บทที่ 3 - หน้าแรก

Download Report

Transcript บทที่ 3 - หน้าแรก

ผศ.ดร. สถาพร ถาวรอธิวาสน์
การพัฒนาที่ย่ งั ยืน
 โครงสร้างทางการเมืองระบอบประชาธิปไตยที่เป็ นธรรมาธิปไตย
 โครงสร้างการบริ หารจัดการแบบมีส่วนร่ วม
 โครงสร้างทรัพยากรธรรมชาติเป็ นของชุมชนและสังคม
 โครงสร้างเศรษฐกิจแบบพึ่งตนเอง
 โครงสร้างทุนทางสังคมเป็ นของชุมชน
 โครงสร้างวัฒนธรรมและกฎหมายหรื อธรรมนูญชุมชน
 โครงสร้างระบบสวัสดิการแบบประชาสวัสดิการ
 โครงสร้างเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพัฒนาที่ยงั่ ยืน
เมื่อกล่าวถึงคาว่า ”การพัฒนาที่ยงั่ ยืน” หลายคนอาจจะยังไม่
เข้าใจอย่างชัดเจนในที่น้ ีจะขออธิบายความหมาย กรอบแนวทาง
การพัฒนา เป้ าหมายของการพัฒนา และหนทางนาไปสู่การพัฒนา
ที่ยงั่ ยืนบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง โดยมี “คน” เป็ นศูนย์กลาง
การพัฒนา ดังนี้
การพัฒนาทีย่ งั่ ยืนเป็ นการพัฒนาทีบ่ ูรณาการให้เกิดองค์รวม คือ
องค์ประกอบทั้งหลายที่เกี่ยวข้องจะมาประสานกันครบองค์ และมีลกั ษณะอีก
ย่างหนึ่งคือ มีดุลยภาพ กล่าวคือ ธรรมชาติแวดล้อมกับเศรษฐกิจจะต้องบูรณา
การเข้าด้วยกัน จะทาให้เกิดสภาพที่เรี ยกว่าเป็ นภาวะยัง่ ยืนทั้งในทางเศรษฐกิจ
และในทางสภาพแวดล้อม การคุม้ ครองสภาพแวดล้อมควบคู่ไปกับการพัฒนา
เศรษฐกิจ โดยใช้มนุษย์เป็ นแกนกลางการพัฒนาเพือ่ สร้างให้เกิดความ
สมดุล ระหว่างคนธรรมชาติ และสรรพสิ่ ง เพื่อให้อยู่ร่วมกันด้ วยความเกือ้ กูล
กัน ไม่ทาลายล้างกันทุกสิ่ งในโลกก็จะอยูร่ ่ วมกันอย่างสงบสุ ข ส่ งผลต่อการ
พัฒนาที่ยงั่ ยืนอย่างแท้จริ ง
การพัฒนาที่ผา่ นมา เป็ นการพัฒนาในด้านความเจริ ญเติบโตขยายตัว
ทางเศรษฐกิจเป็ นสาคัญ และปัจจัยที่ทาให้ เศรษฐกิจเจริญเติบโต มองกันที่
อุตสาหกรรม เน้ นความเจริญทางวัตถุ จนเกิดผลร้ ายต่ อธรรมชาติแวดล้อม
เป็ นการพัฒนาที่ไม่สมดุล ทาให้ธรรมชาติร่อยหรอ และเกิดปัญหามากมาย
ไม่วา่ จะเป็ น ปัญหาสภาพแวดล้อม ปัญหาสังคมและปัญหาสภาพจิตใจ จึง
เป็ นการพัฒนาที่ผดิ พลาด กาลังจะทาให้โลกสู่หายนะ และความ
พินาศ เพราะเป็ นการพัฒนาที่เสี ยสมดุล ทาให้โลกไม่เหมาะสมแก่การอยู่
อาศัย และอาจจะอยูอ่ าศัยไม่ได้ ส่ งผลให้เกิดการพัฒนาที่ไม่ยงั่ ยืน
จึงเกิดแนวคิดที่จะเปลี่ยนแปลงกระบวนการพัฒนาใหม่ โดย
เปลี่ยนวิธีการพัฒนาโดยใช้ “คน” เป็ นศูนย์ กลางของการพัฒนา ในที่น้ ี
จะขอกล่าวถึงการพัฒนาของประเทศไทย ประเทศไทยเองก็ได้
ดาเนินการที่จะทาให้เกิดการพัฒนายัง่ ยืนโดยใช้ “คน” เป็ นศูนย์กลาง จะ
เห็นได้จากแผนการพัฒนาฉบับที่ 8, และ 9 ที่ให้สาคัญต่อการพัฒนาคน
และกระบวนการ พัฒนาที่บูรณาการการเชื่อมโยงกันทุกด้านโดยมี
เศรษฐกิจเป็ นเครื่ องมือในการพัฒนาคน และสิ่ งแวดล้อมเพื่อความอยูด่ ีมี
สุ ขของคนไทยอย่างยัง่ ยืนตลอดไป
เราคงต้องกลับมามองตัวสาเหตุของปั ญหาที่ทาให้ประเทศชาติของเราไม่สามารถ
ที่จะไปสู่ การพัฒนาที่ยงั่ ยืนได้ ดังนี้
- ความต้ องการการบริโภคสิ นค้ า และบริ การที่ไม่สมเหตุสมผล ฟุ่ มเฟื อยเป็ นเหตุให้
เกิดการนาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ ในการผลิตและบริการที่เกินพอดี เกินความต้องการ
ของการดาเนินชีวิตแบบพอเพียง มีของเหลือทั้งเป็ นมลพิษสู่ สิ่งแวดล้อมมาก และทา
