บทที่ 5 ธุรกิจการเงินระหว่างประเทศ

Download Report

Transcript บทที่ 5 ธุรกิจการเงินระหว่างประเทศ

บทที่ 5
ธุรกิจการเงินระหว่ างประเทศ
• จากประวัติศาสตร์ ของมนุษยชาติในการใช้สิ่งของต่อสิ่ งของแลกเปลี่ยนซึ่ งกันและ
กัน และได้เปลี่ยนมาใช้วตั ถุสิ่งของเป็ นตัวกลางในการแลกเปลี่ยนความต้องการ
ของตนเอง ส่ งผลให้เกิดการติดต่อซื้ อขายกันและยังขยายวงกว้างออกไปถึง
ภายในประเทศและแพร่ ขยายออกไปยังประเทศเพื่อนบ้าน ยิง่ มีระบบการสื่ อสาร
คมนาคมที่พฒั นาก้าวหน้าอย่างรวดเร็ วเพียงใด ก็ส่งผลต่อการติดต่อค้าขาย
แลกเปลี่ยนกันมากขึ้น และต้องการความสะดวกรวดเร็ วมากขึ้น สิ่ งหนึ่งที่ทาให้เกิด
ปั ญหาและอุปสรรค์ในการติดต่อค้าขายก็คือ “เงิน” ซึ่ งใช้เป็ นสื่ อกลางในการ
แลกเปลี่ยนนั้นเอง
•
ด้วยพัฒนาการของระบบการเงินและการสื่ อสารทาให้ปัญหาทางด้าน
ตัวกลางในการแลก เปลี่ยนสามารแก้ไขได้ดว้ ยการใช้เครื่ องมือทางเครดิตต่าง ๆ
เช่น ดร๊ าฟของธนาคาร ตัว๋ แลกเงิน หรื อการโอนเงินระหว่างประเทศ ในการนี้
ธนาคารพาณิ ชย์ในประเทศต่างๆ จะมีบทบาทสาคัญเป็ นพิเศษที่จะทาให้ธุรกิจ
การเงินระหว่างประเทศเป็ นไปได้ดว้ ยความสะดวกและรวดเร็ ว ทั้งนี้ภายใต้
กฎเกณฑ์หรื อข้อตกลงในเรื่ องอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศร่ วมกัน
ระหว่างประเทศคู่คา้
การค้ าระหว่ างประเทศ
ทุกวันนี้ประเทศต่างๆจาเป็ นต้องติดต่อพึ่งพาอาศัยซึ่ งกันและกัน อาจกล่าวได้วา่ เกือบจะไม่มีประเทศ
ใดที่สามารถอยูไ่ ด้อย่างปกติโดยไม่ตอ้ งติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ ประเทศใดก็ตามที่บงั เอิญ
ต้องแยกตัวอยูโ่ ดดเดี่ยวชัว่ ระยะเวลาหนึ่งประเทศนั้นจะตกอยูใ่ น สถานะหยุดอยูก่ บั ที่และจะต้อง
ล้าหลังประเทศอื่นๆทันที ทั้งนี้ เพราะลาพังสิ นค้าและบริ การที่แต่ละประเทศผลิตได้จะไม่
สามารถพัฒนาประเทศชาติและการดารงชีวติ ของประชาชนพลเมืองได้อย่างสมบูรณ์ แต่ละ
ประเทศจึงควรมุ่งผลิตสิ นค้าที่ตนถนัดและเอื้ออานวยจากทรัพยากรที่มีอยูแ่ ล้วนาไปและเปลี่ยน
กับสิ นค้าของประเทศอื่นโดยกระบวนการซื้อขายระหว่างประเทศโดยผ่านตัวกลางเงินตรา
ธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ (International Trade) จึงต้องดาเนินควบคู่ไปกับธุรกิจ
การเงินระหว่างประเทศ (International Finance) ซึ่ งรวมถึงธุรกิจทางการเงิน
(Financial Transaction) และการเคลื่อนย้ายทุน (Capital Movements)
ระหว่างประเทศ
ดุลการชาระเงินระหว่ างประเทศ
ดุลการชาระเงินระหว่างประเทศ (International Balance of Payments) หรื อที่
นิยมเรี ยกสั้นๆว่าดุลการชาระเงิน (Balance of Payments) นั้น หมายถึง บัญชี
บันทึกการรับและจ่ายเงิน (Monetary Transaction) ระหว่างผูพ้ านักอาศัย
(Residents) ของประเทศหนึ่งกับผูพ้ านักอาศัยในแระเทศอื่นๆในช่วงระยะเวลาที่กาหนด
(นิยมรายงานเป็ นรายปี )
คาว่า “ผูพ้ านักอาศัย” (Residents) ในบัญชีดุลการชาระเงินของประเทศใดก็ตาม หมายถึง
บุคคล ธุรกิจ องค์การ และหน่วยงานต่างๆของรัฐบาลที่มีภูมิลาเนาอยูใ่ นประเทศนั้น หน่วย
เศรษฐกิจต่างๆที่มาอาศัยอยูใ่ นประเทศใดเป็ นการชัว่ คราว เช่น นักท่องเที่ยว ผูแ้ ทนทางการฑูต
และหน่วยงานรัฐบาลต่างประเทศ ตลอดจนสาขาของธุรกิจที่มีสานักงานใหญ่อยูใ่ นต่างประเทศ
เป็ นต้น หน่วยเศรษฐกิจเหล่านี้จะไม่ถือว่าเป็ นผูพ้ านักอาศัยของประเทศเจ้าของบัญชี
การบันทึกในบัญชีดุลการชาระเงินกระทาในลักษณะเดียวกับการบันทึกบัญชีของธุรกิจการค้า คือ
เมื่อผูพ้ านักอาศัยของประเทศใดจ่ายเงินออกไป รายการนั้นก็จะปรากฏในช่องเดบิตหรื อลบ และ
ถ้ารับเงินเข้ามาก็บนั ทึกในช่องเครดิตหรื อบวก ส่ วนการรายงานบัญชีชาระเงินจะบันทึกเฉพาะผล
สุ ทธิเท่านั้น
ดุลการชาระเงินของประเทศประกอบด้วย 3 บัญชียอ่ ย คือ
1.บัญชีเดินสะพัด : บัญชีเดินสะพัดแบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน คือ ดุลการค้า (Balance of Trade) และ ดุลบริ การ (Services
Account)
2.1.1 ดุลการค้ า คือ ส่ วนต่างมูลค่าของสิ นค้าเข้าและสิ นค้าออกของประเทศ
2.1.2 ดุลบริการ ประกอบด้วยรายการรับและจ่ายเงินในบริ การต่างๆ เช่น ค่าบริ การในการขนส่ ง (Transportation)
และประกันภัยสิ นค้า
2. บัญชีเงินทุน
•
รายการต่างๆในบัญชีน้ ีแสดงถึงการรับเข้าและจ่ายออกของเงินตราต่างประเทศอัน เนื่องมาจากการเคลื่อนย้ายเงินทุน
