Transcript PowerPoint

Macroeconomics: เศรษฐศาสตร์มหาภาค
ขอบเขต:
1. ศึกษาเศรษฐกิจทั้งระบบ
2. ศึกษานโยบายเศรษฐกิจที่สาคัญ
3. ศึกษาเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์จลุ ภาค กับ เศรษฐศาสตร์มหาภาค
เศรษฐศาสตร์ จุลภาค
•นายเอกชัยพยายามใช้เงินที่มีอยูเ่ ลือกซื้ อ
สิ นค้าที่ทาให้เขาเกิดความพึงพอใจสู งสุด
•บริ ษทั ผลิตรองเท้าได้นาเครื่ องจักรที่ทนั สมัย
มาใช้แทนแรงงานคน เพื่อให้การผลิตมี
ประสิ ทธิภาพที่สุด เพื่อที่จะได้กาไรสูงสุ ด
เศรษฐศาสตร์ มหาภาค
•นายกฯพยายามเพิ่มรายได้ประชาชาติในปี นี้
ให้สูงกว่าปี ที่ผา่ นมาอย่างน้อย 5% โดยการ
เพิ่มปริ มาณการส่ งออก
•แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี หน้าจะขยายตัวได้
่ ี่เศรษฐกิจโลก
3-4 % ซึ่ งปั จจัยสาคัญยังอยูท
โดยเฉพาะสหรัฐฯ และสหภาพยุโรป หากฟื้ น
ตัวได้เร็ วจะส่ งผลดีต่อเศรษฐกิจไทยมาก
•ธนาคารแห่งประเทศไทยพยายามทาให้เงิน
บาทอ่อนตัวลงเพื่อช่วยเหลือผูส้ ่ งออก
1. รายได้ประชาชาติและผลิตภัณฑ์ประชาชาติ
รายได้ประชาชาติ (National Income: NI) และ
ผลิตภัณฑ์ภายในประเทศเบื้องต้น (Gross Domestic
Product : GDP)
ระบบบัญชีประชาชาติมี 3 ระบบ
1. ระบบขององค์การสหประชาชาติ
2. ระบบของประเทศสหรัฐอเมริกา
3. ระบบของกลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์
ไทยใช้ ระบบนี้
รายได้ประชาชาติ (National Income: NI) และ
ผลิตภัณฑ์ภายในประเทศเบื้องต้น (GDP) (ต่อ)
การคานวณหารายได้ประชาติและ GDP มี 3 แนวทาง คือ
1. การคานวณทางด้ านรายได้ (Income Approach)
2. การคานวณทางด้ านผลผลิต (Product Approach)
3. การคานวณทางด้ านรายจ่าย (Expenditure Approach)
รายได้ประชาชาติ (National Income: NI) และ
ผลิตภัณฑ์ภายในประเทศเบื้องต้น (GDP) (ต่อ)
ทบทวนเรือ่ งปั จจัยการผลิต (Productive Factors)
 ทีด
่ ิน (Land) ผลตอบแทน คือ ค่าเช่า (Rent)
 แรงงาน (Labor) หรือ ทรัพยากรมนุ ษย์(human resource) ผลตอบแทน คือ
ค่าจ้าง(Wage)
 ผูป้ ระกอบการ (Entrepreneur) ผลตอบแทนคือ กาไร(Profit)
 ทุน (Capitals) ผลตอบแทน
คือ ดอกเบี้ ย (interest)
รายได้ประชาชาติ (National Income: NI) และ
ผลิตภัณฑ์ภายในประเทศเบื้องต้น (GDP) (ต่อ)
National Income (NI) คือ ผลรวมของรายได้ ประเภทต่างๆที่บุคคลในระบบ
เศรษฐกิจได้ รับในฐานะเป็ นเจ้ าของปัจจัยการผลิต ในรอบระยะเวลาหนึ่งๆ (1 มกราคม-31
ธันวาคม)
Gross Domestic Product (GDP) คือ มูลค่ารวมของสินค้ าและบริการ
ขั้นสุดท้ ายที่สามารถผลิตขึ้นได้ ภายในประเทศในระยะเวลาหนึ่ง (1 มกราคม-31
ธันวาคม)
รายได้ประชาชาติ (National Income: NI) และ
ผลิตภัณฑ์ภายในประเทศเบื้องต้น (GDP) (ต่อ)
ค่ าใช้ จ่ายในการซื้อสิ นค้ าและบริการ (Expenditure Approach)
สิ นค้ าและบริการ(Product Approach)
หน่ วยธุรกิจ (Firms)
ครัวเรือน (Households)
ทีด่ นิ แรงงาน ทุน ผู้ประกอบการ
ค่ าเช่ า ค่ าแรง ดอกเบีย้ กาไร (Income Approach)
รายได้ประชาชาติ (National Income: NI) และ
ผลิตภัณฑ์ภายในประเทศเบื้องต้น (GDP) (ต่อ)
ค่ าใช้ จ่ายในการซื้อสิ นค้ าและบริการ (Expenditure Approach)
สิ นค้ าและบริการ(Product Approach)
รวมเป็ นมูลค่ าจะได้ GDP
หน่ วยธุรกิจ (Firms)
ครัวเรือน (Households)
ทีด่ นิ แรงงาน ทุน ผู้ประกอบการ
ค่ าเช่ า ค่ าแรง ดอกเบีย้ กาไร (Income Approach)
รวมกันจะได้ NI