ให้คุณภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมเสื่ อมโทร ขาดสมดุล แม้จะส่ งผลให้เกิด
การขยายตัวทางเศรษฐกิจก็ตาม
- การทีช่ ุ มชนไม่ เข้ มแข็ง รับวัฒนธรรมและแนวความคิดผิด ๆ มาจากต่างประเทศ
เกี่ยวกับความฟุ่ มเฟื อย วัตถุนิยม และบริโภคนิยม ทั้งยังขาดการอบรม ละทิ้ง
ขนบธรรมเนียมประเพณี ด้ งั เดิม ทาให้สังคมเปลี่ยนเป็ นสังคม
บริ โภค กอบโกย สะสม เกิดการลงทุนทางธุรกิจที่สูญเปล่า ทาให้เกิดผลเสี ยทาง
เศรษฐกิจเกิดความขัดแย้งทางสังคม และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมถูกทาลาย
อย่างรุ่ นแรง
- การเคลือ่ นย้ ายทุนจากต่ างประเทศ ส่ งผลทั้งทางบวกและทางลบต่อระบบ
เศรษฐกิจและสิ่ งแวดล้อม ขึ้นอยูก่ บั ความสามารถในการแข่งขันและเครื อข่ายทาง
ธุรกิจของประเทศ วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจปลายปี 2540 เป็ นบทเรี ยนที่ชดั เจนที่
แสดงให้เห็นว่าการพัฒนาเศรษฐกิจที่พ่ งึ พิงอยูก่ บั ทุนต่างประเทศโดยขาดรากฐานที่
มัน่ คงภายใน ทาให้เกิดการล่มสลายของระบบอย่างไม่เคยเกิดขึ้นมา
ก่อน นอกจากนั้นการเปิ ดรับการลงทุนในอุตสาหกรรมเคมี และอุตสาหกรรมที่ใช้
พลังงานมาก เช่น อุตสาหกรรมเหล็กและกระดาษ โดยไม่มีกลไกหรื อมาตรการที่
เข้มแข็งในการตรวจสอบผลกระทบของอุตสาหกรรมเหล่านี้ ทาให้
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมเสื่ อมโทรมาอย่างรวดเร็ ว
- นโยบายการเร่ งรัดพัฒนาเศรษฐกิจของรัฐในอดีต ทาให้มีการลงทุน
โครงสร้างพื้นฐานและโครงการขนาดใหญ่จานวนมาก โดยขาดการวิเคราะห์
ผลกระทบสิ่ งแวดล้อม มีการใช้ทรัพยากรเป็ นฐานการผลิตอย่างฟุ่ มเฟื อย เกินอัตรา
การฟื้ นตัวของระบบธรรมชาติ ส่ งผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมและความยัง่ ยืนของ
ระบบนิเวศ
จะเห็นได้วา่ ปัญหาที่เกิดขึ้น ส่ งผลต่อการทาลายทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่ งแวดล้อม เป็ นอย่างมาก เพราะนาเอาวัฒนธรรมตะวันตก และระบบ
ทุนนิยมเข้ามาบริ หารประเทศ ทาให้เกิดสภาพที่เสื่ อมโทรมแทบทุกด้านไม่
ว่าจะเป็ นสภาพแวดล้อม คุณภาพชีวิต ศีลธรรม คุณธรรม ถือเป็ นความ
ผิดพลาดอย่างใหญ่หลวง
รัฐบาลจึงต้องตระหนักถึงความผิดพลาดที่เกิดขึ้น และต้ องมีการแก้ไข
และปรับปรุงนโยบายของรัฐให้ เกิดการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่ างมี
ประสิ ทธิภาพ และรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อมให้ ได้ มาตรฐานสากล
จุดหมายปลายทางของการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน
ดังนั้นรัฐบาลจึงได้กาหนดแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 และ 9 ที่ให้
ความสาคัญต่อการพัฒนาคนให้ “คนเป็ นศูนย์กลางการพัฒนา” และดุลย
ภาพเป็ นเงื่อนไขของความยัง่ ยืน ดังนั้น จุดหมายปลายทางของการพัฒนาที่
ยัง่ ยืน คือ
1. เศรษฐกิจ ที่ทาให้เกิดดุลยภายของการพัฒนาคือ เศรษฐกิจที่มี
รากฐานมัน่ คง มีขีดความสามารถในการแข่งขันและสามารถพึ่งตนเอง
ได้ โดยมีเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริ ของพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยูห่ วั เป็ นแนวคิดหลัก
2. สั งคม ให้รวมหมายถึง วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งเป็ น
ระเบียบวิถีชีวิตของสังคม ที่ให้มนุษย์ปรับตัวและดารงชีวิตอยูก่ บั