ระหว่างประเทศของทั้งเอกชนและรัฐบาล ในส่ วนของเอกชนยังแยกเป็ นการลงทุนโดยตรง (Direct Investment)
ของเอกชน คือ การลงทุนที่เจ้าของเงินทุนเข้ามาเป็ นผูป้ ระกอบการในกินการที่ลงทุนด้วยกับการลงทุนของเอกชนในระยะ
ยาว (Long-term)
และระยะสั้น (Short-term)
3. บัญชีทนุ สารองระหว่ างประเทศ
•
ทุนสารองระหว่างประเทศประกอบด้วยทองคา เงินตราต่างประเทศ หลักทรัพย์ระยะสั้น และระยะยาวรวมทั้งบัญชี
เงินฝากธนาคารพาณิ ชย์ซ่ ึงต้องชาระเงินต้นและผลตอบแทนเป็ นเงินตราต่างประเทศและ SDR บัญชีทุนสารองระหว่าง
ประเทศจะเพิ่มขึ้นหรื อลดลงขึ้นอยูก่ บั ผลรวมของ 2 บัญชีแรก หาก 2 บัญชีแรกเมื่อรวมกันได้ผลสุ ทธิเป็ นบวก ส่ วนที่เป็ น
บวกนี้จะนามาเพิ่มในบัญชีทุนสารองระหว่างประเทศ ในทางตรงกันข้ามถ้า 2 บัญชีแรกได้ผลสุ ทธิเป็ นลบก็จะต้องนาส่ วนใด
ส่ วนหนึ่งของทุนสารองระหว่างประเทศเข้าไปชดเชยเพื่อให้ 2 บัญชีแรกสมดุล ทุนสารองระหว่างประเทศจึงเพิ่มขึ้นเมื่อ 2
บัญชีแรกมีผลสุ ทธิเป็ นบวก และลดลงเมื่อ 2 บัญชีแรกมี ผลสุ ทธิเป็ นลบโดยปกติบญั ชีสารองระหว่างประเทศจะไม่ปรากฏ
ในรายงานดุลการชาระเงิน
•
•
การพิจารณาดุลการชาระเงิน
การพิจารณาว่าประเทศใดมีดุลการชาระเงินเกินดุลหรื อขาดดุลนั้นให้ดูจากผลรวมของ 2 บัญชีแรก หากผลรวมแสดงว่ามี
การรับเงินมากกว่าการจ่ายเงินออกไปหรื อผลสุทธิเป็ นบวกก็แสดงว่าดุลการชาระเงินเกินดุล (Surplus) ในทาง
ตรงกันข้ามหากมีการเงินน้อยกว่าเงินการจ่ายเงินออกไป หรื อผลสุทธิเป็ นลบแสดงว่าดุลการชาระเงินขาดดุล
(Deficit) และโดยปกติดุลการชาระเงินของแระเทศต่างๆจะไม่สมดุลพอดี (Disequilibrium) เสมอ
ความไม่สมดุลของดุลการชาระเงินจะมีผลต่อเนื่องมาถึงภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศได้โดยตรง ทั้งนี้ เพราะความไม่
สมดุลของดุลการชาระเงินมีผลทาให้ทุนสารองระหว่างประเทศเปลี่ยนแปลงดังกล่าว เมื่อมีการในทุนสารองระหว่าง
ประเทศก็จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสารองเงินตราที่หนุนหลังการออกธนบัตรด้วยในทิศทางเดียวกัน ทั้งนี้เพราะ
ทุนสารองเงินตราเป็ นส่วนหนึ่งของทุนสารองระหว่างประเทศ เมื่อทุนสารองระหว่างประเทศเพิ่มขึ้นทุนสารอง
เงินตราจะเพิ่มขึ้นตาม และเมื่อทุนสารองระหว่างประเทศลดลงทุนสารองเงินตราก็จะลดลงตามไปด้วย
ดังนั้น หากดุลการชาระเงินของประเทศใดเกินดุลจะมีผลทาให้ทุนสารองระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น ทุนสารองเงินตรา
เพิ่มขึ้น และมีการพิมพ์ธนบัตรเพิ่มขึ้น มีปริ มาณเงินหมุนเวียนภายในประเทศเพิ่มขึ้น หากประเทศนั้นไม่สามารถ
เพิ่มผลผลิตและบริ การให้ทนั กับการเพิ่มขึ้นของประมาณเงินก็อาจเกิดภาวะเงินเฟ้ อขึ้นได้ ในทางตรงกันข้ามหาก
ดุลการชาระเงินของประเทศใดขาดดุล จะมีผลให้ทุนสารองระหว่างประเทศลดลง ทุนสารองเงินตราลดลง และการ
พิมพ์ธนบัตรออกใช้ลดลง หรื อปริ มาณที่หมุนเวียนภายในประเทศลดลงด้วย หากประเทศนั้น ไม่สามารถปริ มาณ
ผลผลิตและบริ การได้เท่ากับการลดในปริ มาณเงิน ก็อาจเกิดภาวะเงินฝื ดได้ตามหลักการที่เคยกล่าวมาแล้ว
การปรับดุลการชาระเงิน
ถึงแม้การมีดุลการชาระเงินดุลหรื อขาดดุลก้อล้วนอาจเป็ นอันตรายต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศได้เช่นกันก็ตาม ประเทศต่างๆก็มกั จะพอใจที่จะมี
ดุลการชาระเงินเกินดุลมากกว่าการขาดดุล กระนั้นก็ตามประเทศที่มีดุลการชาระเงินเกินดุลก็ยงั ต้องพยายามปรับดุลการชาระเงินไม่ให้
เกินดุลมากเกินไปโดยวีต่างๆเช่นเพิ่มการสั่งสิ นค้าเข้าให้มากขึ้นหรื อลดอุปสรรคต่าง ๆ ที่กีดขวางการนาสิ นค้าเข้า หรื อเคลื่อนย้ายเงินทุน
ออกนอกประเทศในรู ปแบบต่างๆ
ส่ วนประเทศที่มีดุลการชาระเงินขาดดุล การปรับให้สมดุลอาจทาได้หลายวิธีแล้วแต่สภาพและสาเหตุของการขาดดุลซึ่ งแตกต่างกัน ดังนี้
1. ถ้ าเป็ นการขาดดุลทีร่ ากฐาน (Fundamental Disequilibrium) ซึ่ งหมายถึงการขาดดุลขนาดใหญ่และขาดทุนติดต่อกันเป็ น
ระยะเวลายาวนาน โดยมีสาเหตุมาจากการที่ประเทศนั้นใช้เทคนิคการผลิตที่ลา้ หลังทาให้ได้ผลผลิตต่า หรื อขายสิ นค้าได้นอ้ ยเพราะสู ญเสี ย
ตลาด หรื อแข่งขันสู ้กบั ประเทศอื่นไม่ได้ เป็ นต้น การแก้ไขสภาพความไม่สมดุลแบบนี้ วิธีที่ตรงจุดที่สุด คือ ต้องพยายามเพิ่มปริ มาณการ