ให้รายได้ประชาชาติเท่ากับผลิตภัณฑ์ภายในประเทศเบือ้ งต้น
National Income = GDP = Y
ตามทฤษฎี รายได้ ประชาชาติ (National Income: NI), ผลิตภัณฑ์
ภายในประเทศเบื้องต้ น (GDP), และผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้ น (GNP) จะมี
ความหมายแตกต่างกัน เพราะ:
1. ราคาสินค้ าที่ผ้ ูผลิตตั้งไว้ ในตลาดแตกต่างจากราคาต้ นทุนที่ผ้ ูผลิตใช้ ในการผลิต (ราคา
ที่ซ้ ือขายในตลาดเรียกว่า ราคาตลาด หรือ Market Price ส่วนราคาสินค้ าที่ต้ังเท่ากับ
ต้ นทุนการผลิตเรียกว่า ราคาทุน หรือ Factor Cost)
2. การค้ าระหว่างประเทศ
เนื่องจากหลักสูตรนี้มีระยะเวลาที่จากัดอย่างมาก ผู้สอนจึงสมมติให้ ราคาสินค้ าที่ซ้ ือขายใน
ตลาดเท่ากับต้ นทุนที่ใช้ ในการผลิต (Market Price = Factor Cost) และสมมติให้ ไม่มี
การค้ าระหว่างประเทศ ดังนั้น จากสมมติฐานนี้ รายได้ ประชาชาติจะมีค่าเท่ากับผลิตภัณฑ์
ภายในประเทศเบื้องต้ น หรือ National Income = GDP
คานวณด้านรายได้ (Income Approach)
รวมรายได้ ของผู้บริโภคทุกคนที่ได้ จากการขายปัจจัยการผลิตให้ แก่ผ้ ผู ลิตในช่วง
ระยะเวลาหนึ่ง (โดยทั่วไปใช้ 1 ปี ) ผลรวมที่ได้ คือ รายได้ ประชาชาติ (NI) ที่หาโดย
Income Approach
ค่าใช้จ่ายในการซื้อสิ นค้าและบริ การ
สิ นค้าและบริ การ(Product Approach)
หน่ วยธุรกิจ
ที่ดิน แรงงาน ทุน ผูป้ ระกอบการ
∑(ค่าแรง ค่าเช่า ดอกเบี้ย กาไร) = NI
ครัวเรือน
คานวณด้านผลผลิต (Product Approach)
นาจานวนสินค้ าและบริการขั้นสุดท้ ายที่ผ้ ผู ลิตทั้งประเทศผลิตได้ ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
(โดยทั่วไปใช้ 1 ปี ) มาคูณกับราคาของสินค้ าและบริการนั้นๆ ผลรวมของมูลค่าสินค้ าและ
บริการที่ได้ คือ GDP ที่หาโดย Product Approach
ค่าใช้จ่ายในการซื้อสิ นค้าและบริ การ
∑ มูลค่าสิ นค้าและบริ การ(Product Approach) = GDP
ครัวเรือน
หน่ วยธุรกิจ
ที่ดิน แรงงาน ทุน ผูป้ ระกอบการ
ค่าแรง ค่าเช่า ดอกเบี้ย กาไร
คานวณด้านรายจ่าย (Expenditure Approach)
นาค่าใช้ จ่ายที่ผ้ บู ริโภคทุกคนใช้ ในการซื้อสินค้ าและบริการจากผู้ผลิต (มีสมมติฐาน
ที่ว่า ผู้บริโภคใช้ เงินทั้งหมดที่มใี นการซื้อสินค้ าและบริการ) ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
(โดยทั่วไป 1 ปี ) มารวมกัน ผลรวมของค่าใช้ จ่ายต้ องเท่ากับผลรวมของรายได้ ท้งั หมด
ที่ได้ จากการขายปัจจัยการผลิต (ดังนั้น ผลรวมค่าใช้ จ่าย คือ NI) นอกจากนี้ ผลรวม
ค่าใช้ จ่ายก็ต้องมีมูลค่าเท่ากับมูลค่าสินค้ าทั้งหมด (ดังนั้น ผลรวมค่าใช้ จ่าย คือ
GDP) ดังนั้น สรุปว่า NI = GDP
∑ ค่าใช้จ่ายในการซื้อสิ นค้าและบริ การ = GDP = NI = Y
สิ นค้าและบริ การ(Product Approach)
ครัวเรือน
หน่ วยธุรกิจ
ที่ดิน แรงงาน ทุน ผูป้ ระกอบการ
ค่าแรง ค่าเช่า ดอกเบี้ย กาไร
ปัญหาด้านการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (ต่อ)
โดยทั่วไป นักเศรษฐศาสตร์มกั พิจารณาการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจของประเทศจาก
“อัตรา” การเปลี่ยนแปลงของตัวแปรทางเศรษฐกิจ
อัตราการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ = [(Xt – Xt-1) / Xt-1] * 100
โดยที่ Xt = ตัวแปรทางเศรษฐกิจใดๆที่ช่วงเวลา t
Xt-1 = ตัวแปรทางเศรษฐกิจใดๆที่ช่วงเวลา t-1
ตัวแปรอะไร (Xt) ที่ควรใช้ พิจารณาการเจริญเติบโต (หรือถดถอย) ทางเศรษฐกิจ ?