สิ่ งแวดล้อมของท้องถิ่นได้โดยไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อม และให้รวมถึงศาสน
ธรรม ซึ่งเป็ นระเบียบจิตใจของคนในสังคมที่ทาให้สงั คมอยูไ่ ด้โดยสงบสุ ข
3. ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง ทุกสิ่ งทุกอย่างที่อยูร่ อบตัวมนุษย์ ทั้ง
ที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต เกี่ยวโยงสัมพันธ์กนั เป็ นระบบนิเวศน์ ที่สามารถให้
คุณและให้โทษต่อมนุษย์ได้ ขึ้นกับความสมดุล หรื อไม่สมดุลของระบบ
นิเวศ
4. สิ่ งแวดล้อม หมายถึง ทุกสิ่ งทุกอย่างที่อยูร่ อบตัวมนุษย์ ทั้งที่มีชีวิต
และไม่มีชีวิตเกี่ยวโยงสัมพันธ์กนั เป็ นระบบนิเวศน์ ที่สามารถให้คุณและให้
โทษต่อมนุษย์ได้ ขึ้นกับความสมดุลหรื อไม่สมดุลของระบบนิเวศ
หนทางนาไปสู่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืนบนพืน้ ฐานเศรษฐกิจพอเพียงโดยมี
คนเป็ นศูนย์ กลางการพัฒนา
ที่กล่าวมาแล้วข้างต้น คงจะมีความชัดเจนในภาพของปัจจัย
ทั้ง 3 ด้าน คือ เศรษฐกิจพอเพียง คนและการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน ในที่น้ ีจะ
ขอเชื่อมโยงความสัมพันธ์ท้ งั 3 ปัจจัย ให้เห็นว่ามีส่วนที่ส่งเสริ มและ
เกื้อหนุนกันอย่างไร ดังจะเห็นได้จากกรอบแนวคิดข้างล่างนี้
โลกาภิวตั น์
โลกาภิวตั น์
สิ่ งแวดล้ อม
มนุษย์
ศีล(พฤติกรรม)
สมาธิ(จิตใจ๗
ปัญญา
สั งคม
โลกาภิวตั น์
โลกาภิวตั น์
เศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน
จากกรอบแนวคิดข้างต้นในที่น้ ีจะขอกล่าวถึง “คน” เป็ นปัจจัยแรก
เพราะ “คน” เป็ นปัจจัยทีส่ าคัญทีส่ ุ ดในการที่จะทาให้เกิดการพัฒนาที่
ยัง่ ยืน “คน” เป็ นผู้สร้ างปัญหาทั้งหลายทั้งปวงให้เกิดขึ้น เพราะตัว
กิเลส ตัณหาที่มีอยูใ่ นตัวคน จึงเป็ นปัญหาอุปสรรค์ขีดขวาง ที่จะให้โลก
ไม่สามารถเดินไปสู่การพัฒนาอย่างยัง่ ยืนได้ กิเลส 3 ตัว คือ
ตัณหา มานะ ทิฎฐิ ดังที่พระธรรมปิ ฎก (ป.อ ปยุตโต) ได้อธิบายความ
ไว้ดงั นี้
ตัณหา คือ ความอยากได้ อย่างบารุ งบาเรอตัวเอง ให้มีความสุ ข
สะดวกสบาย พรั่งพร้อมด้วยวัตถุที่มากมายสมบูรณ์ พูดง่าย ๆ ว่าความอยาก
ได้ ผลประโยชน์
มานะ คือ ความต้องการยิง่ ใหญ่ อยากมีอานาจครอบงาผูอ้ ื่นตั้งแต่ระดับ
บุคคลถึงระดับสังคมประเทศชาติ พูดง่าย ๆ ว่าความไฝ่ อานาจ
ทิฎฐิ คือ ความยึดมัน่ ตลอดจนคลัง่ ไคล้ในค่านิยม แนวความคิดสิ ทธิ
ศาสนา อุดมการณ์ต่าง ๆ ข้อนี้เป็ นผูร้ ้ายที่สุดที่รองรับ สาทับปัญหาไว้ให้
เหนียวแน่นยึดเยื้อ และแก้ไขยากเหมือนกับตัณหา และมานะที่นอนก้นแล้ว
จะเห็นได้วา่ ตัวกิเลสเป็ นสิ่ งที่ขดั ขวางต่อการพัฒนาที่ยงั่ ยืน ถ้าไม่
สามารถขจัด หรื อลดละออกจากตัวมนุษย์ได้ เพราะตัวกิเลสตัณหานี้แหละ
เป็ นตัวที่ทาลายทุกอย่าง ในโลก เพื่อสนองความอยากได้ผลประโยชน์
ความอยากมีอานาจความยิง่ ใหญ่ หรื อ ความยึดมัน่ ถือมัน่ ในค่านิยม
อุดมการณ์ มนุษย์ทาร้ายสิ่ งรอบตัวไม่วา่ จะเป็ นทรัพยากร-ธรรมชาติ สัตว์
สรรพสิ่ ง หรื อแม้แต่มนุษย์ดว้ ยกันเอง เพื่อสนองต่อกิเลส จึงเป็ นเรื่ องที่น่า
สะพรึ งกลัวยิง่ นัก ท่านลองวาดภาพดูวา่ ถ้ามนุษย์ชาติทุกคนในโลกนี้มี
กิเลสตัณหาครอบงา อะไรจะเกิดขึ้น โลกจะเป็ นอย่างอย่างไร เพราะ
ทรัพยากรธรรมชาติ สัตว์ สรรพสิ่ ง หรื อ แม้แต่มนุษย์ดว้ ยกัน จะไม่มีวนั
