ความสามารถในการแก้ปัญหา

Download Report

Transcript ความสามารถในการแก้ปัญหา

นำเสนอหัวข้อวิจยั
กลยุทธ์กำรใช้เทคโนโลยีเสริมศักยภำพที่แตกต่ำงกันในกำรเรียนรูแ้ บบโครงงำนเป็ น
ฐำนที่มีตอ่ ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำและกำรคิดวิเครำะห์ในกำรโปรแกรม
หุ่นยนต์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษำตอนต้น
DIFFERENT TYPES OF TECHNOLOGY ENHANCEDSCAFFOLDING STRATGIES IN PROJECT-BASED
LEARNING UPON PROBLEM SOLVING AND
ANALYTICAL THINKING ABILITIES IN
PROGRAMMING ROBOTS OF LOWER
SECONDARY SCHOOL STUDENTS
เสนอโดย
นาย สุปรีย ์ บูรณะกนิษฐ
ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปั ญหำ
• แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555-2559
นั้นมีจุดมุง่ หมายหลักว่า ยึดคนเป็ นศูนย์กลำงและพัฒนาอย่างบูรณา
การ เน้นความสาคัญกับ กำรกำรพัฒนำคน
ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปั ญหำ
• พระราชบัญญัติการศึกษา (2542) แก้ไขเพิ่มเติม (2545)
มาตรา 24 การพัฒนาคนว่า ในการจัดกระบวนการเรียนรู ้
ให้สถานศึกษาและหน่ วยงาน จัดเนื้อหำสำระและกิจกรรมให้สอดคล้อง
กับควำมสนใจและควำมถนัด ของผูเ้ รียน
โดยคานึ งถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึ กทักษะ กระบวนกำรคิด
กำรจัดกำร กำรเผชิญสถำนกำรณ์ และกำรประยุกต์ควำมรู ้
มำใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปั ญหำ
จัดกิจกรรมให้ผเู้ รียนได้เรียนรูจ้ ำกประสบกำรณ์จริง ฝึ กกำรปฏิบตั ิ ให้
ทาได้ คิดเป็ น ทาเป็ น
ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปั ญหำ
• จากการศึกษาการจัดการเรียนการสอนของประเทศไทยปั จจุบนั พบว่า
เด็กไทยไม่เก่งเรื่องการคิด กำรใช้เหตุผล สาเหตุเพราะครูไทยไม่
สันทัดเรื่องการใช้เหตุผล ครูสามารถให้ความรูท้ ี่เป็ นข้อเท็จจริง แต่
ไม่ได้ให้ควำมรูท้ ี่เป็ นทักษะกำรคิด (ทิศนา แขมมณี, 2544)
• วรรณิการ์ วงศ์มยุรา (2552) กล่าวว่า การเรียนการสอนในปั จจุบนั
ครูผสู้ อนไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสอน เน้นให้นักเรียนท่องจา
สูตร มิได้ปลูกฝังให้มีกระบวนกำรคิดวิเครำะห์และแก้ปัญหำ
นักเรียนจึงขำดทักษะในกำรวำงแผนกำรทำงำนและไม่มีความ
อดทนที่จะขบคิดปั ญหาเป็ นเวลานาน ๆ
ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปั ญหำ
• การคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking)
เป็ นทักษะทางปั ญญาในระดับที่ สูงขึ้ นไปกว่ากำรรูแ้ ละกำรเข้ำใจ
เป็ นควำมสำมำรถในกำรแยกแยะเรือ่ งรำวออกเป็ นส่วนย่อย ทั้ง
ในด้านองค์ประกอบ ควำมสัมพันธ์ หลักกำร
• และเป็ นการสร้างความสัมพันธ์ในแต่ละส่วนของข้อมูล เพื่อทำควำม
เข้ำใจควำมคิด หรือควำมสัมพันธ์ของควำมคิดที่มีผปู้ ระสงค์จะสื่อ
ความหมายให้ทราบอย่างชัดเจน (Bank, 1985)
ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปั ญหำ
ได้แบ่งลักษณะการคิดวิเคราะห์ออกเป็ น 3 ประเภท คือ
การวิเคราะห์เนื้ อหา ข้อมูลต่างๆ ที่ได้มานั้นสำมำรถแยกเป็ นส่วนย่อยได้
บางข้อความอาจเป็ นควำมจริง บางข้อความเป็ นค่านิ ยมและบางข้อความเป็ นควำม
คิดเห็นของผูเ้ ขียน
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ผูอ้ ่านจะต้องมีทกั ษะในกำรเชื่อมต่อ