ปัญหาด้านการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (ต่อ)
ตัวแปรที่สาคัญที่นิยมใช้ พิจารณาการเจริญเติบโต (หรือถดถอย) ทาง
เศรษฐกิจ
 GDP (= Y)
 อัตราการว่างงาน (หรืออัตราการจ้ างงาน)
 ฯลฯ
หมายเหตุ: GDP ที่นามาใช้ ศึกษาการพัฒนาทางเศรษฐกิจต้ องเป็ น Real GDP เท่านั้น แต่เนื่องจากมีเวลา
จากัด จึงสมมติให้ Nominal GDP มีค่าเท่ากับ Real GDP
ปัญหาด้านการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (ต่อ)
ความรูเ้ บื้ องต้น
อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Economic Growth) สามารถคานวณได้ จาก อัตรา
การเปลี่ยนแปลงของ GDP ของปี ปัจจุบันกับปี ก่อนหน้ า ดังนี้
 Growth rate ปี 2004 = (GDP 2004 – GDP 2003) * 100%
GDP 2003
 Growth rate ปี ที่ n = (GDP n – GDPn-1) * 100 %
GDP n-1
ปัญหาด้านการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (ต่อ)
ความรูเ้ บื้ องต้น
การใช้ จ่ายเพื่อการบริโภคของครัวเรือนทั้งระบบเศรษฐกิจ (C) จะมากหรือน้ อยขึ้นอยู่
กับรายได้ ประชาชาติหรือ GDP
C = fn (Y)
โดยที่
C = ค่าใช้ จ่ายเพื่อการบริโภคของครัวเรือนทั้งประเทศ
Y = รายได้ ประชาชาติ (NI) = GDP
ปัญหาด้านการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (ต่อ)
เศรษฐกิจเจริญเติบโต หมายถึง
GDP (รายได้ ประชาชาติ) เพิ่มขึ้นในอัตราไม่น้อยกว่าอัตราการเจริญเติบโตใน
ช่วงเวลาที่ผ่านมา ส่งผลให้ ความต้ องการซื้อสินค้ าและบริการของประชาชนเพิ่มขึ้น
เนื่องจากรายได้ ท่สี งู ขึ้น ผู้ผลิตในประเทศเพิ่มกาลังการผลิตเพื่อตอบสนองความ
ต้ องการซื้อที่สงู ขึ้น เป็ นสาเหตุมกี ารจ้ างงานเพิ่มมากขึ้น อัตราการว่างงานลดต่าลง
 GDP มีค่าสูงขึ้นกว่าช่วงเวลาที่ผ่านมา
 อัตราการเพิ่มขึ้นของ GDP สูงขึ้น เช่น เศรษฐกิจในปี ที่ t มีการเจริญเติบโตถ้ า
(GDPt – GDPt-1)/GDPt-1 ≥ (GDPt -1 – GDPt-2)/GDPt-2
 อัตราการว่างงานลดต่าลง
ปัญหาด้านการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (ต่อ)
เศรษฐกิจถดถอย หมายถึง
GDP (รายได้ ประชาชาติ) ลดต่าลงกว่าช่วงเวลาที่ผ่านมา (อัตราการเจริญเติบโตติด
ลบเมื่อเทียบกับช่วงเวลาที่ผ่านมา) ส่งผลให้ ความต้ องการซื้อสินค้ าและบริการของ
ประชาชนลดลงเนื่องจากรายได้ ต่าลง ผู้ผลิตในประเทศลดกาลังการผลิตเพราะสินค้ า
และบริการขายไม่ออก มีการเลิกกิจการหรือธุรกิจล้ มละลายขึ้นมากมายในประเทศ
เป็ นสาเหตุให้ มกี ารจ้ างงานลดลง อัตราการว่างงานเพิ่มขึ้นอย่างมาก
 GDP มีค่าต่ากว่าช่วงเวลาที่ผ่านมา
 อัตราการเพิ่มขึ้นของ GDP ติดลบ เช่น เศรษฐกิจในปี ที่ t ถดถอยถ้ า
(GDPt – GDPt-1)/GDPt-1 0 เพราะ GDPt
<
 อัตราการว่างงานเพิ่มสูงขึ้น
< GDPt-1
ปัญหาด้านการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (ต่อ)
เศรษฐกิจชะลอตัว หมายถึง
GDP (รายได้ ประชาชาติ) เพิ่มสูงกว่าช่วงเวลาที่ผ่านมา (อัตราการเจริญเติบโตเป็ น
บวกเมื่อเทียบกับช่วงเวลาที่ผ่านมา) แต่อตั ราการเจริญเติบโตเพิ่มขึ้นในอัตราที่น้อย
กว่าอัตราการเติบโตในช่วงที่ผ่านมา ส่งผลให้ ความต้ องการซื้อสินค้ าและบริการของ
ประชาชนเท่าเดิมหรือเพิ่มขึ้นจากอดีตเล็กน้ อยเนื่องจากรายได้ ของประชาชนเท่าเดิม
หรือเพิ่มขึ้นไม่มาก ผู้ผลิตในประเทศไม่เพิ่มกาลังการผลิตเพราะสินค้ าและบริการมี
ยอดขายเท่าเดิมหรือเปลี่ยนแปลงน้ อยมาก เป็ นสาเหตุให้ มกี ารจ้ างงานและอัตราการ
ว่างงานเท่าเดิมหรือเปลี่ยนแปลงน้ อยเช่นกัน
 GDP มีค่าสูงกว่าช่วงเวลาที่ผ่านมา GDPt
> GDPt-1
 อัตราการเพิ่มขึ้นของ GDP เป็ นบวก โดยเศรษฐกิจในปี ที่ t ชะลอตัวถ้ า