ยอมให้ถูก ทาร้ายแต่เพียงฝ่ ายเดียว จะต้องมีการตอบโต้
เศรษฐกิจพอเพียงในกระแสโลกาภิวตั น์
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ประมวลและกลัน่ กรองจากพระ
ราชดารัสของในหลวง ซึ่งพระราชทานในวโรกาสต่างๆ รวมทั้งพระราช
ดารัสอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้
นาไปเผยแพร่ เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2542 เพื่อเป็ นแนวทางปฏิบตั ิของ
ทุกฝ่ ายและประชาชนโดยทัว่ ไป มีความว่า
“เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยูแ่ ละปฏิบตั ิตน
ของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึง
ระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ ดาเนินไปในทางสาย
กลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพือ่ ให้ ก้าวทันต่ อโลกยุคโลกาภิวฒ
ั น์
ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความ
จาเป็ นที่จะต้องมีระบบภูมิคุม้ กันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบ
ใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน
ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบและความระมัดระวัง
อย่างยิง่ ในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการ
ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริ มสร้างพื้นฐานจิตใจของคนใน
ชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับให้มี
สานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริ ต และให้มีความรอบรู ้ที่เหมาะสม
ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ
เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วและ
กว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม และสิ่ งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลก
ภายนอกได้เป็ นอย่างดี”
จากพระราชดารัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ดังกล่าว จะ
พบว่าพระองค์ทรงเน้นย้าแนวทางการพัฒนา ที่อยูบ่ นพื้นฐานของการ
พึง่ ตนเอง ความพอมีพอกิน พอมีพอใช้ การรู้จักพอประมาณ การ
คานึงถึงความมีเหตุผล การสร้ างภูมิคุ้มกันทีด่ ีในตัว และทรงเตือนสติ
ประชาชนคนไทยไม่ ให้ ประมาท ตระหนักถึงการพัฒนาตามลาดับ
ขั้นตอนที่ถูกต้อง ตามหลักวิชา ตลอดจนมีคุณธรรมเป็ นกรอบในการ
ดารงชีวิต ซึ่งทั้งหมดนี้เป็ นที่รู้จกั กันภายใต้ชื่อว่า "เศรษฐกิจพอเพียง"
กระแสโลกาภิวฒ
ั น์ ในมิตติ ่ างๆ
กระแสโลกาภิวตั น์ก่อให้เกิดสิ่ งที่น่ากลัวและสิ่ งที่เป็ นโอกาสเช่นกันได้
ดังนี้
--ในมิติทางด้ านวัฒนธรรม กระแสโลกาภิวตั น์ทาให้ทุกคนต้องทาน
McDonald อย่างอเมริ กา ถ้าเรามีจุดยืนทางวัฒนธรรมที่แข็งแรง เราก็สามารถ
ทาอย่าง McDonald ได้ ทุกคนมาเมืองไทยต้องมาดื่มด่ากับวัฒนธรรมไทย ถ้า
เราเข้มแข็งพอ กระแสโลกาภิวตั น์กค็ ือโอกาส
--ในมิติทางด้ านเศรษฐกิจ กระแสโลกาภิวตั น์ทาให้เกิดการลงทุน ทา
ให้เกิดการจ้างงาน แต่ในทานองเดียวกัน กระแสเงินทุนที่ไหลเข้าออกเร็ วก็
ให้เกิดความเสี่ ยงกับประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจอ่อนแอ การลงทุนใน
ภาคอุตสาหกรรม ทาให้วิถีชีวิตของคนเปลี่ยนไป คนหนุ่มสาวหายไปจาก
หมู่บา้ น ไปทางานโรงงาน บางทีกไ็ ปอยูโ่ รงงานต่างถิ่นด้วยซ้ าไป