ผลิตให้ได้ในอัตราที่สูงกว่าการเพิ่มการบริ โภคภายในประเทศขณะเดียวกันก็ตอ้ งพยายามส่ งเสริ มให้มีสินค้าออกมากขึ้น โดยเฉพาะสิ นค้าที่
กาลังเป็ นที่ตอ้ งการของตลาดต่างประเทศ
2. ถ้าเป็ นการขาดดุลที่เกิดจากปริ มาณเงินหมุนเวียนภายในประเทศมีมากเกินไปจนผลผลิตเพิ่มตามไม่ทนั ทาให้เกิดภาวะเงินเฟ้ อ (การเพิ่มปริ มาณเงินที่
กล่าวนี้เป็ นผลจากภายในประเทศเอง เช่น การใช้จ่ายของประชาชน องค์การ และรัฐบาลมากเกินไป หรื อธนาคารพาณิ ชย์สร้างเงินฝากเผือ่
เรี ยกในปริ มาณมากเกินไป) ราคาสิ นค้าออกสู งจนทาให้ขายสิ นค้าออกได้นอ้ ยลง ในขณะเดียวกันสิ นค้าที่สงั่ เข้าจากต่างประเทศจะมีราคาถูก
ว่าเช่นนี้ทาให้มีการสัง่ สิ นค้าเข้ามากแต่ส่งสิ นค้าออกได้นอ้ ยจนเกิดการขาดดุลการค้าและดุลการชาระเงิน การปรับดุลการชาระเงินแบบนี้
ควรใช้วธิ ี ลดเงินของประเทศนั้นลง ก็จะช่วยทาให้สั่งสิ นค้าเข้าน้อยลงและส่ งสิ นค้าออกได้มากขึ้น
3. ถ้ าเป็ นการขาดดุลทีเ่ กิดขึน้ ชั่ วคราว โดยสาเหตุจากการเปลี่ยนแปลงอันผิดปกติของปั จจัยการผลิตอื่น ๆ เช่น ความเสี ยหายของการเพาะปลุกอันเกิด
จากภัยธรรมชาติ ความวุน่ วายทางการเมือง และการนัดหยุดงาน เป็ นต้น การขาดดุลเช่นนี้อาจแก้ไขได้โดยการนาทุนสารองระหว่างประเทศ
ที่มีอยูอ่ อกใช้ไปก่อนจนกว่าเหตุการณ์เหล่านั้นจะกลับสู่ สภาพปกติ
การแลกเปลีย่ นเงินตราระหว่ างประเทศ
ดุลการชาระเงินระหว่างประเทศที่กล่าวมาแล้วนั้นเป็ นเสมือนกระจกบานใหญ่ที่
สะท้อนให้เห็นภาพของการติดต่อสัมพันธ์กนั ของประเทศต่างๆในธุรกรรมต่างๆ
ซึ่ งเกี่ยวข้องกับการเงินรวมทั้งการติดต่อซื้ อขายหรื อการค้าระหว่างประเทศด้วย
และดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่า ปั ญหาสาคัญประการหนึ่ งในการติดต่อธุรกิจต่างๆก็คือ
ปั ญหาการใช้สกุลเงินในการชาระหนี้ที่เกิดขึ้น ถึงแม้ประเทศต่างๆจะยินยอม
ร่ วมกันในการใช้เงินตราสกุลหลักเป็ นเงินตราระหว่างประเทศใช้ชาระหนี้ได้แต่
การจะได้มาซึ่ งเงินสกุลหลักก็จาเป็ นต้องมีการแลกเปลี่ยนเงินตราของประเทศเป็ น
เงินตราสกุลหลักหรื อเงินตราสากลนั้นก่อนจึงจะนาไปชาระหนี้ ตามทีต่ กลงกันได้
ในฝ่ ายเจ้าหนี้หรื อผูร้ ับเงินก็จาเป็ นต้องนาเงินตราสากลนั้นไปแลกกลับเป็ นเงินตรา
ภายในประเทศเพื่อนาไปใช้จ่ายต่อไป
ระบบอัตราแลกเปลีย่ น
เนื่องจากเงินตราของแต่ละประเทศมีอานาจซื้อ (Purchasing Power) ไม่เท่ากันอัตรา
แลกเปลี่ยน (Exchange Rate) จึงเป็ นการเปรี ยบเทียบอานาจซื้อของเงินตราสองสกุล
คือเงินตราต่างประเทศสกุลหนึ่งกับเงินตราภายในประเทศ เช่นถ้าอัตราแลกเปลี่ยนของเงิน 1
ดอลลาร์ สหรัฐเท่ากับ 45 บาท หมายความว่า เงิน 1 ดอลลาร์ซ้ื อสิ นค้าได้ชิ้นหนึ่งในขณะที่ตอ้ ง
ใช้เงิน 45 บาทซื้อสิ นค้าชิ้นเดียวกันนั้น ดังนั้น อานาจซื้อของเงิน 1 ดอลลาร์จึงเป็ น 45 เท่าของ
เงินบาทอย่างไรก็ตาม อัตราแลกเปลี่ยนนี้อาจเปลี่ยนแปลงขึ้นลงได้ตลอดเวลาตามกลไกของอุป
สงค์และ อุปทานของเงินตราและปัจจัยอื่น ๆ ด้วย
อัตราแลกเปลี่ยนอาจแบ่งเป็ น 2 ระบบ หลักหรื อสุ ดขั้ว คือ ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ (Fixed
Exchange Rate) ขั้วหนึ่ง และระบบอัตราแลกเปลี่ยนขึ้นลงเสรี (Freely
Fluctuating Exchange Rate) หรื อระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัว (Float
Exchange) อีกขั้วหนึ่ง ในทางปฏิบตั ิประเทศต่างๆมักเลือกใช้ระบบที่อยูร่ ะหว่างกลาง ๆ
ของ 2 ระบบนี้
ระบบอัตราแลกเปลีย่ น(ต่ อ)
• 6.1 ระบบอัตราแลกเปลีย่ นคงที่
•
ก่อนปี ค.ศ. 1914 สมัยเมื่อระบบการเงินของโลกอยูภ่ ายใต้มาตราทองคา กล่าวได้วา่ อัตราแลกเปลี่ยนของ
เงินตราของประเทศต่าง ๆ เป็ นระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ ทั้งนี้ เพราะหน่วยเงินของประเทศต่าง ๆ ถูกกาหนดโดย
การเทียบค่าน้ ามันหนักของทองคา เมื่อเป็ นเช่นนี้ประเทศที่อยูภ่ ายใต้มาตราทองคาด้วยกัน จึงสามารถกาหนดอัตรา
แลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างกันได้โดยง่าย ดังตัวอย่างที่เคยอธิบายมาแล้วในบทที่ 2 คือ เงินปอนด์สเตอร์ลิงของ
อังกฤษเทียบค่า 1 ปอนด์เท่ากับน้ าหนักทองคา 113.0015 เกรนในขณะที่เงินดอลลาร์สหรัฐ 1 ดอลลาร์เทียบเท่ากับ
น้ าหนักทองคา 23.22 เกรน ดังนั้น อัตราแลกเปลี่ยนระหว่างเงินดอลลาร์กบั เงินปอนด์จะเป็ น 4.8665 ดอลลาร์ต่อ 1
