4 ครู ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จะสอนเฉพาะวิชา
ที่ตนเองมีความถนัดเพียงวิชาเดียวเท่านั้น
26
3.4.1 ครู ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในประเทศ
ญี่ปุ่น ถูกฝึ กมาจากมหาวิทยาลัยหรื อวิทยาลัย ซึ่งอยูภ่ ายใต้การกากับ
ดูแลโดยกระทรวงศึกษา วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
3.4.2 ครู ระดับประถมศึกษาจะต้องเรี ยน 4 ปี ในรายวิชาที่
เกี่ยวข้องกับการประถมศึกษาในมหาวิทยาลัยของรัฐ
3.4.3 ครู ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นถูกฝึ กและผลิตโดย
มหาวิทยาลัยของรัฐมหาวิทยาลัยเอกชน
3.4.5 ครู ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ครู จะถูกฝึ กและ
พัฒนามาจากระดับต่ากว่าปริ ญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษาใน
มหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยของรัฐระดับท้องถิ่นและ
มหาวิทยาลัยเอกชน
27
ครู ญี่ปุ่นทุกคนจะต้องมีใบประกอบวิชาชีพครู ซึ่งคณะกรรมการ
การศึกษาระดับจังหวัดจะเป็ นผูอ้ อกใบอนุญาตตามเงื่อนไข สาหรับ
ใบประกอบวิชาชีพครู แบ่งออกเป็ น 3 ลักษณะ คือ ระดับสามัญ
(regular) ระดับพิเศษ (special)และระดับชัว่ คราว(temporary)
ใบประกอบวิชาชีพครู ระดับสามัญยังแบ่งออกเป็ น 3 ชั้น คือ ชั้นสูง
ชั้นหนึ่ง และชั้นสอง นอกจากนั้นยังมีใบประกอบวิชาชีพครู
สาหรับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย
28
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศญีป่ นุ่ จัดได้วา่ เป็ น
ระบบการศึกษาแบบรวมศูนย์ ซึง่ มีทงั ้ จุดแข็งและจุดอ่อน จุดแข็ง
ได้แก่ การช่วยทาให้มาตรฐานการศึกษาแม้วา่ จะพืน้ ทีช่ นบทก็จะได้
โอกาสและมาตรฐานใกล้เคียงกัน ส่วนจุดอ่อน คือระบบการบริหารที่
เป็ นระบบสังการจากเบื
่
อ้ งบนสูเ่ บือ้ งล่าง
29
สวัสดี