--ในมิติทางด้ านการเมือง กระแสโลกาภิวตั น์ทาให้เราไม่สามารถ
ดาเนินนโยบายโดยอิสระได้ ต้องฟังเสี ยงองค์กรระหว่างประเทศ ฟังเสี ยง
ประเทศอื่น
การประยุกต์ ใช้ เศรษฐกิจพอเพียงกับกระแสโลกาภิฒน์
ทั้งนี้เราสามารถนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งเป็ นเรื่ องของ
“ความรู ้” ในส่ วนของความสามารถ มีรู้อยู่ 4 ตัวที่สาคัญ มาประยุกต์ใช้
กับกระแสโลกาภิวฒั น์ได้ ดังนี้
--รู้ทนั คือ รู ้วา่ กระแสโลกาภิวตั น์มนั เป็ นอย่างไร เป็ นโอกาสหรื อ
เป็ นภยันตรายต่อประเทศชาติ และจะรับมือกับสิ่ งเหล่านี้อย่างไร นี่คือ
รู ้ทนั
--รู้กาล คือ รู ้เวลาที่ควรจะทา หลายเรื่ องไม่ตอ้ งใจร้อน การพัฒนา
บางเรื่ องมีเงื่อนเวลาผูกอยู่ บางเรื่ องไม่มีเงื่อนเวลา บางเรื่ องมันเป็ น Time
Dependence คือ สัมพันธ์กบั เวลา แต่บางเรื่ องเป็ น Time Independence
คือไม่สมั พันธ์กบั เวลา ตัวอย่างเช่น บางประเทศอาจใช้เวลานิดเดียวก็ไป
แล้ว แต่บางประเทศต้องเป็ นแบบค่อยเป็ นค่อยไป
--รู้งาน คือ เราต้องรู ้วา่ งานแบบนี้ จะจัดการอย่างไร จะเล่น
เศรษฐกิจคู่กบั ทางสังคมแค่ไหน จะเน้นวัตถุคู่กบั จิตใจเพียงใด จุดเน้น
ของแต่ละประเทศไม่จาเป็ นต้องเหมือนกัน แต่ตอ้ งรู ้จกั ว่าส่ วนไหนที่เป็ น
ส่ วนเหมือน และส่ วนไหนที่เป็ นส่ วนต่างของแต่ละประเทศ
--รู้คน คือ เราต้องรู ้คน หากคนของเราไม่พอ ต้องพึ่งพาต่างชาติ เรา
ต้องรู ้คนของหน่วยงานที่เราต้องทางานด้วย โดยจะหยิบยืมพลังเขามาใช้
อย่างไร
กระแสโลการภิวฒ
ั น์ กบั สั งคมไทย
นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 วิกฤตเศรษฐกิจได้เกิดขึ้นกับประเทศไทย
ซึ่งเป็ นบทเรี ยนที่ดีในการวางแผนการพัฒนาประเทศ โดยทาให้เห็น
ความสาคัญของแนวทางการพัฒนาที่สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและ
สังคมของประเทศไทย ที่เน้นความพอเพียงเป็ นพื้นฐานก่อน ถ้ามอง
ย้อนหลังไปในอดีตเราจะเห็นว่าปัจจัยที่ผลักดันให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจที่
สาคัญ ๆ คือ
1. อิทธิพลจักรวรรดินิยมตะวันตกค่ อย ๆ กลืนวัฒนธรรมไทย และ
แทรกแซงกิจการภายในของประเทศ และบัน่ ทอนความมัน่ คงของประเทศผ่าน
เครื่ องมือ 4 อย่างได้แก่ สถาบันการเงิน นักการเมืองที่ทุจริ ต ระบบ
ประชาธิปไตยแบบยึดเสี ยงข้างมากเป็ นหลักและสื่ อมวลชน
2. แนวทางการพัฒนาของประเทศ ในช่วงที่ผา่ นมานั้นรัฐส่ งเสริ มการ
พัฒนาแบบรวมศูนย์หรื อเอาเงินเป็ นตัวตั้งมุ่งกระจายเงินไปสู่ชนบท โดยไม่
คานึงถึงการหาแนวทางเพื่อพัฒนาอย่างยั้งยืนสาหรับสมาชิกในชุมชน แต่เน้น
ส่ งเสริ มให้สมาชิกมุ่งผลิตเพื่อส่ งออก และทารายได้แทนการปลูกเพื่อให้
พอเพียง ต่อการบริ โภคภายในครัวเรื อน ผลการพัฒนาดังกล่าวทาให้สมาชิกใน
ชุมชนคุน้ เคยกับการก่อหนี้ไม่สนใจการออม มีการใช้จ่ายฟุ่ มเฟื อยหรื อลงทุน
เกินตัว และวางแผนการใช้เงินโดยขาดความรอบคอบ ทาให้ขาดการ
เตรี ยมพร้อมในการรับมือกับวิกฤตเศรษฐกิจ
3. การเปลีย่ นแปลงทางสั งคมมีส่วนทาให้ เกิดวิกฤตใน
สั งคมไทย โดยในปัจจุบนั คนส่ วนใหญ่ไม่คิดช่วยเหลือ
สังคม วัฒนธรรมที่ดีงามแต่ด้ งั เดิมถูกทาลาย มีการรับเอาวิถีการดาเนิน
ชีวิตจากต่างประเทศมา โดยไม่ปรับใช้ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม
ของประเทศไทย เพระถูกความเจริ ญของวัฒนาธรรมตะวันตกแทรกเข้า