ปอนด์ ทั้งนี้เพราะเงิน 1 ปอนด์คิดเป็ นน้ าหนักทองคาจะหนักกว่าเงินดอลลาร์คิดเป็ นน้ าหนักทองคา 4.8665 เท่า
•
เหตุที่ถือว่าอัตราแลกเปลี่ยนภายใต้ระบบมาตราทองคาเป็ นระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่กเ็ พราะอัตรา
แลกเปลี่ยนเงินตราประเทศต่าง ๆ ภายใต้ระบบนี้มีเสถียรภาพมาก คือ มีการเปลี่ยนแปลงน้อยเพราะมีขอบเขต
ควบคุมมิให้อตั ราแลกเปลี่ยนต่าเกินกว่าจุดสัง่ ทองคาเข้า (Gold Import Point) และมิให้สูงกว่าจุดส่ง
ทองคาออก (Gold Export Point) ดังกล่าวมาแล้วในบทที่ 2
•
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อประเทศต่าง ๆ ออกจาระบบมาตราทองคาจนหมดสิ้น ประเทศต่าง ๆ มี
การลดค่าของเงินของคนลงเพื่อแก้ไขภาวะเงินภายในประเทศขณะเดียวกันก็ไม่มีความร่ วมมือทางเศรษฐกิจระหว่าง
ประเทศ ประเทศต่าง ๆ พยายามเอาเปรี ยบกันโดยการแข่งขันลดค่าเงิน (Competitive Devaluation)
ระบบอัตราแลกเปลีย่ น(ต่ อ)
ในระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ ยังมีรูปแบบที่ดาเนินการได้หลายอย่าง ดังนี้
คงทีต่ ายตัว (Fixed Exchange Rate) เป็ นระบบที่มีการกาหนดอัตราแลกเปลี่ยนหรื อค่าเสมอภาค (Par Value) ระบบมาตรฐานทองคา (Gold
Standard) คือต้นแบบของระบบ นี้ซ่ ึงแม้จะมีขอ้ ดีที่อตั ราแลกเปลี่ยนมีเสถียรภาพ แต่ก็เป็ นระบบที่มีขอ้ งจากัดเป็ นอย่างมาก โดยเฉพาะการที่จะต้องมีทุน
สารอง เงินตราเป็ นทองคาหนุนหลัง 100 % การรับแลกคืนเงินที่มีคา่ ไม่เต็มตังเป็ นทองคาตลอดเวลาโดยไม่จากัดจานวน จึงเป็ นระบบที่ไม่มีความยืดหยุน่ ในการ
จัดการเรื่ องปริ มาณเงินภายในประเทศ ซึ่งเป็ นอุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศและการค้าระหว่างประเทศเพราะปริ มาณเงินไม่ได้ขยายตัวไปตาม
ปริ มาณการค้าและการลงทุน แต่กลับต้องขยายตัวไปตามปริ มาณทองคาที่มีอยู่ ประเทศต่าง ๆ จึงทยอยออกจากมาตรทองคานับแต่ทศวรรษ 1930
ระบบ Bretton Woods (The Bretton Woods System) ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ได้จดั การ
ประชุมขึ้นที่เมื่อ Bretton Woods รัฐ New Hamshire ประเทศสหรัฐอเมริ กา ในปี ค.ศ. 1948 โดยสหรัฐอเมริ กาสหราชอาณาจักรและประเทศ
อุตสาหกรรมอีก 44 ประเทศ ที่ประชุมมีมติให้สมาชิกประเทศเทียบค่าเงินของตนกับน้ าหนักทองคาและเงินดอลลาร์สหรัฐ และให้เป็ นหน้าที่ของประเทศต่าง ๆ
ในการรักษาอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ดงั กล่าวไว้ โดยธนาคารกลางของทุกประเทศต้องจัดตั้งกองทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน (Exchange
Equalization Fund) เพื่อค่อยแทรกแซงไม่ให้อตั ราแลกเปลี่ยนผันผวนไปจากค่าเสมอภาคที่กาหนดไว้จุอ่อนของระบบนี้คือการที่ประเทศต่าง ๆ ต้อง
ปรับค่าเงินของตนไปตามค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ โดยไม่สมั พันธ์กบั สภาพเศรษฐกิจที่เป็ นจริ งในประเทศของตนระบบ Bretton Woods ได้ถกู ประกาศ
ยกเลิกในปี ค.ศ. 1971
ระบบตะกร้ าเงิน (Basket of Currencies) เมื่อการเทียบค่าเงินกับเงินดอลลาร์สหรัฐสกุลเดียวมีปัญหาหลายประเทศ (รวมทั้งประเทศไทย) ได้ใช้วธิ ีเทียบค่าเงิน
กับเงินตราหลาย ๆ สกุลพร้อม ๆ กันที่เรี ยกว่า “ตะกร้าเงิน” โดยใช้เงินตราสกุลที่สาคัญต่อระบบการค้าของประเทศจึงนับเป็ นวิธีที่มีความยืดหยุน่ มากขึ้น และ
เป็ นการกาหนดอัตราแลกเปลี่ยนที่สะท้อนถึงภาวะดุลการชาระเงินที่ใกล้เคียงความเป็ นจริ งมากขึ้น อย่างไรก็ตามค่าเงินตราของประเทศต่าง ๆ จาเป็ นต้องเป็ นผล
สะท้อนจากสภาพเศรษฐกิจภายในประเทศด้วย การผูกติดค่ากับเงินตราต่างประเทศในตะกร้าเงินจึงอาจทาให้ค่าเงินของประเทศไม่ตรงกับค่าที่ควรจะเป็ นอย่าง
แท้จริ ง
ระบบ Currency Board เป็ นอีกรู ปแบบหนึ่งของระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ประเทศที่ใช้ระบบนี้จะจัดตั้งคณะกรรมการเงินตรา (Currency Board) เป็ น
องค์กรควบคุมดูแลอัตราแลกเปลี่ยนต่างหากจากธนาคาร ทาหน้าที่กาหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินสกุลของประเทศตนกับเงินตราต่างประเทศสกุลหลัก
(Anchor Currency) ในอัตราคงที่ (Fixed Rate) ตามที่ประกาศไว้ เป็ นระบบที่จะสร้างความเสถียรภาพในอัตราแลกเปลี่ยนได้ โดยเฉพาะใน