0 < (GDPt – GDPt-1)/GDPt-1 ≤ (GDPt -1 – GDPt-2)/GDPt-2
 อัตราการว่างงานเท่าเดิมหรือลดลงเล็กน้ อย
ปัญหาด้านการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (ต่อ)
จงตอบคาถามต่อไปนี้: ที่ปี 2553 ระบบเศรษฐกิจในตัวอย่างมีการเจริญเติบโต หรือ
ชะลอตัว หรือ ถดถอย เมื่อเทียบกับปี 2552? (หน่วยของ GDP คือ ล้ านๆบาท)
EX 1: GDP2551 = 3.6, GDP2552 = 4.0, and GDP2553 = 3.8
EX 2: GDP2551 = 3.6, GDP2552 = 4.0, and GDP2553 = 4.2
EX 3: GDP2551 = 3.6, GDP2552 = 4.0, and GDP2553 = 4.5
2. ปัญหาที่สาคัญทางเศรษฐกิจ
ปัญหาทางเศรษฐกิจที่สาคัญ
ปัญหาทางเศรษฐกิจที่จะกล่าวถึง ได้ แก่
1.ปัญหาเงินเฟ้ อ (Inflation)
2.ปัญหาเงินฝื ด (Deflation)
3.ปัญหาการว่างงาน (Unemployment)
1.ปัญหาเงินเฟ้อ (Inflation)
คือ ภาวะที่ระดับราคาสินค้ าอุปโภคบริโภคสูงขึ้นเรื่อยๆ และไม่จาเป็ น
ว่าราคาสินค้ าทุกชนิดต้ องสูงขึ้นในเวลาที่เกิดเงินเฟ้ อ อาจมีสนิ ค้ าบาง
ชนิดที่ราคาลดลงได้ และบางชนิดราคาสูงขึ้น แต่ส่งิ สาคัญคือ เมื่อ
พิจารณาราคาทั้งหมดแล้ วโดยเฉลี่ยมีราคาสูงขึ้น เราดูเงินเฟ้ อได้ จาก
ดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (Consumer Price Index: CPI)
1.ปัญหาเงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
ดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) : ตัวเลขที่แสดงระดับราคาสินค้ าอุปโภคบริโภคของปี ใด
ปี หนึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับระดับราคาสินค้ าอุปโภคบริโภคของปี ฐาน โดยให้ ระดับราคา
สินค้ าอุปโภคบริโภคของปี ฐานเทียบเท่า 100
อัตราการเพิ่มของดัชนีราคาผู้บริโภคที่คานวณออกมาในรูปร้ อยละ แสดงถึง อัตราเงิน
เฟ้ อ
อัตราเงินเฟ้ อปี ที่ n = (CPI n - CPI n-1 ) * 100
CPI n-1
1.ปัญหาเงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
สาเหตุของการเกิดเงินเฟ้ อแบ่งเป็ น 2 สาเหตุหลัก:
1. เงินเฟ้ อที่เกิดจากด้ านอุปสงค์รวมเพิ่มขึ้น (Demand-Pull Inflation)
2. เงินเฟ้ อที่เกิดจากด้ านอุปทานรวมลดลง(Supply-Push Inflation)
1.ปัญหาเงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
อุปสงค์รวม (Aggregate Demand: AD): เป็ นความต้ องการซื้อสินค้ าและ
บริการรวมของประชาชนทั้งประเทศในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง (อาจเรียกว่ารายจ่ายรวมก็
ได้ )
อุปทานรวม (Aggregate Supply: AS): เป็ นปริมาณผลผลิตรวมทั้งหมดที่
สามารถผลิตขึ้นภายในประเทศในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง
1.ปัญหาเงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
อุปสงค์รวม (Aggregate Demand: AD)
ระดับราคา
AD
0
ปริมาณสิ นค้ าและ
บริการ
1.ปัญหาเงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
อุปทานรวม (Aggregate Supply: AS)
ระดับราคา
AS
0
Qf
ปริมาณสิ นค้ า
และบริการ
1.ปัญหาเงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
ระดับราคา
AS
AD
0
Qf
ปริมาณสิ นค้ า
และบริการ
1.ปัญหาเงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
1. เงินเฟ้ อทีเ่ กิดจากด้านอุปสงค์รวมเพิม่ ขึ้ น
(Demand-Pull Inflation)
เป็ นเงินเฟ้ อที่เกิดจากอุปสงค์รวม ( AD ) เพิ่มขึ้น ในขณะที่อปุ ทานรวมของสินค้ า
และบริการ (AS) ไม่สามารถเพิ่มขึ้นได้ ทาให้ เกิดอุปสงค์รวมมากกว่าอุปทานรวม
ของประเทศ (AD>AS)
1.ปัญหาเงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
อะไรเป็ นสาเหตุให้ อปุ สงค์รวม (AD) เพิ่มขึ้น?