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงข้อมูลหลักกับส่วนอื่นๆ ได้ ทั้งความสัมพันธ์ของ
สมมติฐาน ข้อสรุป รวมถึงชนิ ดของหลักฐานที่นามาแสดงด้วย
การวิเคราะห์หลักการ เป็ นการวิเครำะห์ระบบ โครงสร้ำง และหลักกำรที่
เกี่ยวข้อง ในการวิเคราะห์หลักการนี้ จะต้องวิเครำะห์แนวคิด จุดประสงค์ และ
มโนทัศน์
• Bloom (1972)
ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปั ญหำ
• จำกปั ญหำดังกล่ำวนี้ การจัดการเรียนการสอนจึงควรพัฒนาทักษะ
การคิดวิเคราะห์ให้กบั ผูเ้ รียน และเป็ นหน้าที่ของครูผูส้ อนที่ตอ้ ง
แสวงหาวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมให้นักเรียน
สามารถคิดวิเคราะห์ได้และวิธีกำรจัดกำรเรียนรูด้ ว้ ยกำรใช้
โครงงำนเป็ นฐำนเป็ นการจัดการเรียนรูท้ ี่ส่งเสริมให้ผเู้ รียนมีทกั ษะ
การคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหา
ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปั ญหำ
• วิธีการเรียนรูด้ ว้ ยโครงงาน (Project-based Learning) เป็ นวิธีการ
เรียนการสอนวิธีหนึ่ งที่มุง่ เน้นความสาคัญให้ผเู้ รียนได้คน้ พบ
สิ่งประดิษฐ์ใหม่ดว้ ยตนเองโดยใช้วิธีกำรทำงวิทยำศำสตร์และมี
อาจารย์เป็ นผูใ้ ห้คาปรึกษา (พิมพันธ์ เดชะคุปต์, 2553) นอกจากนี้
ยังทาให้ผเู ้ รียนมีส่วนร่วมในกำรเรียนกำรสอน รูจ้ กั พัฒนาวิธีการ
เรียนรู ้ และแสวงหาความรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง
ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปั ญหำ
• รวมไปถึงสอดคล้องกับตัวชี้ วัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ของ
กลุ่มสาระการเรียนรู ้ กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 2 การ
ออกแบบและเทคโนโลยี ของ สพฐ. (2551) ที่กล่าวถึง ความสัมพันธ์
ของตัวชี้วัดกับสำระกำรเรียนรูแ้ กนกลำงว่ำ
• การวิเคราะห์ระบบเทคโนโลยี ทาให้รูเ้ กี่ยวกับปั จจัยในด้ำนต่ำงๆที่
มีผลต่อกำรแก้ปัญหำหรือสนองความต้องการ
ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปั ญหำ
• รวมไปถึงสอดคล้องกับตัวชี้ วัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ของ
กลุ่มสาระการเรียนรู ้ กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 2 การ
ออกแบบและเทคโนโลยี ของ สพฐ. (2551) ที่กล่าวถึง ความสัมพันธ์
ของตัวชี้วัดกับสำระกำรเรียนรูแ้ กนกลำงว่า
• สร้างและพัฒนาสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการตามกระบวนการ
เทคโนโลยีอย่างปลอดภัยโดยถ่ำยทอดควำมคิดเป็ นภาพฉายและ
แบบจาลองเพื่อนาไปสู่ กำรสร้ำงชิ้นงำน โดยการสร้างนั้น ทาให้
ผูเ้ รียนทำงำนอย่ำงเป็ นระบบ สำมำรถย้อนกลับแก้ไขได้ง่ำย
ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปั ญหำ
• รวมไปถึงสอดคล้องกับตัวชี้ วัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ของ กลุ่มสาระ
การเรียนรู ้ กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 2 การออกแบบและ
เทคโนโลยี ของ สพฐ. (2551) ที่กล่าวถึง ความสัมพันธ์ของตัวชี้วัดกับสำระ
กำรเรียนรูแ้ กนกลำงว่า
• มีควำมคิดสร้ำงสรรค์ในกำรแก้ปัญหำหรือสนองความต้องการในการผลิต
หรือพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ผอู้ ื่นผลิต ทาให้ ผูเ้ รียนสร้างและพัฒนาสิ่งของเครื่องใช้
หรือวิธีการต้องอาศัยความรูท้ ี่เกี่ยวข้องอื่นอีก เช่น กลไกและกำรควบคุม