ประเทศที่ค่าเงินมีแนวโน้มลดลงตลอดเวลา แต่ประเทศที่ใช้ก็ตอ้ งมีเงื่อนไขสาคัญคือ ต้องมีทุนสารองระหว่างประเทศมากพอที่จะสร้างความเชื่อมัน่ ในระบบนี้
ได้ ซึ่งหมายความว่าจะต้องมีนโยบายการค้าระหว่างประเทศที่มีประสิ ทธิภาพไม่ขาดดุลการค้ามากนัก การกาหนดอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ก็อาจเป็ นปัญหาต่อความ
เปลี่ยนแปลงสภาพเศรษฐกิจซึ่งมักจะไม่คงที่ประเทศที่ใช้ระบบนี้ เช่น ฮ่องกง บอสเนีย บัลแกเรี ย เป็ นต้น
ระบบอัตราแลกเปลีย่ น(ต่ อ)
•
•
•
•
6.2 ระบบอัตราแลกเปลีย่ นขึน้ ลงเสรี
ลักษณะสาคัญของระบบอัตราแลกเปลี่ยนขึ้นลงเสรี ก็คือ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศจะเปลี่ยนไปเรื่ อย ๆ ตามสภาพของอุป
สงค์แลอุปทานเงินตราต่างประเทศที่เปลี่ยนไปไม่มีการกาหนดอัตราแลกเปลี่ยนหรื อค่าเสมอภาคของเงินตราภายในประเทศกับเงินตรา
ต่างประเทศ และด้วยการปล่อยให้อตั ราแลกเปลี่ยนเปลี่ยนแปลงไปเองโดยอิสระ เช่นนี้ จะทาให้มีการปรับดุลการชาระเงินขึ้นทั้งนี้อาจเป็ น
เพราะได้มีการสั่งซื้ อสิ นค้าจากต่างประเทศเข้ามาเป็ นจานวนมาก เมื่อมีการสั่งซื้ อสิ นค้าต่างประเทศมาก ความต้องการเงินตราต่างประเทศก็
สู งเนื่องจากความต้องส่ งไปชาระหนี้ต่างประเทศเมื่อเป็ นเช่นนี้ค่าของเงินตราต่างประเทศก็จะสู งขึ้นต้องใช้เงินตราภายในประเทศมากขึ้นใน
การแลกเปลี่ยนกับเงินตราต่างประเทศอัตราแลกเปลี่ยนจึงเปลี่ยนไปในทางที่สูงขึ้นหมายความว่าราคาสิ นค้าที่สั่งเข้ามาจากต่างประเทศ
จะต้องสู งขึ้นด้วย ในแง่ของผูซ้ ้ื อจึงจะมีผลทาให้ปริ มาณการสัง่ สิ นค้าเข้าลดลง ในขณะเดียวกันอัตราแลกเปลี่ยนที่สูงขึ้นนี้เป็ นเหตุให้
สิ นค้าออกมีราคาลดลงเพราะผูซ้ ้ื อในต่างประเทศจ่ายเงินน้อยลง ทาให้ปริ มาณสิ นค้าส่ งออกขายได้มากขึ้น ดังนั้น การขาดดุลการชาระเงินจะ
คลี่คลายไปเองได้อตั โนมัติ
ในทางตรงกันข้าม เมื่อประเทศมีดุลการชาระเงินเกินดุลไม่วา่ จะด้วยสาเหตุใดก็ตามทาให้ประเทศนั้นมีเงินตราต่างประเทศมาก เป็ น
เหตุให้อตั ราแลกเปลี่ยนต่าลงซึ่ งมีผลทาให้สินค้าเข้ามีราคาถูกลงทาให้มีการสั่งสิ นค้าจากต่างประเทศเพิ่มขึ้น ในขณะเดียวกันสิ นค้าออกจะมี
ราคาสู งขึ้น เพราะผูซ้ ้ื อในต่างประเทศจะต้องจ่ายเงินมากขึ้น (ทั้ง ๆ ที่ผขู ้ ายยังขายราคาเท่าเดิม) ทาให้ปริ มาณสิ นค้าส่ งออกน้อยลง การเกิน
ดุลการชาระเงินก็หมาดไปในที่สุด
ในทางปฏิบตั ิประเทศต่าง ๆ อาจเลือกใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนขึ้นลงเสรี หรื อลอยตัวได้หลายแบบ โดยพิจารณาระดับความเสรี มาก
น้อยตามความเหมาะสมของแต่ละประเทศละสถานการณ์ ดังนี้
•
•
•
•
ลอยตัวแบบเสรี (Free Float หรือ Clean Float)
ลอยตัวแบบจัดการ (Managde Float หรือ Dirty Float)
ลอยตัวแบบแทรกแซงทางอ้อม (Floating With Feedback Rule)
ลอยตัวภายในช่ วงค่าเงิน (Floating Within A Band หรือ Target Z one)
ระบบอัตราข้ อดีและข้ อเสี ยของระบบอัตราแลกเปลีย่ นแบบ
คงทีแ่ ละแบบลอยตัว
ข้ อดีของระบบอัตราแลกเปลีย่ นแบบคงที่
1.อัตราแลกเปลี่ยนมีเสถียรภาพ ทาให้การทาธุรกิจ
ระหว่างประเทศและการลงทุนระหว่างประเทศมี
ความแน่นอน นักธุรกิจและผูล้ งทุนไม่ตอ้ งเผชิญ
กับความเสี่ ยงอันเนื่องจากการผันผวนของอัตรา
แลกเปลี่ยน
2.ต้นทุนในการดาเนินธุรกิจระหว่างประเทศลดลง ไม่ตอ้ ง
มีค่าใช้จ่ายเพื่อป้ องกันความเสี่ ยงจากการซื้อขาย
เงินตราต่างประเทศล่วงหน้า
3.รัฐบาลสามารถความคุมไม่ให้เกิดปัญหาเงินเฟ้ อส่ วนที่
เกิดจากการที่ค่าเงินภายนอก (อัตราแลกเปลี่ยน)
ลดลงซึ่งทาให้สินค้านาเข้าจากต่างประเทศมี
ราคาสูงขึ้น (Imported Inflation)
ข้ อเสียของระบบอัตราแลกเปลีย่ นแบบคงที่
1.หากมีการกาหนดอัตราแลกเปลี่ยนสูงเกินไป (Over
Value) หรื อกาหนดค่าเงินสูงกว่าที่ควรจะเป็ นจะ
ทาให้ราคาสิ นค้าออกแพงเกินไปขายไม่ได้ ขณะที่
สิ นค้านาเข้าถูกเกินไปกระทบกับสิ นค้าที่ผลิต
ภายในประเทศ มีผลทางลบต่อดุลการค้าและดุล
บัญชีเดินสะพัด
2.การกาหนดค่าเงินที่สุงกว่าความเป็ นจริ ง ยังทาให้อาจถูก
โจมตีจากนักเก็งกาไรทั้งภายในประเทศและ
ต่างประเทศก็ได้ ยิง่ หากประเทศมีทุนสารองระหว่าง
ประเทศน้อยและไม่มีการควบคุมตลาดปริ วรรต
เงินตราจะแก้ไขสถานการณ์ได้ลาบากมาก
3.ในระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ เมื่อเกิดปัญหาขาด
ดุลการค้าไม่สามารถปรับอัตราแลกเปลี่ยน (ให้
ลดลง) เพื่อแก้ไขปัญหา