มาในรู ปแบบการบริ โภคเงิน กลายเป็ นปัจจัยหลักในการดารงชีวิต การ
เน้นสร้างความร่ ารวย ทาให้เกิดการแย่งชิงทรัพยากรเช่นป่ าไม้และ
ทรัพยากรทางทะเล เพื่อนาไปส่ งเสริ มความกินดีอยูด่ ีทางวัตถุ
4. ขาดการถ่ ายทอดความรู้และต่ อยอดภูมปิ ัญญาไปยังรุ่น
ลูกหลาน หรื อปลูกฝังค่านิยมการดาเนินชีวิตที่ผดิ เช่น ไม่ปลูกฝังให้
สมาชิกรู ้จกั ความพอเพียง ไม่พอใจในส่ งที่ตนมีอยู่ ไม่รู้จกั บุญคุณ
คน ไม่ให้ความนับถือผูส้ ูงอายุหรื อพระสงฆ์ ไม่รู้จกั หน้าที่ของการเป็ นคน
ดี นับถือคนรวยโดยไม่คานึงถึงวิธีการหาเงินของเขาว่าผิดกฎหมาย
หรื อไม่ รวมทั้งการไม่คานึ่งถึงวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ไทย และการไม่
ยึดมัน่ เข้าใจในหลักคาสอนของศาสนา จึงนาหลักคาสอนมาใช้ในทางที่
ผิด และค่านิยมที่มุ่งส่ งเสริ มความเห็นแก่ตวั ตัวใครตัวมัน สมาชิกไม่เห็น
อกเห็นใจกันหรื อร่ วมมือร่ วมใจกันเมื่อเกิดปัญหา
5. การเปลีย่ นแปลงสภาพสั งคมและวิถีการดารงชีวติ ของสมาชิกใน
ชนบท และปัญหาโครงสร้างประชากรของชุมชน เนื่องจากสมาชิกใน
ชนบทไม่อยากเป็ นชาวนา จึงอพยพออกจากท้องถิ่น เพื่อไปหางานทาใน
เมืองทาให้เหลือแต่คนชราและเด็กอยูใ่ นชุมชน เป็ นผลให้ชุมชนขาดแคลน
แรงงานในภาคเกษตรสถาบันครอบครัวจึงล่มสลาย พ่อแม่ตอ้ งดิ้นรนเพื่อ
ความอยูร่ อดของตนเอง ทาให้ละเลยที่จะอบรมและเอาใจใส่ ลูก เพื่อนและ
สังคมภายนอกจึงเป็ นปัจจัยสาคัญที่จะสามารถชักจูงลูกมากกว่าครอบครัว
6. นักธุรกิจและผู้ประกอบการด้ านสื่ อขาดคุณธรรมและ
จริยธรรม ในการประกอบอาชีพมุ่งทาเงินมากกว่าคุณภาพของสื่ อ ทาให้
สื่ อขาดมาตรฐานหรื อเปิ ดเสรี มากเกินไป ทาให้ผบู ้ ริ โภคในสังคมไทย
ขาดข้อมูลที่มีคุณภาพ และมักถูกสื่ อครอบงา เช่นสื่ อให้ความรู ้ที่
ผิดพลาดในด้านข่าวสาร และการสร้างค่านิยมที่ฟุ้งเฟ้ อ หรื อเด็กมักถูก
อิทธิพลของสื่ อมอมเมาได้ง่าย
7. กระบวนการทางการเมืองไม่ มีประสิ ทธิภาพเพียงพอในการ
พัฒนาระดังชุ มชน ดังจะเห็นได้วา่ ในอดีตประชาชนไม่สนใจทีจ่ ะมีส่วน
ร่ วมทางการเมือง หรื อในกระบวนการการเลือกตั้งเพื่อสรรหาคนดีมารับ
ใช้ประเทศ ทาให้ได้นกั การเมืองที่ไม่มีคุณธรรม มุ่งตักตวงผลประโยชน์
ให้ตนเองและยึดระบบอุปถัมภ์ช่วยเหลือพวกพ้อง สร้างความไม่เป็ น
ธรรมให้เกิดขึ้นในสังคม
8. การขาดความรู้ความเข้ าใจในการใช้ เทคโนโลยีหรือนามา
ประยุกต์ ใช้ โดยไม่สอดคล้องกับสภาพสังคมไทยละทิ้งภูมิปัญญาดั้งเดิม
ของสังคมไทย ที่สะสมกันมายาวนาน
9. สมาชิกในชุ มชนไม่ รู้จักคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ หรื อมี
ส่ วนร่ วมในการบริ หารจัดการทรัพยากรที่มีอยูใ่ นชุมชน ทาให้เกิดปัญหา
ความเสื่ อมโทรมของปริ มาณ และคุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติที่เคย
มีอย่างสมบูรณ์ในอดีต
ประเทศไทยควรทาอะไรต่ อจากนี้
สิ่ งที่ประเทศไทยควรทาต่อคือ
1. เอา plan of Implementation มาสั งเคราะห์ หาโอกาสที่ประเทศไทยจะ
ได้รับประโยชน์ ต้องกระทาให้ชดั เจน เจาะจง แล้วค่อยนาเสนอให้เป็ นแผนดีเนิน
การระยะ 5 ปี
plan of Implementation มี 10 บท คือ 1) เกิดความตระหนัก กูว้ กิ ฤติ ร่ วมคิด
ร่ วมทาความเห็นชอบร่ วม 2) การแก้ไขปั ญหาความยากจน 3) การทาให้การบริ โภค