 ประชาชนมีรายได้ มากขึ้น (Y เพิ่มขึ้น) ก่อให้ เกิดความต้ องการซื้อสูงขึ้น
(Demand)
ดังนั้น
AD = fn(Y)
โดยที่
AD = Aggregate Demand (ความต้ องการซื้อรวมของคนทั้ง
ประเทศ)
Y = GDP หรือ รายได้ ประชาชาติ
1.ปัญหาเงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
การวิเคราะห์เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านอุปสงค์รวม
ระดับราคา
AS
เงินเฟ้อจะเริ่มเกิด
ตั้งแต่ ระดับราคาสู ง
กว่า 120 เป็ นต้ นไป
135
120
AD3
110
AD2
AD1
0
100,000
130,000
ระดับการจ้ างงานเต็มที่
ปริมาณสิ นค้ า/
บริการ
1.ปัญหาเงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
แนวทางการแก้ปัญหาเงินเฟ้ อด้านอุปสงค์รวม
ใช้ วิธคี วบคุมอุปสงค์ (Demand Management)
1. นโยบายการคลัง
2. นโยบายการเงิน
1.ปัญหาเงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
2. เงินเฟ้ อทีเ่ กิดจากด้านอุปทานรวมลดลง
(Supply-Push Inflation)
เป็ นเงินเฟ้ อที่เกิดขึ้นเนื่องจากต้ นทุนการผลิตสินค้ าเพิ่มขึ้น ทาให้ ผ้ ูผลิตจะต้ อง
เสนอขายสินค้ าในราคาที่สงู ขึ้น
1.ปัญหาเงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
ต้นทุนการผลิตเพิม่ ขึ้ นเนือ่ งจาก
 ค่าจ้ างแรงงานเพิ่มขึ้น
 ราคาเชื้อเพลิงและวัตถุดิบสูงขึ้น
 ฯลฯ
1.ปัญหาเงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
การวิเคราะห์เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านอุปทานรวม
ระดับราคา
AS3
AS2
130
120
AS1
110
AD
0
50,000
60,000 70,000
90,000
ระดับการจ้ างงานเต็มที่
ปริมาณสิ นค้ า/บริการ
1.ปัญหาเงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
แนวทางการแก้ปัญหาเงินเฟ้ อด้านอุปทานรวม
รัฐบาลใช้ นโยบายต่างๆเพื่อที่จะช่วยลดต้ นทุนการผลิตของผู้ผลิต
1.ปัญหาเงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
ผลกระทบของเงินเฟ้ อ
 อานาจการซื้อลดลง
 การออมและการลงทุนลดลง
 การกระจายรายได้ เหลื่อมลา้ มากขึ้น
 ฯลฯ
1.ปัญหาเงินเฟ้อ (Inflation) (ต่อ)
บุคคลทีไ่ ด้รบั ผลประโยชน์จากเงินเฟ้ อ

เจ้ าของธุรกิจ ผู้ผลิต นักเก็งกาไรหรือคนรวยที่มีทรัพย์สนิ มากๆ ลูกหนี้ ฯลฯ
บุคคลทีเ่ สียประโยชน์จากเงินเฟ้ อ

ผู้ท่มี ีรายได้ ประจา เจ้ าหนี้ ฯลฯ
2. ปัญหาเงินฝื ด ( Deflation )
เป็ นสถานการณ์ท่ตี รงข้ ามกับเงินเฟ้ อ โดยที่ระดับราคาสินค้ าและบริการจะลดลง
เรื่อยๆ เนื่องจากอุปสงค์มีน้อยกว่าปริมาณสินค้ าทาให้ สนิ ค้ าเหลือ ราคาสินค้ าลดลง
การผลิตลดลง การจ้ างงานลดลง รายได้ ลดลง
ผลของเงินฝื ด : อานาจซื้อของผู้บริโภคเพิ่มขึ้น
ผูท้ ีไ่ ด้ผลประโยชน์ : เจ้ าหนี้ , ผู้ท่มี รี ายได้ ประจา
ผูท้ ีเ่ สียผลประโยชน์ : ผู้ท่มี รี ายได้ จากกาไร , ลูกหนี้
การแก้ปัญหาเงินฝื ด : ใช้ นโยบายการเงิน การคลัง เพื่อกระตุ้นให้ อปุ สงค์รวมสูงขึ้น
3.ปัญหาการว่างงาน ( Unemployment )
บุคคลซึ่งอยู่ในวัยทางาน หมายถึง บุคคลที่มอี ายุ 15 ปี ข้ นึ ไป และในภาวการณ์ใดที่