ระบบอัตราข้ อดีและข้ อเสี ยของระบบอัตราแลกเปลีย่ นแบบ
คงทีแ่ ละแบบลอยตัว (ต่ อ)
ข้ อดีของระบบอัตราแลกเปลีย่ นลอยตัว
1.อัตราแลกเปลี่ยนจะปรับตัวเองตาม
กลไก ทาให้สามารถแก้ไขปั ญหา
การชาระเงินหรื อดุลบัญชี
เดินสะพัด
2.ธนาคารกาลงไม่จาเป็ นต้องดารงทุน
สารองระหว่างประเทศไว้เป็ น
จานวนมากเพื่อป้ องกันค่าเงิน
3.ไม่ตอ้ งกังวลเรื่ องการถูกโจมตีค่าเงิน
ข้ อเสี ยของระบบอัตราแลกเปลีย่ นแบบ
ลอยตัว
1.อัตราแลกเปลี่ยนจะผันผวนขึ้นลงตาม
อุปสงค์และอุปทาน รวมทั้งการเก็ง
กาไรค่าเงินซึ่ งจะทาให้เกิดความเสี่ ยง
เพิ่มขึ้น เป็ นอุปสรรคต่อการค้าและ
การลงทุนระหว่างประเทศ
2.นโยบายการรักษาเสถียรภาพของระบบ
เศรษฐกิจของรัฐทาได้ยาก เช่น การ
ควบคุมอัตราเงินเฟ้ อ เป็ นต้น
ระบบอัตราแลกเปลีย่ นลอยตัวภายใต้ การแทรกแซง
อัตราแลกเปลี่ยนระบบนี้เป็ นระบบอัตราแลกเปลี่ยนซึ่งอยูร่ ะหว่างกลางของระบบมาตรฐานทองคา
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่เคลื่อนไหวขึ้นลงโดยเสรี อัตราแลกเปลี่ยนไม่ได้กาหนดไว้แน่นอนโดย
การเปรี ยบเทียบทองคากับสิ นทรัพย์ที่มีค่างมาตรฐานอื่นๆ แต่ขณะเดียวกันก็ไม่ปล่อยให้อตั รา
แลกเปลี่ยนเคลื่อนไหวโดยเสรี ตามกลไกของตลาด ระบบนี้เกิดขึ้นจากการยืดหยุน่ กฎเกณฑ์ของ
กองทุนการเงินระหว่างประเทศ อัตราแลกเปลี่ยนในแต่ละวันจะเคลื่อนไหวขึ้นลงตามอุปสงค์
ของตลาดและรัฐบาลจะเข้าไปแทรกแซงตลาดโดยการเข้าไปซื้อขายเงินตราต่างประเทศเพื่อ
ไม่ให้อตั ราแลกเปลี่ยนเคลื่อนไหวขึ้นลงมากเกินไปโดยผ่านกองทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน
เช่น เมื่อเกิดดุลการชาระเกินดุลประเทศที่มีดุลการชาระเงินเกินดุลจะมีอุปทานของเงินตรา
ต่างประเทศมากทาให้อตั ราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศต่าลง รัฐบาลของประเทศนั้นก็จะเข้า
ไปซื้อเงินตราต่างประเทศเข้ามาเพื่อลดอุปทานเงินตราต่างประเทศส่ งผลให้อตั ราแลกเปลี่ยน
สูงขึ้น ในทางตรงกันข้ามประเทศที่ขาดดุลการชาระเงินอุปทานในเงินตราต่างประเทศในตลาด
ลดลง ทาให้อตั ราแลกเปลี่ยนสูงขึ้นรัฐบาลก็จะนาเงินตราต่างประเทศออกมาขายเพือ่ เพิม่ อุปทาน
ในเงินตราต่างประเทศ ทาให้อตั ราแลกเปลี่ยนลดต่าลง
พัฒนาการของระบบอัตราแลกเปลีย่ นของไทย
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศไทยได้มีการพัฒนามาโดยลาดับเวลา ดังนี้
1.ก่อนสงครามโลกครั้งทีส่ อง
2.หลังสงครามโลกครั้งที่สอง
3. ระบบ Breton Woods
4. ระบบอัตราแลกเปลีย่ นคงที่ผูกค่ ากับดอลลาร์ สหรัฐ
5. ระบบอัตราแลกเปลีย่ นคงที่แบบตะกร้ าเงิน
6. ระบบอัตราแลกเปลีย่ นคงที่ผูกค่ ากับดอลลาร์ สหรัฐ
7. ระบบอัตราแลกเปลีย่ นคงทีแ่ บบตะกร้ าเงิน
8. ระบบอัตราลอยตัวกึง่ จัดการ (Managed Float)
การควบคุมอัตราแลกเปลีย่ น
เนื่องจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศมีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับดุลการค้าและ
ดุลการชาระเงินของประเทศ ดังนั้น เพื่อป้ องกันและแก้ไขปั ญหาความไม่สมดุล
อย่างมากเกินควรของดุลการชาระเงินประเทศต่าง ๆ จึงได้มีมาตรการต่าง ๆ ในการ
ควบคุมอัตราแลกเปลี่ยนแม้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนขึ้นลงเสรี เอง มาตรการต่าง ๆ
ที่สาคัญ มีดงั นี้
1.การกาหนดศูนย์ กลางแลกเปลีย่ นเงินตราแห่ งเดียว
2.การกาหนดอัตราแลกเปลีย่ นหลายอัตรา (Multi Exchange Rate)
3.การซื้อขายเงินตราต่ างประเทศโดยทางการ
4.การเปลีย่ นแปลงค่ าของเงิน
วิธีเสนออัตราแลกเปลีย่ นในตลาดเงินตรา
ตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศแบ่งเป็ นตลาดภายในประเทศซึ่งได้แก่
ฝ่ ายปริ วรรตเงินตราต่างประเทศของธนาคารพาณิ ชย์ต่าง ๆ และตลาด
ต่างประเทศซึ่งตั้งอยูใ่ นเมืองสาคัญต่าง ๆ ของโลก เช่น นิวยอร์ก
ลอนดอน ซูรค แฟรงเฟริ ต ฮ่องกง เป็ นต้น วิธีการเสนอแลกเปลี่ยนที่
นิยมกันมี 2 วิธี คือ
1.เสนออัตราแลกเปลีย่ นโดยตรง (Direct หรือ Price
Quotation)
2.เสนออัตราแลกเปลีย่ นโดยอ้อม (Indirect หรือ Quantity
Quotation)
ชนิดของอัตราแลกเปลีย่ น
ในธุรกิจการค้าทัว่ ไป การซื้ อขายเงินตราต่างประเทศเพื่อชาระหนี้กระทากันด้วยวิธีต่าง
ๆ โดยมีธนาคารพาณิ ชย์ในแต่ละประเทศเป็ นตัวกลางที่สาคัญ ดังนั้น ธนาคาร
พาณิ ชย์ จึงย่อมได้ประโยชน์เป็ นค่าแตกต่างของอัตราแลกเปลี่ยนพร้อมทั้งค่าป่ วย