และการผลิตเกิดความยัง่ ยืน 4) ป้ องกันและจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 5) การ
พัฒนาในกระแสโลกาภิวตั น์ 6) การพัฒนาของประเทศเล็ก ๆ 7) การพัฒนาของ
ทวีปยากจน 8) สุ ขภาพและการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน 9)กลไกการดาเนินการ และ 10)
สถาบันเพื่อการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน
2. เร่ งให้ความรู ้เกี่ยวกับกลไกและกระบวนการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน
อย่างกว้างขวาง ต่อเนื่อง และให้ถือเป็ นส่ วนหนึ่งของระบบการศึกษาทั้ง
ในและนอกระบบ
3. กาหนดโครงการเพื่อให้ภาคีการพัฒนาได้มีโอกาสหารื อและ
ดาเนินการร่ วมกัน ทั้งนี้ให้มีกรรมการกลางเป็ นพิเศษขึ้นมาตรวจติดตาม
ผลเป็ นการเฉพาะด้าน เช่น ด้านพลังงาน ด้านการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการลงทุน ด้านการเปิ ดตลาด
4. จัดเวทีสาธารณะให้มีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
5. จัดให้มีหน่วยงานกลางทาหน้าที่ประสานงานทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับ
การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน และสนับสนุนทางการเงินให้เกิดศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะ
ด้านทางการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนในแต่ละภาคส่ วนการพัฒนา
6. จัดให้มีการเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อการพัฒนาอย่างเป็ นระบบระหว่างศูนย์
เชี่ยวชาญฯ เหล่านั้นกับหน่วยงานกลางที่ประสานงานการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน
7. จัดให้หน่วยงานกลาง มีการรายงานความคืบหน้าถึงการดาเนินงาน
และการประเมินสถานการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนของประเทศไทยทุกปี
8. ให้มีการขยายองค์ประกอบของ NCSD(Nation Commission on
Sustainable Development) โดยมีตวั แทนภาคประชาชนและเอกชนในสัดส่ วนที่
ไล่เลี่ยกัน และให้มีสภาทีปรึ กษานโยบายเศรษฐกิจและสังคมเป็ นสมาชิกด้วย
9. ให้มีการรายงานของเครื อข่ายภูมิภาคในรัฐสภาทุกปี โดยถือเป็ น
ความรับผิดชอบในส่ วนการแถลงผลงานต่อรัฐสภาประจาปี ที่รัฐบาลต้อง
จัดทาอยูแ่ ล้ว
10. เห็นควรเร่ งจัดตั้งส่ วนรับผิดชอบเพื่อเจรจากับประเทศหรื อ
องค์กรเจ้าหนี้ ให้มากรจัดทา Debt for sustainable Development Swap
ทั้งนี้ โดยมีแผนการดาเนินงานประกอบการเจรจาอย่างละเอียด ชัดเจน
และรัดกุม โดยแผนดังกล่าวต้องผ่านการเห็นชอบจากรัฐมนตรี
ดั้งเดิมบริ เวณหมู่บา้ นแห่งนี้เป็ นป่ าดงเดิม มีหว้ ยซึ่งมีน้ าไหลเซี่ยว
คนในหมู่บา้ นใช้เป็ นเส้นทางสัญจรติดต่อกับตาบลเขาดิน อาเภอเดิมบาง
นางบวช จังหวัดสุ พรรณบุรี ในสมัยนั้นไม่วา่ จะเป็ นโจรผูร้ ้ายหรื อสัตว์ ถ้า
พลัดหลงมาบริ เวณนี้ผตู ้ ิดตามจะหาไม่พบจึงเรี ยกว่า “ห้วยมาละ” ต่อมามี
การถางป่ าเพื่อใช้ทาการเกษตรทาให้บริ เวณห้วยมีมะระขึ้นเป็ นจานวนมาก
จึงเรี ยกว่า “ห้วยมะระ” และเพี้ยนเป็ น “ห้วงมะระ” ในปัจจุบนั
คนในชุมชนมีการปลูกพืชผัก ผลไม้ เลี้ยงสัตว์ไว้บริ โภค แบ่งปัน
ให้เพื่อนบ้านและขายเพื่อเพิ่มรายได้และมีกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่มี
แผนการพัฒนาตนเองเป็ นวิสาหกิจชุมชนที่เข้มแข็ง
ด้ านการออม