บุคคลซึ่งอยู่ในวัยทางานดังกล่าว มีความสามารถที่จะทางาน และสมัครใจที่จะ
ทางานแต่ไม่สามารถที่จะทางานได้ จึงทาให้ ไม่มงี านทา ในช่วงสัปดาห์แห่งการ
สารวจการมีงานทา เรารียกภาวการณ์น้ วี ่าการว่างงาน เราถือว่าบุคคลเหล่ านี้ว่างงาน
โดยไม่สมัครใจ (Involuntary Unemployment)
3.ปัญหาการว่างงาน (ต่อ)
การแก้ปัญหาการว่างงานแบ่งได้เป็ น 2 วิธีหลัก:
1. แก้ ปัญหาโดยใช้ นโยบายระดับประเทศ
2. แก้ ปัญหาโดยดูจากประเภทของการจ้ างงาน
3.ปัญหาการว่างงาน (ต่อ)
1. แก้ปัญหาโดยใช้นโยบายระดับประเทศ
มีเป้ าหมายเพื่อให้ เกิดการลงทุนหรือขยายการผลิตโดยใช้ นโยบายการเงินและการคลัง
2. แก้ปัญหาโดยดูจากประเภทของการจ้างงาน
เช่น ถ้ าเกิดการว่างงานจากความก้ าวหน้ าทางด้ านเทคโนโลยี รัฐฯควรจัดให้ มีการอบรม
เพิ่มความรู้ให้ กบั แรงงานและมีการให้ ข้อมูลข่าวสารของการจ้ างงาน หรือถ้ าเกิดการ
ว่างงานตามฤดูกาลของชาวนา รัฐฯควรจัดหางานอื่นให้ ทาในนอกฤดูเก็บเกี่ยว หรือ
สนับสนุนให้ ชาวนาปลูกพืชหมุนเวียน เป็ นต้ น
3. นโยบายทางเศรษฐกิจ
นโยบายหลักทางเศรษฐกิจ
นโยบายหลักทางเศรษฐศาสตร์ประกอบด้ วย 2 นโยบาย ได้ แก่
1.นโยบายการเงิน (Monetary Policy)
2.นโยบายการคลัง (Fiscal Policy)
นโยบายหลักทางเศรษฐกิจ (ต่อ)
1.นโยบายการเงิน (Monetary Policy)
 หน่วยงานทีด
่ ูแล: ธนาคารแห่งประเทศไทย
 เครือ่ งมือของนโยบาย: ปริมาณเงิน (Money Supply) หรือการให้ สน
ิ เชื่อ
 หน้าทีข่ องธนาคารแห่ งประเทศไทย: เป็ นนายธนาคารของรัฐบาลและธนาคาร
พาณิชย์, ควบคุมดูแลธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินอื่นๆ, ดาเนินนโยบาย
การเงิน ฯลฯ
 การดาเนินนโยบายการเงิน: ควบคุมปริมาณเงิน (อุปทานเงิน: Money
Supply) ภายในประเทศให้ อยู่ในระดับที่เหมาะสมในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
(หรืออาจเรียกว่าการควบคุมการให้ สนิ เชื่อ)
นโยบายหลักทางเศรษฐกิจ (ต่อ)
1.นโยบายการเงิน (Monetary Policy)
กรณีท่ี 1: เศรษฐกิจชะลอตัว หรือเศรษฐกิจถดถอย (GDP เพิ่มขึ้นน้ อยหรืออาจจะ
ลดลงเมื่อเทียบกับปี ที่ผ่านมา แต่อตั ราการว่างงานสูง)
 กระตุ้นเศรษฐกิจโดยการขยายสินเชื่อ (เพิ่ม Money Supply) เพื่อกระตุ้นให้
เกิดการลงทุน ซึ่งจะทาให้ ผลผลิตเพิ่มขึ้น (GDP สูงขึ้น) การจ้ างงานมากขึ้น
(อัตราการว่างงานลดลง)
 ให้ ธนาคารพาณิชย์ปล่อยกู้ให้ นักลงทุนมากขึ้น (สินเชื่อเพื่อการลงทุน) เช่น ลด
ดอกเบี้ยเงินกู้ อนุมัติเงินกู้ให้ ง่ายกว่าปกติ ฯลฯ สิ่งนี้จะทาให้ เกิดการลงทุนมากขึ้น
 ให้ ธนาคารพาณิชย์ปล่อยกู้ให้ ผ้ ูบริโภคมากขึ้น (สินเชื่อเพื่อการบริโภค) เช่น ลด
ดอกเบี้ยเงินกู้ อนุมัติเงินกู้ให้ ง่ายกว่าปกติ ฯลฯ สิ่งนี้จะทาให้ เกิดการบริโภคมากขึ้น
นโยบายหลักทางเศรษฐกิจ (ต่อ)
1.นโยบายการเงิน (Monetary Policy)
กรณีท่ี 2: เศรษฐกิจเติบโตเร็วเกินไป (Y สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว) ความต้ องการซื้อของ
คนทั้งประเทศเพิ่มขึ้นมากกว่าที่กาลังการผลิตของทั้งประเทศจะตอบสนองได้ จน