ไฟฟ้ำ-อิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้ง วิเครำะห์ผลดี ผลเสีย กำรประเมินและ
ตัดสินใจเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมำะสม
ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปั ญหำ
•
•
•
•
•
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ (2548) ให้ความหมายของวิธีการเรียนรูด้ ว้ ยโครงงานว่า
เป็ นกิจกรรมที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์
นักเรียนเป็ นผูร้ ิเริ่มและเลือกเรื่องที่จะศึกษา
นักเรียนเป็ นผูว้ างแผนในการศึกษาค้นคว้าเก็บข้อมูลด้วยตนเองตามความสนใจ
และระดับความรูค้ วามสามารถ
รวบรวมข้อมูล ดาเนิ นการปฏิบตั ิทดลองหรือประดิษฐ์คิดค้น
รวมทั้งการแปลผลสรุปผลและเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ในการ
ตอบปั ญหาที่สงสัยโดยมีอาจารย์หรือผูท้ รงคุณวุฒิเป็ นผูใ้ ห้คาปรึกษา
ดังนั้นวิธีกำรเรียนรูด้ ว้ ยโครงงำนเป็ นวิธีกำรเรียนที่ส่งเสริมให้ผเู ้ รียนได้คิด
วิเครำะห์ และแก้ปัญหำอย่ำงเป็ นระบบ
ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปั ญหำ
• โลกปั จจุบนั เป็ นโลกที่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์กำลังเข้ำมำมีบทบำทใน
ชีวิตประจำวัน เทคโนโลยี ไอซีที ได้รบั ควำมสนใจในหมู่เด็กและเยำวชน
มำก เด็กและเยาวชนเรียนรูผ้ ่านสื่อเทคโนโลยีได้รวดเร็ว ในปั จจุบนั ทักษะกำร
ใช้โปรแกรมเป็ นทักษะหนึ่งที่ตลำดแรงงำนต้องกำร และนักการศึกษาต่าง
ให้ความสาคัญกับการศึกษาทางด้าน
• ได้มีการใช้เครื่องมือเหล่านั้นคือ กำรใช้หุ่นยนต์ขนำดเล็กเพื่อมำประกอบกำร
เรียนกำรสอนนั ่นเอง หุน่ ยนต์ที่นามาใช้ประกอบการเรียนได้แก่ หุ่นยนต์โรโบ
โค้ดและหุน่ ยนต์สแตมป์ รวมทั้งหุน่ ยนต์ในไซเบอร์สสเปซแบบโอเพ็นซอร์ส ที่
ส่งเสริมกำรเรื่องกำรเรียนรู ้
ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปั ญหำ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) คณะ
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และองค์กรเอกชน
สานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติร่วมให้การ
สนับสนุ นด้วย มีวตั ถุประสงค์ เน้นในเรือ่ งกำรพัฒนำทำงควำมรู ้
ทำงด้ำนแก้ปัญหำและกำรเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้เป็ น
เรือ่ งสนุกสนำน ตืน่ เต้น ท้ำทำย และสร้ำงสรรค์เยำวชนรุ่นใหม่
เพื่อเป็ นกาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศ และกระตุน้ ความสนใจใน
ด้านการเขียนโปรแกรม และส่งเสริมให้เยำวชนได้ทำกิจกรรมและ
ใช้เวลำว่ำงให้เป็ นประโยชน์
ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปั ญหำ
จากการศึกษาการเรียนการสอนเกี่ยวกับหุ่นยนต์ในการศึกษาไทยนั้น
ผูว้ ิจยั พบว่าการจัดการเรียนรูเ้ กี่ยวกับหุ่นยนต์น้ันมีอยู่ 3 ระดับ ได้แก่
กำรจัดกำรเรียนรูข้ ้นั พื้นฐำน (Beginner level) กำรจัดกำรเรียนรู ้
ขั้นกลำง (Middle level) กำรจัดกำรเรียนรูข้ ้นั สูง (Advanced level)
โดยการจัดการเรียนรูข้ ้นั พื้ นฐานจัดให้กบั นักเรียนในระดับ
มัธยมศึกษา การจัดการเรียนรูข้ ้นั กลางจัดให้กบั นักเรียนในระดับ
อาชีวศึกษาและการจัดการเรียนรูข้ ้นั สูงจัดให้กบั นักศึกษาใน
ระดับอุดมศึกษา (ปรัชญนันท์ นิ ลสุข, จิรฏั ฐ์ แจ่มสว่าง, ชยการ คีรี
รัตน์, 2553 : คาสัมภาษณ์)
ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปั ญหำ