การมากน้อยแล้วแต่ชนิดของของอัตราแลกเปลี่ยนที่แตกต่างกัน ดังนี้
1.การโอนเงินทางโทรเลข (Cables หรือ T/T หรือ C/C)
2.การสั่ งจ่ ายด้ วยดร๊ าฟ (D/D)
3.อัตราสาหรับตั๋วเงินการค้ าที่จ่ายเมื่อเห็น (Sight Bill Rate)
4. อัตราสาหรับตั๋วเงินการค้ าที่จ่ายเงินตามกาหนดเวลา (Time Bill Rate)
การชาระเงินระหว่ างประเทศ
การชาระเงินระหว่างเจ้าหนี้กบั ลูกหนี้ หรื อชาระกับผูช้ าระซึ่ งอยูค่ นละประเทศห่างไกล
กันจาเป็ นต้องอาศัยตัวกลาง ซึ่ งได้แก่ธนาคารพาณิ ชย์เป็ นผูอ้ านวยความสะดวกให้
ยิง่ ถ้าหากเป็ นการชาระเงินในเรื่ องของการค้าซึ่ งผูซ้ ้ื อสิ นค้าและผูข้ ายสิ นค้ามิได้อยู่
ในประเทศเดียวกันและมิได้มีความสัมพันธ์กนั มากนัก ความไม่มนั่ ใจซึ่ งกันและ
กันในการปฏิบตั ิตามสัญญาจะเป็ นปั ญหาสาคัญยิง่ โดยเฉพาะในการชาระเงิน
ระหว่างประเทศ ทั้งการชาระเงินระหว่างประเทศทัว่ ไปและการชาระเงินระหว่าง
ประเทศทางการค้า
1. การชาระเงินระหว่ างประเทศทัว่ ไป
2. การชาระเงินระหว่ างประเทศการค้ า เช่ น เรียกเก็บเงินภายหลัง (Open
Account)
ตั๋วแลกเงิน (Bill of Exchange) เลตเตอร์ ออฟเครดิตการค้ า
(Commercial Letter of Credit)
การซื้อขายเงินตราระหว่ างประเทศล่ วงหน้ า
การซื้ อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (Forward Exchange) หมายถึง
การซื้ อหรื อขายเงินตราต่างประเทศโดยจะส่ งมอบเงินตราต่างประเทศนั้นในภาย
หน้าและจะชาระค่าซื้ อหรื อขายเงินตราต่างประเทศนั้นเป็ นเงินสกุลท้องถิ่น เมื่อได้
ส่ งมอบเงินตราต่างประเทศมีการเปลี่ยนแปลง
โดยเหตุที่อตั ราแลกเปลี่ยนเงินภายในประเทศกับเงินตราต่างประเทศมีการ
เปลี่ยนแปลงขึ้นลงเสมอตามปั จจัยและสภาพการณ์ต่าง ๆ การเปลี่ยนแปลงของ
อัตราแลกเปลี่ยนนี้จะกระทบกระเทือนต่อการชาระหนี้ การค้าระหว่างประเทศทั้ง
ฝ่ ายผูช้ าระเงินคือลูกหนี้และฝ่ ายผูร้ ับชาระคือเจ้าหนี้ ทั้งนี้ เพราะการตกลงซื้ อขาย
สิ นค้าระหว่างประเทศมักกาหนดราคาในรู ปเงินตราสกุลดังกล่าวมาแล้ว ดังนั้น
ฝ่ ายผูซ้ ้ื อสิ นค้าหรื อผูส้ ั่งสิ นค้าเข้าจึงต้องใช้เงินตราของประเทศของตนแลกเปลี่ยน
เป็ นเงินสกุลหลักที่ตกลงกันไว้กบั ผูข้ าย ณ ธนาคารพาณิ ชย์
การซื้อขายเงินตราระหว่ างประเทศล่ วงหน้ า
การซื้อขายเงินตราต่ างประเทศล่วงหน้ าเพือ่ ป้ องกันความเสี่ ยงภัย
การซื้อขายเงินตราต่ างประเทศล่วงหน้ าเพือ่ เก็งกาไร
การกาหนดอัตราแลกเปลีย่ นล่วงหน้ า
สิ ทธิถอนเงินพิเศษ (Special Drawing Rights or SDR)
เมื่อมีการร่ วมกันก่อตั้งกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund หรื อ IMF) ขึ้นในปี ค.ศ.
1947 ก็ได้มีขอ้ เสนอจากประเทศสมาชิกหลายประการในอันที่จะแก้ไขปัญหาการเงินระหว่างประเทศที่สาคัญ ๆ เช่น ปัญหาอัตรา
แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและปัญหาการขาดดุลการชาระเงิน ในส่ วนของปัญหาอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศได้
มีการพัฒนาจากการกาหนดอัตราแลกเปลี่ยนคงที่มาเป็ นอัตราแลกเปลี่ยนขึ้นลงเสรี ซึ่งสามารถแก้ไขปัญหาบางอย่างได้ดงั กล่าว
มาแล้ว ส่ วนปัญหาการขาดดุลการชาระเงินของประเทศต่าง ๆ ได้มีการเสนอโครงการสิ ทธิถอนเงินพิเศษขึ้น และได้รับการ
เห็นชอบจากสมาชิกเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1969
จุดมุ่งหมายของการสร้างสิ ทธิถอนเงินพิเศษขึ้นก็เพื่อเพิ่มสภาพคล่องระหว่างประเทศให้เพียงพอกับการค้าของโลกที่ขายาตัวขึ้น เพราะ
ได้มีการยอมรับก่อนหน้านั้น
แล้วว่าทุนสารองระหว่างประเทศต่าง ๆ มีอยูอ่ นั ได้แก่ ทองคา และเงินตราต่างประเทศสกุลต่าง ๆ มีไม่เพียงพอกับความต้องการใน
การค้าระหว่างประเทศ และเนื่องจากสิ ทธิถอนเงินพิเศษเป็ นโครงการที่ยงั ไม่ได้เคยมีมาก่อน สมาชิกบางประเทศยังไม่แน่ใจว่า
ทุนสารองระหว่างประเทศชนิดใหม่น้ ีจะประสบความสาเร็จหรื อไม่ กองทุนการเงินระหว่างประเทศซึ่งเป็ นเจ้าของโครงการจึง
อนุญาตให้สมาชิกเข้าร่ วมหรื อไม่เข้าร่ วมในโครงการก็ได้แล้วแต่ใจสมัคร
สิ ทธิถอนเงินพิเศษ เป็ นทุนสารองระหว่างประเทศซึ่งไม่มีตวั ตนและไม่มีสินทรัพย์ใด ๆ หนุนหลังทั้งสิ น มีสภาพเป็ นเพียงตัวเลขใน
บัญชีที่อยูท่ ี่กองทุนการเงินระหว่างประเทศโดยกาหนดให้สิทธิ ถอนเงินพิเศษ 1 หน่วย มีค่าเท่ากับน้ าหนักทองคา 0.888671 กรัม