ก่อให้ เกิดปัญหาเงินเฟ้ อ (นั่นคือ AD เพิ่มขึ้นเร็วกว่า AS)
 ชะลอความร้ อนแรงของเศรษฐกิจโดยลดความต้ องการซื้อของประชาชนลง (ลด
AD) โดยลด Y ซึ่งสามารถทาได้ โดยลด Money Supply
 ให้ ธนาคารพาณิชย์ลดการให้ สน
ิ เชื่อ เช่น เพิ่มดอกเบี้ยเงินกู้ วางมาตรการการอนุมัติให้
เข้ มงวดขึ้น ฯลฯ
นโยบายหลักทางเศรษฐกิจ (ต่อ)
2.นโยบายการคลัง (Fiscal Policy)
 หน่วยงานทีด
่ ูแล: กระทรวงการคลัง
 เครือ่ งมือของนโยบาย: งบประมาณแผ่นดิน (การใช้ จ่ายและการหารายได้ ของรัฐ)
 การดาเนินนโยบาย: ควบคุมการใช้ จ่ายและการหารายได้ ของรัฐฯ (ภาษีประเภท
ต่างๆ รัฐพาณิชย์ ค่าธรรมเนียมต่างๆ ฯลฯ) หรือกล่าวได้ อกี อย่างว่า การดาเนิน
นโยบายการคลังคือ การบริหารจัดการ “งบประมาณแผ่นดิน”
 งบประมาณแผ่นดิน = รายได้ ของรัฐฯ – รายจ่ายของรัฐฯ = T – G
 ชนิดของนโยบายการคลัง:
 งบประมาณขาดดุล คือ รายได้ ของรัฐน้ อยกว่ารายจ่าย เป้ าหมายเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ
 งบประมาณเกินดุล คือ รายได้ ของรัฐมากกว่ารายจ่าย เป้ าหมายเพื่อชะลอความร้ อนแรง
ของเศรษฐกิจ
 งบประมาณสมดุล คือ รายได้ ของรัฐเท่ากับรายจ่ายพอดี
นโยบายหลักทางเศรษฐกิจ (ต่อ)
2.นโยบายการคลัง (Fiscal Policy)
กรณีท่ี 1: เศรษฐกิจชะลอตัว หรือเศรษฐกิจถดถอย (GDP เพิ่มขึ้นน้ อยหรืออาจจะ
ลดลงเมื่อเทียบกับปี ที่ผ่านมา แต่อตั ราการว่างงานสูง)
 กระตุ้นเศรษฐกิจโดยการใช้ งบประมาณขาดดุล (งบประมาณติดลบ รัฐฯใช้ จ่าย
มากกว่ารายรับ หรือ T – G < 0) เพื่อกระตุ้นให้ เกิดการลงทุน ซึ่งจะทาให้
ผลผลิตเพิ่มขึ้น (GDP สูงขึ้น) การจ้ างงานมากขึ้น (อัตราการว่างงานลดลง)
 ลดรายรับ (ลด T) เช่น ลดอัตราภาษีประเภทต่างๆ (เช่น ภาษีเงินได้ นิติบุคคลที่เก็บ
จากนักลงทุน และภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดาที่เก็บจากผู้บริโภค ฯลฯ) เพื่อให้ นักลงทุน
มีต้นทุนในการผลิตน้ อยลงจะได้ ขยายการผลิต และเพื่อให้ ผ้ ูบริโภคมีเงินเหลือมากขึ้น
จะได้ เพิ่มการบริโภค
 เพิม
่ รายจ่ าย (เพิม่ G) เช่น รัฐฯเพิ่มการใช้ จ่ายและการลงทุนในส่วนของรัฐฯ (เช่น
สร้ างถนน สร้ างเขื่อน ลงทุนในระบบสาธาณูปโภคต่างๆ) เพื่อให้ นักลงทุนเอกชนขยาย
การลงทุนเพื่อขายสินค้ าและบริการให้ รัฐฯ และให้ ประชาชนมีงานทามากขึ้น
นโยบายหลักทางเศรษฐกิจ (ต่อ)
2.นโยบายการคลัง (Fiscal Policy)
กรณีท่ี 2: เศรษฐกิจเติบโตเร็วเกินไป (Y สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว) ความต้ องการซื้อของ
คนทั้งประเทศเพิ่มขึ้นมากกว่าที่กาลังการผลิตของทั้งประเทศจะตอบสนองได้ จน
ก่อให้ เกิดปัญหาเงินเฟ้ อ (นั่นคือ AD เพิ่มขึ้นเร็วกว่า AS)
 ชะลอความร้ อนแรงของเศรษฐกิจโดยลดความต้ องการซื้อของประชาชนลง (ลด
AD) โดยลด Y ซึ่งสามารถทาได้ โดยการใช้ งบประมาณเกินดุล (งบประมาณเป็ น
บวก รัฐฯใช้ จ่ายน้ อยกว่ารายรับ หรือ T – G > 0) เพื่อให้ นักลงทุนชะลอการ
ลงทุนและผู้บริโภคมีความต้ องการจ่ายน้ อยลง