ซึ่งการจัดการเรียนรูข้ ้นั กลางและขั้นสูงนั้นในการเรียนการสอนใน
รายวิชาที่เกี่ยวกับหุ่นยนต์น้ันมีหลักสูตร และแผนการจัดการเรียนรู ้
ตามหลักสูตรที่ชดั เจน แต่การจัดการเรียนรูข้ ้นั พื้ นฐานนั้นพบว่า
โรงเรียนที่มีการเปิ ดสอนรำยวิชำที่เกี่ยวกับหุ่นยนต์ไม่มีแผนกำร
จัดกำรเรียนรูโ้ ดยเฉพำะ แต่ครูได้นำคู่มือกำรใช้หุ่นยนต์มำเป็ น
แนวทำงในกำรจัดกิจกรรมกำรสอน สอนให้นักเรียนควบคุม
หุ่นยนต์ให้ทางานได้ตามคาสัง่ ที่ตอ้ งการแต่ขำดกระบวนกำรสอนที่
ส่งเสริมให้นกั เรียนมีควำมสำมำรถในกำรคิดวิเครำะห์และ
แก้ปัญหำ (ปรัชญนันท์ นิ ลสุข, จิรฏั ฐ์ แจ่มสว่าง, ชยการ คีรีรตั น์,
2553 : คาสัมภาษณ์)
ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปั ญหำ
เนื่ องจากการโปรแกรมหุน่ ยนต์เบื้ องต้นต้องอาศัยความรูจ้ ากหลำยสำขำ ได้แก่
1) ด้านกลไก 2) ด้านอีเล็กทรอนิ กส์ 3) ด้านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มา
ประกอบกัน และมีควำมซับซ้อนในเนื้อหำ ดังนั้นผูเ้ รียนจำเป็ นจะต้องได้รบั
ควำมช่วยเหลือที่แตกต่ำงกันไป
วิก็อทสกี้ กล่าวไว้วา่ “ความสาคัญของความแตกต่างของบุคคลในการเรียนรู ้
บางคนจะเรียนรูไ้ ด้ก็ต่อเมื่อได้รบั การชี้ แนะหรือความช่วยเหลืออย่างอื่น แต่บาง
คนจะไม่สามารถที่จะเรียนรูไ้ ด้แม้วา่ ได้รบั การช่วยเหลือ และเชื่อว่า กำรให้
ควำมช่วยเหลือชี้แนะเด็กสำคัญมำก เพราะจะช่วยเด็กที่อยูใ่ นบริเวณความ
ใกล้เคียงพัฒนาเชาว์ปัญญา (The Zone of Proximal Development) ให้
สำมำรถทำงำนใหม่ ซึ่งเด็กไม่สำมำรถทำได้ดว้ ยตนเอง ให้สมั ฤทธิผลตำม
วัตถุปะสงค์ได้” (สุรางค์ โคว้ตระกูล, 2548)
ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปั ญหำ
เนื่ องจากการโปรแกรมหุน่ ยนต์เบื้ องต้นต้องอาศัยความรูจ้ ากหลำยสำขำ ได้แก่
1) ด้านกลไก
2) ด้านอีเล็กทรอนิ กส์
3) ด้านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มาประกอบกัน และมีควำมซับซ้อนในเนื้อหำ
ดังนั้นผูเ้ รียนจำเป็ นจะต้องได้รบั ควำมช่วยเหลือที่แตกต่ำงกันไป
ได้รบั การช่วยเหลือ และเชื่อว่า กำรให้ควำมช่วยเหลือชี้แนะเด็กสำคัญมำก
เพราะจะช่วยเด็กที่อยูใ่ นบริเวณความใกล้เคียงพัฒนาเชาว์ปัญญา (The Zone
of Proximal Development) ให้สำมำรถทำงำนใหม่ ซึ่งเด็กไม่สำมำรถทำ
ได้ดว้ ยตนเอง ให้สมั ฤทธิผลตำมวัตถุปะสงค์ได้” (สุรางค์ โคว้ตระกูล,
2548)
ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปั ญหำ
ดังนั้นการเรียนการสอนเทคโนโลยีหุ่นยนต์น้ันจำเป็ นอย่ำงยิ่งที่ตอ้ ง
มีกำรเสริมศักยภำพ (Scaffolding) เพื่อให้นักเรียนสามารถทางาน
ลุล่วงด้วยดี และพัฒนำควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำและกำรคิด
วิเครำะห์ของนักเรียน
กำรเสริมศักยภำพ (Scaffolding) หมายถึง การให้ความช่วยเหลือใน
การเรียนรูจ้ ากผูเ้ ชี่ยวชาญ ผูส้ อน หรือเพื่อนๆด้วยกันเอง เพื่อให้
ผูเ้ รียนสำมำรถทำงำน แก้ปัญหำให้สำเร็จลุล่วงไปได้ดว้ ยดี ซึ่งเมื่อ
ผูเ้ รียนปฏิบตั ิงานสาเร็จ การช่วยเหลือก็จะยุติลง
ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปั ญหำ
การเสริมศักยภาพ (Scaffolding) ที่ดีน้ันควรเป็ นการช่วยเหลือผูเ้ รียนในการ
เรียนเพื่อให้ผเู้ รียนสามารถทางานได้ แก้ปัญหาได้อย่างถูกทาง โดยบุคคลและ
เครื่องมือชนิดต่ำงๆในกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน เป็ นกำรแนะแนวทำง