การเทียบกับน้ าหนักทองคาจานวนนี้กเ็ พื่อให้มีค่าเท่ากับเงิน 1 ดอลลาร์สหรัฐ แต่ประเทศที่มีสิทธิถอนเงินพิเศษไม่สามารถนาไป
แลกเป็ นทองคาแต่อย่างใด คงสามารถใช้สิทธิถอนพิเศษนี้ไปในการชาระหนี้ระหว่างประเทศ ซึ่งอาจเป็ นการชาระด้วยว่าจะใช้
SDR โดยตรงหรื อนาไปแลกเป็ นเงินตราประเทศอื่นก่อนก็ได้ โดยมีขอ้ แม้ดว้ ยว่าจะใช้ SDR ได้ต่อเมื่อดุลการชาระเงินขาด
ดุลเป็ นจานวนมาก และทุนสารองระหว่างประเทศรู ปอื่น ๆ ก็ได้ใช้ไปจนเหลืออยูน่ อ้ ยมากแล้วเท่านั้น
สิ ทธิถอนเงินพิเศษ (Special Drawing Rights or SDR)
1. การจัดสรร SDR
กองทุนการเงินระหว่างประเทศมีระเบียบการจัดสรร SDR ให้กบั ประเทศสมาชิกมากน้อยแตกต่างกันตรมจานวนโควตา ซึ่ งระบุจานวนทรัพย์สินที่
ประเทศสมาชิกนาส่ งสมบทไว้ที่กองทุนฯ เมื่อจัดสรรแล้วก็จะบันทึกไว้ในบัญชีที่กองทุนฯ และให้ธนาคารของประเทศที่ได้รับจัดสรรรับทราบ
ประเทศที่ได้รับจัดสรรจะสามารถมาใช้ SDR ในส่ วนที่ได้รับจัดสรรได้แต่ตอ้ งไม่เกินร้อยละ 70 ของจานวนที่ได้รับจัดสรรเฉลี่ยจานวน
ทั้งหมดที่ได้รับจัดสรรมาภายในเวลา 5 ปี ประเทศที่ได้รับจัดสรร SDR จะต้องเสี ยค่าบริ การในอัตรา 1.5 % ต่อปี ในขณะเดียวกันก็จะได้รับ
ดอกเบี้ยสาหรับ SDR ที่ถืออยูใ่ นอัตรา 1.5 % ต่อปี เท่ากัน ดังนั้น ประเทศที่มี SDR ส่ วนที่เกินโควต้าจะได้รับดอกเบี้ย และประเทศที่ถือ
SDR น้อยกว่าจานวนที่ได้รับจัดสรรจะต้องเสี ยค่าบริ การ ส่ วนประเทศที่ถือ SDR เท่าจานวนที่ได้รับจัดสรรตามโควตาจะไม่ได้เสี ยอะไร
เลย
การจัดสรร SDR เท่าที่กระทาไปแล้วตั้งแต่แรกจนถึงปั จจุบนั มีเพียง 3 งวด คือ งวดแรกในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1970 จัดสรรจานวน 3,414.1 ล้าน
หน่วยให้กบั ประเทศสมาชิก 104 ประเทศ งวดที่สองจัดสรรเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1971 จานวน 2,949.2 ล้านหน่วย มีประเทศที่ได้รับ 109
ประเทศ และงวดที่สามในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1972 จานวน 2,951.5 ล้านหน่วย ประเทศที่ได้รับ 112 ประเทศ
สาหรับประเทศไทยไม่ได้รับจัดสรร SDR ในงวดแรกเนื่องจากเข้าร่ วมไม่ทนั คงได้รับในสองงวดหลัง และเนื่องจากประเทศไทยมีโควตาน้อย จึงได้
SDR เพียง 28.5 ล้านหน่วย หรื อเท่ากับ 0.305 % ของ SDR ที่จดั สรรทั้งสิ้ น
2. การใช้ SDR
เมื่อประเทศที่ได้รับจัดสรร SDR จ่าย SDR ชาระหนี้ให้กบั ประเทศอื่นจะต้องแจ้งกองทุนการเงินระหว่างเพื่อหักบัญชี SDR ของประเทศที่ใช้
และเพิ่มให้กบั ประเทศที่ได้รับ SDR เพิ่ม ประเทศสมาชิกใดจะรับแลก SDR กับเงินตราของตนก็ได้ แต่มีขอ้ แม้วา่ ต้องเป็ นประเทศที่มี
ดุลการชาระเงินเกินดุลหรื อมีฐานะทุนสารองระหว่างประเทศมัน่ คง อย่างไรก็ตาม การรับ SDR เข้ามาในครอบครัวจะต้องไม่เกิน 3 เท่าของ
จานวนที่ได้รับจัดสรรการรับ SDR ในการชาระหนี้ถือเป็ นพันธะของประเทศสมาชิกจะปฏิเสธไม่ยอมรับมิได้ ดังนั้นนับแต่ปี ค.ศ.1970 เป็ น
ต้นมา SDR จึงกลายเป็ นส่ วนหนึ่งของทุนสารองระหว่างประเทศของประเทศต่าง ๆ นอกเหนือจากทองคา เงินตราต่างประเทศและหลักทรัพย์
ต่างประเทศอื่น ๆ
บทสรุป
• ในการติดต่อเพื่อทาการค้าระหว่างประเทศเป็ นสิ่ งที่ทุกประเทศได้เลือกปฏิบตั ิ เพื่อพัฒนา
เศรษฐกิจของประเทศตนให้ดีข้ ึน จึงทาให้ทุกวันนี้ประเทศต่างๆจาเป็ นต้องติดต่อพึ่งพาอาศัยซึ่ง
กันและกัน อาจกล่าวได้วา่ เกือบจะไม่มีประเทศใดที่สามารถอยูไ่ ด้อย่างปกติโดยไม่ตอ้ งติดต่อ
ค้าขายกับต่างประเทศ ประเทศใดก็ตามที่บงั เอิญต้องแยกตัวอยูโ่ ดดเดี่ยวชัว่ ระยะเวลาหนึ่ง
ประเทศนั้นจะตกอยูใ่ น สถานะหยุดอยูก่ บั ที่และจะต้องล้าหลังประเทศอื่นๆทันที ทั้งนี้ เพราะ
ลาพังสิ นค้าและบริ การที่แต่ละประเทศผลิตได้จะไม่สามารถพัฒนาประเทศชาติและการ
ดารงชีวติ ของประชาชนพลเมืองได้อย่างสมบูรณ์ แต่ละประเทศจึงควรมุ่งผลิตสิ นค้าที่ตนถนัด
และเอื้ออานวยจากทรัพยากรที่มีอยูแ่ ล้วนาไปและเปลี่ยนกับสิ นค้าของประเทศอืน่ โดย
กระบวนการซื้อขายระหว่างประเทศโดยผ่านตัวกลางเงินตรา ธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ
(International Trade) จึงต้องดาเนินควบคู่ไปกับธุรกิจการเงินระหว่างประเทศ
(International Finance) ซึ่งรวมถึงธุรกิจทางการเงิน (Financial
Transaction) และการเคลื่อนย้ายทุน (Capital Movements) ระหว่างประเทศ