 เพิม
่ รายรับ (เพิม่ T) เช่น เพิ่มอัตราภาษีประเภทต่างๆ เพื่อให้ นักลงทุนมีต้นทุน
สูงขึ้นจะได้ ชะลอการลงทุน และผู้บริโภคมีเงินเหลือน้ อยลงจะได้ ลดความต้ องการการ
บริโภค
 ลดรายจ่ าย (ลด G) เช่น รัฐฯลดการใช้ จ่ายและการลงทุนในส่วนของรัฐฯ
4.การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
เป็ นการแลกเปลี่ยนสินค้ าและบริการซึ่งเกิดขึ้นข้ ามอาณาเขตระหว่างประเทศ
สาเหตุที่ทาให้เกิดการค้าระหว่างประเทศ
• ประเทศมีทรัพยากรแตกต่างกัน
• แรงงานมีความชานาญแตกต่างกัน
• ประเทศผลิตสินค้ าแต่ละชนิดโดยเสียต้ นทุนแตกต่างกัน
การค้าระหว่างประเทศ (ต่อ)
แนวคิดของทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ (แนวคิดของ Adam Smith และ
David Ricado)
เป็ นแนวคิดที่สนับสนุนการค้ าเสรี โดยใช้ หลักการว่าแต่ละประเทศไม่ควรผลิตสินค้ าทุก
ชนิดที่ตนต้ องการบริโภค แต่ควรมุ่งผลิตแต่สนิ ค้ าที่ตนได้ เปรียบ (ผลิตได้ ด้วยต้ นทุน
ต่า) และนาเข้ าสินค้ าที่ตนเสียเปรียบ (ผลิตได้ ด้วยต้ นทุนสูง) ซึ่งจะทาให้ เกิดการแบ่ง
งานกันทา (Division of Labor) และผลที่ตามมาคือความชานาญ
(Specialization) ซึ่งจะทาให้ ผลผลิตของโลกสูงขึ้น ใช้ ทรัพยากรอย่างมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น
การค้าระหว่างประเทศ (ต่อ)
ข้อดี/ข้อเสียของการค้าระหว่างประเทศ
ประโยชน์ ของการค้ าระหว่ างประเทศ
-ประเทศสามารถใช้ปัจจัยการผลิตได้อย่าง
เต็มที่
- ส่ งเสริ มการออมและการลงทุน
ภายในประเทศมากขึ้น
- มีการแข่งขันของผูป้ ระกอบการมากขึ้น
-ประชาชนมีสินค้าบริ โภคหลากหลายขึ้น
ปัญหาที่เกิดจากการค้ าระหว่ างประเทศ
-ปั ญหาการขาดดุลการค้า
-ปั ญหาด้านอัตราการค้า
-ปั ญหาการเลียนแบบการบริ โภค
การค้าระหว่างประเทศ (ต่อ)
นโยบายการค้าระหว่างประเทศ: แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด
1. นโยบายการค้ าเสรี (Free Trade)
2. นโยบายการค้ าคุ้มกัน (Protection)
การค้าระหว่างประเทศ (ต่อ)
1. นโยบายการค้าเสรี (Free Trade)
- ไม่พยายามผลิตสินค้ าทุกชนิดที่ต้องการเอง (ผลิตสินค้ าที่ตนเองมี
ความชานาญและต้ นทุนต่าเท่านั้น)
- ไม่มีการตั้งกาแพงภาษี
- ไม่มีข้อกาหนดทางการค้ าอื่นๆ
การค้าระหว่างประเทศ (ต่อ)
2. นโยบายการค้าคุม้ กัน (Protection)
- ผลิตสินค้ าหลายชนิด เพื่อพึ่งตนเอง
- ให้ การคุ้มกันตลาดสินค้ าภายในประเทศ โดยการตั้งกาแพงภาษี
- มีการกาหนดข้ อจากัดทางการค้ าต่างๆ
วัตถุประสงค์ของนโยบายการค้าคุม้ กัน
- ส่งเสริมการผลิต การลงทุน และการจ้ างงานในประเทศ
- ป้ องกันการทุ่มตลาดของผู้ผลิตต่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ (ต่อ)
ผลเสียของการดาเนินนโยบายการค้าคุม้ กัน
- สินค้ าเข้ ามีราคาแพง
- ผู้ผลิตในประเทศอาจผูกขาดการผลิต
ตัวอย่างของการดาเนินนโยบายการค้าคุม้ กัน
1. อากรขาเข้ า (Import Tariffs)
2. โควต้ าการนาเข้ า (Import Quota)
เครื่องบินทั้งระเบิด ถูกสร้ างขึน้
โดยคนไทยในปลายสมัย ร.5
+