และสนับสนุนควำมพยำยำมของผูเ้ รียนในการเรียนรู ้ การเสริมศักยภาพมี
ดังนี้
1) การช่วยเหลือการสร้างความคิดรวบยอด (Conceptual Scaffolding)
2) การช่วยเหลือด้านความคิด (Metacognition Scaffolding)
3) การช่วยเหลือด้านกระบวนการ (Procedure Scaffolding) เป็ นการแนะ
แนวทางวิธีการใช้แหล่งการเรียนรูแ้ ละเครื่องมือ
4) การช่วยเหลือกลยุทธ์ (Strategie Scaffolding) และแนวทางเกี่ยวกับการ
แก้ปัญหา (Hannafin, 1999)
ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปั ญหำ
กำรเสริมศักยภำพแบบยืดหยุน่ (Soft Scaffolding) และกำรเสริม
ศักยภำพแบบคงที่ (Hard Scaffolding) โดยที่
แบบที่ 1 คือ การเสริมศักยภาพแบบยืดหยุน่ (Soft Scaffolding) เป็ นการให้
การช่วยเสริมศักยภาพที่เป็ นการให้ควำมสนับสนุนผูเ้ รียนในควำมต้องกำร
ของผูเ้ รียนโดยเฉพำะแต่ละเรื่องโดยผูส้ อน แล้วให้ผลตอบกลับแก่ผเู ้ รียน
อาจเป็ นไปในการใช้คาแนะนาหรือนาแนวทาง (Guide) ในการค้นหาคาตอบ
การให้คาแนะนาในลักษณะเป็ นรูปแบบ การให้คาแนะนาในกระบวนการกลุ่ม
แบบที่ 2 คือ การเสริมศักยภาพแบบคงที่ (Hard Scaffolding) เป็ นการให้การ
ช่วยเสริมศักยภาพที่เป็ นการให้ควำมสนับสนุนผูเ้ รียนให้สำมำรถพัฒนำจำก
ควำมรูเ้ ดิมให้มำกขึ้นได้จำกกำรเชื่อมโยงฐำนควำมรูเ้ ดิมและข้อคาถามนั้นๆ
Hannafin & Oilver (1999)
ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปั ญหำ
ในการวิจยั ครั้งนี้ ได้นาเทคโนโลยีส่งเสริมศักยภาพของผูเ้ รียนแบบ
ยืดหยุน่ และคงที่มาใช้ซึ่งในกระบวนการของการเสริมศักยภาพแบบ
ยืดหยุน่ นั้นได้มีการใช้เว็บการเรียนการสอน ที่มี FAQ และการให้
ตัวอย่างโปรแกรม การให้ชมคลิปวิดีโอเสริมความรู ้ อีกทั้งการให้
Peer interaction และ Teacher interaction ด้วย ส่วนของการเสริม
ศักยภาพแบบคงที่ได้ใช้กระบวนการที่คล้ายกันแต่ต่างกันที่จงั หวะใน
การให้เฉลยก่อนหลังที่แตกต่างกัน
ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปั ญหำ
กำรช่วยเสริมศักยภำพ Scaffolding
กลุ่มทดลองที่ 1การใช้เทคโนโลยีเสริมศักยภาพของผูเ้ รียน
แบบยืดหยุ่น (Soft)
กลุ่มทดลองที่ 2 การใช้เทคโนโลยีเสริมศั กยภาพ
ของผู้เรียนแบบคงที่ (Hard)
1.กำรจัดกำรเรียนกำรสอนผ่ำนเว็บ(Web-Based Instruction)
- บทเรียน เรื่องหุ่นยนต์
- กำรเขียนโปรแกรมหุ่นยนต์
-การเขียนโปรแกรมบนเว็บโดยการให้นกั เรียนถามตอบ
เกี่ยวกับวิธีการเขียนflow chartว่ามีวิธีการเขียนอย่างรร
-กำรเรียนรูแ้ บบโครงงำนเป็ นฐำน
1. กำรจัดกำรเรียนกำรสอนผ่ำนเว็บ(Web-Based Instruction)
- บทเรียน เรื่องหุ่นยนต์
- กำรเขียนโปรแกรมหุ่นยนต์
- การให้ตวั อย่างผังงาน(Flow chart)พร้อมกับตัวอย่างการ
เขียนโปรแกรม
-กำรเรียนรูแ้ บบโครงงำนเป็ นฐำน
2. กำรใช้วิดีโอสำรคดีเสริมควำมรู(้ เน้นเชื่อมโยงควำมรูใ้ หม่)
โดยการให้นกั เรียนสรุปความรูท้ ี่เกิดขึ้นบนบล็อกกลุ่ม เน้น
ปฏิสมั พันธ์ระหว่างเพื่อนสู่เพื่อน(Peer interaction)
2. กำรใช้วิดีโอสำรคดีเสริมควำมรู(้ เน้นเชื่อมโยงควำมรูใ้ หม่)
3. CSCL กำรใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนกำรเรียนรูแ้ บบมีส่วน
ร่วม
- เมื่อนักเรียนปฏิบตั งิ านเข้าใจแล้วให้นกั เรียนเขียนflow
chart แล้วให้เพื่อนตรวจสอบflowchart ของกันและกัน
หลังจากนัน้ ครูจงึ เฉลยflowchart ที่ถูกต้องให้นกั เรียนทราบ
ภายหลัง(Teacher interaction) เขียนเป็ นรำยงำนโดยใช้
เว็บบล็อกกลุ่ม
3. CSCL กำรใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนกำรเรียนรูแ้ บบมีส่วน
ร่วม
- รำยงำนกิจกรรมกำรทำงำน เป็ นรำยคำบ ให้นกั เรียนเขียน
flowchartภายหลังจากปฏิบตั งิ านแล้วและส่งจากนัน้ ครู
เฉลยคาตอบ
4. ปฏิบตั กิ ำรทำโครงงำนตำมรูปแบบกำรทำโครงงำน
มีกำรให้ควำมรูเ้ กี่ยวกับโครงงำนผ่ำนเว็บกำรเรียนกำรสอน
4. ปฏิบตั กิ ำรทำโครงงำนตำมรูปแบบกำรทำโครงงำน
มีกำรให้ควำมรูเ้ กี่ยวกับโครงงำนผ่ำนเว็บกำรเรียนกำรสอน
โดยมีการให้เฉลยเขียน flowchart
โดยมีครูตอบข้อซักถาม(Teacher interaction)
ที่มีการสรุปทบทวนเนื้อหาจากการดูวิดีโอในตอนท้าย
ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปั ญหำ
กำรช่วยเสริมศักยภำพ Scaffolding
กลุ่มทดลองที่ 1การใช้เทคโนโลยีเสริมศักยภาพของผูเ้ รียน
แบบยืดหยุ่น (Soft)
กลุ่มทดลองที่ 2 การใช้เทคโนโลยีเสริมศั กยภาพ
ของผู้เรียนแบบคงที่ (Hard)
5. วัดควำมรู ้ กำรแก้ปัญหำและกำรคิดวิเครำะห์ วัดระหว่ำง
เรียน โดยกำรใช้ Computer test ผ่ำนเว็บกำรเรียน
กำรสอน โดยกำหนดเวลำในกำรทำแบบทดสอบด้วยกำรให้
5. วัดควำมรู ้ กำรแก้ปัญหำและกำรคิดวิเครำะห์ วัดระหว่ำง
เรียน โดยกำรใช้ Computer test ผ่ำนเว็บกำรเรียน
กำรสอน โดยกำหนดเวลำในกำรทำแบบทดสอบด้วยกำรให้
นักเรียน Login เข้ำมำตำมเวลำที่กำหนด
นักเรียน Login เข้ำมำตำมเวลำที่กำหนด
6. ปฏิบตั กิ ำรทำโครงงำน ตำมรูปแบบกำรทำโครงงำน มีกำร 6. ปฏิบตั กิ ำรทำโครงงำน ตำมรูปแบบกำรทำโครงงำน มีกำร
ให้ควำมรูเ้ กี่ยวกับโครงงำนผ่ำนเว็บกำรเรียนกำรสอน
ให้ควำมรูเ้ กี่ยวกับโครงงำนผ่ำนเว็บกำรเรียนกำรสอน
7. โดยมีครูตอบข้อซักถาม(Teacher interaction)
8. นำเสนอโครงงำนและกำรทดสอบหลังเรียน แบบวัดกำร
แก้ปัญหำ, แบบวัดกำรคิดวิเครำะห์, แบบประเมินกำรทำ
โครงงำนหุ่นยนต์ (ใช้ rubric scoring)
7. โดยมีการให้เฉลยเขียน flowchart
8. นำเสนอโครงงำนและกำรทดสอบหลังเรียน แบบวัดกำร
แก้ปัญหำ, แบบวัดกำรคิดวิเครำะห์, แบบประเมินกำรทำ
โครงงำนหุ่นยนต์ (ใช้ rubric scoring)
วัตถุประสงค์กำรวิจยั
เพื่อศึกษาผลของเทคโนโลยีเสริมศักยภำพที่แตกต่ำงกันด้วย
การเรียนรูแ้ บบโครงงานเป็ นฐานที่มตี ่อควำมสำมำรถในกำร
แก้ปัญหำและกำรคิดวิเครำะห์ในวิชาการโปรแกรมหุ่นยนต์ของ
นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
1.
คำถำมกำรวิจยั
การเรียนโดยเทคโนโลยีเสริมศักยภาพที่แตกต่ำงกันด้วยการ
เรียนรูแ้ บบโครงงานเป็ นฐานสามารถส่งเสริมให้นักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 1มีควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำหรือไม่
2. การเรียนโดยเทคโนโลยีเสริมศักยภาพที่ แตกต่ำงกันด้วยการ
เรียนรูแ้ บบโครงงานเป็ นฐานสามารถส่งเสริมให้นักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 1มีควำมสำมำรถในกำรคิดวิเครำะห์หรือไม่
1.
สมมุตฐิ ำนกำรวิจยั
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ที่เรียนโดยใช้เทคโนโลยีเสริม
ศักยภาพที่แตกต่างกันด้วยการเรียนรูแ้ บบโครงงานเป็ นฐานมี
ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ
2.นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ที่เรียนโดยใช้เทคโนโลยีเสริม
ศักยภาพที่แตกต่างกันด้วยการเรียนรูแ้ บบโครงงานเป็ นฐานมี
ควำมสำมำรถในกำรคิดวิเครำะห์
1.
ขอบเขตกำรวิจยั
1.
ประชำกร
ประชากรที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ เป็ นของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ปี การศึกษา 2554
ของโรงเรียนสาธิตในสังกัดมหาวิทยาลัย
2. กลุม
่ ตัวอย่ำง
2.1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั นี้ เป็ นของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปี ที่ 1 จานวน
30 คน ของโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ ายมัธยม ที่เรียนวิชาการโปรแกรม
หุน่ ยนต์ ซึ่งประกอบด้วย
2.1.1. นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ที่สนใจในวิชาเลือกเสรี วิชาการโปรแกรม
หุน่ ยนต์
2.1.2. มีความพร้อม สนใจที่จะเรียนรูแ้ ละมีพนฐานการเรี
ื้
ยนรูว้ ชิ าการโปรแกรม
หุน่ ยนต์
ทั้งนี้ เพื่อให้กลุ่มตัวอย่างมีพนความรู
ื้
ค้ วามสามารถใกล้เคียงกันมากที่ สุด
3. ระยะเวลำที่ใช้ในกำรเก็บรวบรวมข้อมูล
ใช้เวลาในภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2554 สัปดาห์ละ 2 ครั้ง เป็ นเวลา 12 สัปดาห์
ตัวแปรที่ศึกษำ
1 ตัวแปรอิสระ
ตัวแปรอิสระที่ใช้ในการวิจยั คือ กำรใช้เทคโนโลยีเสริมศักยภำพของ
ผูเ้ รียนที่ตำ่ งกัน
1.1. การเรียนโดยใช้โครงงานเป็ นฐานด้วยการใช้เทคโนโลยีเสริม
ศักยภาพของผูเ้ รียนแบบคงที่ (Hard)
1.2. การเรียนโดยใช้โครงงานเป็ นฐานด้วยการใช้เทคโนโลยีเสริม
ศักยภาพของผูเ้ รียนแบบยืดหยุน
่ (Soft)
2 ตัวแปรตำม
2.1 ความสามารถในการแก้ปัญหา
2.2 ความสามรถในการคิดวิเคราะห์
ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รบั
1. ได้แนวทำงในกำรพัฒนำควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำให้กบ
ั นักเรียนชั้น
มัธยมศึกษำปี ที่ 1 ที่เรียนรูใ้ นวิชาการโปรแกรมหุ่นยนต์ดว้ ยการเรียนรูแ้ บบโครงงานเป็ น
ฐานโดยใช้เทคโนโลยีเสริมศักยภาพ
2. ได้แนวทำงในกำรพัฒนำควำมสำมำรถในกำรคิดให้กบ
ั นักเรียนชั้น
มัธยมศึกษำปี ที่ 1 ที่เรียนรูใ้ นวิชาการโปรแกรมหุน่ ยนต์ดว้ ยการเรียนรูแ้ บบโครงงานเป็ น
ฐานโดยใช้เทคโนโลยีเสริมศักยภาพ
3. เป็ นแนวทำงในกำรปลูกฝังควำมคิด ควำมรูแ้ ละนำเทคโนโลยีที่ได้ จำกรุน
่ พี่สู่
รุน่ น้องไปใช้ในอนำคต และสร้างตัวอย่างที่ดีในการถ่ายทอดความรูแ้ ละเทคโนโลยี มาใช้
เพื่อพัฒนำตนเองเพื่อก้ำวไปสู่ นักวิทยำศำสตร์และนักวิศวะน้อย ในอนำคต เป็ นสื่อใน
การเรียนการสอนภาคปฏิบตั ิกบั วิชาอื่นๆ ต่อไป
4. ได้แนวทำงในกำรจัดกำรเรียนกำรสอนวิชาโปรแกรมหุ่นยนต์เพื่อนำไปใช้กบ
ั
สถำนศึกษำต่ำงๆ ที่สนใจเปิ ดสอนวิชานี้
กำรเลือกกลุม่ ตัวอย่ำง
1.
คัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปี ที่ 1 จานวนทั้งหมด 7 ห้องเรียน
สมัครเข้ามาเรียนในวิชาโครงงานหุน่ ยนต์ ซึ่งเป็ นวิชาเลือกเสรี จำนวน 30 คน
จำกทั้งหมด 7 ห้อง
2. ทาการสุ่มกลุ่มตัวอย่างเข้าสู่กลุ่มทดลอง จำนวน 30 คน จึงคัดเลือก
เข้ำกลุ่มย่อยจำนวน 10 กลุ่ม กลุ่มละ 3 คน โดยให้ทาแบบวัดความรูเ้ บื้ องต้น
เกี่ยวกับการโปรแกรมหุน่ ยนต์เพื่อให้ทุกกลุ่มมีความสามารถเท่าเทียมกัน แต่
ละกลุ่มมีสมาชิกที่มีควำมคละกัน เป็ นการควบคุมตัวแปรที่อาจจะเกิดขึ้ นกับ
งานวิจยั จากนั้นทากำรสุ่มตัวอย่ำงเข้ำกลุ่มทดลองที่ 1 และกลุ่มทดลองที่ 2
ได้จำนวน 5 กลุ่ม กลุ่มละ 3 คน
กำรเลือกกลุม่ ตัวอย่ำง
7 ห้อง
30 คน
แบบวัดความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการโปรแกรมหุ่นยนต
15 คน
15 คน
3 คน
3 คน
3 คน
3 คน
3 คน
3 คน
3 คน
3 คน
3 คน
3 คน
แบบแผนกำรวิจยั
แบบการวิจยั ครั้งนี้ เป็ นแบบการวิจยั กึ่งทดลอง (Quasi Experimental Research)
ในรูปแบบการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง (Pretest - Posttest Control Group Design)
โดยมีรปู แบบดังนี้
E1 = R O1
X1 O2
E2
X2
= R O1
O2
เมือ
่ E เป็ นกลุ่มทดลองที่ 1และ 2
O1 เป็ น
แบบวัดความรูเ้ บื้ องต้นเกี่ยวกับการโปรแกรมหุน่ ยนต์
O2 เป็ น แบบวัดการแก้ปัญหาและคิดวิเคราะห์ในวิชาการโปรแกรมหุน
่ ยนต์
X1 เป็ น Treatment ได้รบ
ั การเรียนโดยใช้โครงงานเป็ นฐานด้วยการใช้เทคโนโลยีเสริม
ศักยภาพของผูเ้ รียนแบบคงที่ (Hard)
X2 เป็ น Treatment ได้รบ
ั การเรียนโดยใช้โครงงานเป็ นฐานด้วยการใช้เทคโนโลยีเสริม
ศักยภาพของผูเ้ รียนแบบยืดหยุน่ (Soft)
เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจยั
ในกำรวิจยั ครั้งนี้ ผูว้ ิจยั ใช้เครื่องมือในกำรเก็บรวบรวมข้อมูล 5 ชนิด
ประกอบด้วย
1. แผนการเรียนรูใ้ นวิชาโครงงานหุน
่ ยนต์ที่แตกต่างกัน ได้แก่
เป็ นแผนที่เกี่ยวกับการโปรแกรมหุน่ ยนต์ ที่ใช้เทคโนโลยีเสริมศักยภำพแบบ
ยืดหยุน่ และแบบคงที่
2. เว็บที่ใช้ในการเรียนในวิชาการโปรแกรมหุน
่ ยนต์
3. แบบวัดความรูเ้ บื้ องต้นในวิชาการโปรแกรมหุน
่ ยนต์
4. แบบทดสอบการแก้ปัญหาในวิชาการโปรแกรมหุน
่ ยนต์
5. แบบประเมินการทาโครงงานหุน
่ ยนต์ (ใช้ rubric scoring)
6. แบบวัดการคิดวิเคราะห์
จบแล้วครับ
ผลของกลยุทธ์กำรใช้เทคโนโลยีเสริมศักยภำพที่แตกต่ำงกันในกำร
เรียนรูแ้ บบโครงงำนเป็ นฐำนที่มีตอ่ ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำและกำร
คิดวิเครำะห์ในกำรโปรแกรมหุ่นยนต์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษำ
ตอนต้น
ขอบคุณครับ
กรอบแนวคิด
ผลของเทคโนโลยีส่งเสริมศักยภำพที่แตกต่ำงกันในกำรเรียนรูแ้ บบโครงงำนเป็ นฐำนที่มีตอ่ ควำมสำมำรถใน
Technology enhanced scaffolding
กำรนำเทคโนโลยีมำใช้เป็ นเครื่องมือเพื่อส่งเสริมศักยภำพกำรเรียนรูข้ องผูเ้ รียน
เพื่อให้ผเู ้ รียนสำมำรถเข้ำใจ จัดระบบ วิเครำะห์เพื่อนำไปสู่กำรเรียนรูท้ ี่ดีขึ้น
กำรแก้ปัญหำและกำรคิดวิเครำะห์ในกำรโปรแกรมหุ่นยนต์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษำตอนต้น
(Lamb and Smith, 1999)
กำรเรียนรูโ้ ครงงำน
(Project-based Learning)
กำรเรียนกำรสอนวิชำโปรแกรมหุ่นยนต์ภำคปฏิบตั ิกำร
ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ
(Problem solving ability)
ควำมสำมำรถในกำรคิดวิเครำะห์
(Analytical thinking)
โครงร่างวิทยานิพนธ์
ผลของเทคโนโลยีส่งเสริมศักยภำพที่แตกต่ำงกันในกำรเรียนรูแ้ บบ
โครงงำนเป็ นฐำนที่มีตอ่ ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำและกำรคิดวิเครำะห์ใน
กำรโปรแกรมหุ่นยนต์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษำตอนต้น
EFFECTS OF DIFFERENT TYPES OF TECHNOLOGY
ENHANCED-SCAFFOLDING IN PROJECT-BASED LEARNING
UPON PROBLEM SOLVING ABILITIES AND ANALYTICAL
THINKING IN ROBOT PROGRAMMING OF THE LOWER
SECONDARY STUDENTS SCHOOL