มีการสะสมทุนเพื่อประกอบอาชีพ โดยจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพื่อ
การผลิตขึ้นเมื่อปี 2543 ปัจจุบนั มีสมาชิก 195 คน เงินสัจจะสะสม
1,200,000 บาท โดยนาดอกเบี้ย มาเป็ นสวัสดิการให้สมาชิก เมื่อเกิดและ
เสี ยชีวิต เกิดฝากเข้าบัญชีให้ 500 บาท เพื่อจูงใจให้รักการออมเสี ยชีวิตให้
ข้าวสาร 1 กระสอบ สิ้ นปี จัดซื้อของขวัญให้สมาชิกจับสลาก และให้เป็ น
ทุนการศึกษา
กลุ่มฯ มีแผนจัดตั้งร้านน้ ามันในชุมชน มีกองทุนสวัสดิการ
ชาวบ้าน โดยการออมวันละบาท ปัจจุบันมีสมาชิก 236 คน มีเงิน
100,000 บาทเศษ จากสมาชิก 6,000 บาทเศษ และสมทบจากชมรม
ผูส้ ูงอายุแห่งประเทศไทยอีก 5,000 บาท รับสมาชิกตั้งแต่อายุ 1 ปี ถึง 75 ปี
ให้สวัสดิการในการคลอด 1,000 บาท ป่ วยนอนโรงพยาบาล 3 คืน ให้
500 บาทและเสี ยชีวิตปี แรก 10,000 บาท ปี ต่อ ๆ ไปเพิ่มปี ละ 3,000 บาท
แต่ไม่เกิดรายละ 30,00 บาท นอกจากนี้ยงั สงเคราะห์คนจนที่ไม่ได้เป็ น
สมาชิกโดยช่วยเหลือเป็ นข้าวสารและเครื่ องนุ่งห่ม
หมู่ที่ 4 ตาบลห้วงน้ าขาว อาเภอเมืองตราด จังหวัดตราด ได้รับ
การคัดเลือกให้เป็ นหมู่บา้ นต้นแบบและนาร่ อง ขนาดกลาง (M) ตาม
โครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บา้ น/ชุมชนได้รับการจัดสรรงบประมาณ
จากทางรัฐบาล จานวน 250,000 บาท ผ่านทางธนาคารออมสิ นเมื่อวันที่
13 ตุลาคม 2547 โดยโครงการที่ได้รับการคัดเลือกคือโครงการพัฒนาต่ อ
ยอดวิสาหกิจชุ มชน(ร้ านค้าชุ มชน)
ผลพวงจากการออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่นาไปสู่วิสาหกิจชุมชน
(ร้านค้าชุมชน) ทาให้เป็ นที่เชิดหน้าชูตาและเป็ นตัวอย่างที่ดีแก่ชุมชนอื่น
จังหวัดตราดได้คดั เลือกให้ตาบลห้วงน้ าขาวเป็ นชุมชนต้นแบบ และนาร่ อง
วิสาหกิจชุมชนดีเด่น ประจาปี 2547 และได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2
ของประเทศ รวมถึงเป็ นสถานที่ศึกษา ดูงานที่สาคัญของจังหวัดตราดที่มีผู ้
มาศึกษาดูงานเป็ นจานวนมาก เช่น นักศึกษาจากสถานบันการศึกษาทุก
ระดับ นักวิจยั ภาครัฐและเอกชน องค์กรประชาชนทัว่ ประเทศ ทั้งนี้เป็ นผล
พวงมาจากความสาเร็ จในการพัฒนาของผูน้ า องค์กรประชาชน ภาคีการ
พัฒนาทั้งภาครัฐและเอกชนส่ วนสาคัญที่สุด คือ การให้ความรู ้ความเข้าใจ
กับประชาชน ความสาคัญในกระบวนการมีส่วนร่ วมของประชาชนในทุก
ระดับการพึ่งพาตนเอง ซึ่งปัจจุบนั ได้รับการยอมรับให้เป็ น
มหาวิทยาลัยชุมชนตาบลห้วงน้ าขาว
วิถีดีงาม...ตามแบบไทย
ภาพยามเช้าที่เราเห็นเป็ นปกติที่บา้ นดอน คือ ภาพชาวบ้านตื่นเช้ามา
ทาบุญตักบาตร โดยชาวบ้านที่นี่จะเข้าร่ วมกิจกรรมทางศาสนาอย่าง
สม่าเสมอ มีการสื บทอดวัฒนธรรมประเพณีอนั ดีงามที่มีมาตั้งแต่โบราณ
เช่น ประเพณี วนั สงกรานต์ การรดน้ าดาหัวผูใ้ หญ่ การทาบุญกลางบ้าน
การทาบุญประจาปี ของวัด เป็ นต้น
นอกจากนี้ชาวบ้านที่นี่ยงั มีการรวมกลุ่มกันประกอบกิจกรรมต่าง ๆ
เช่น กลุ่มอาชีพ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อเก็บเงินไว้ใช้ยามจาเป็ นและใช้เป็ น
ทุนในการประกอบอาชีพ อีกทั้งยังมีความเอื้ออาทรโอบอ้อมอารี ให้
ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ชาวบ้านอยูร่ ่ วมกันโดยยึดหลักคุณธรรมใน
การดาเนินกิจกรรมต่ าง ๆ ด้ วยความซื่อสั ตย์ สุ จริต ขยัน อดทน และมี
การรณรงค์ สนับสนุนให้ ลดละเลิกอบายมุขต่ าง ๆ โดยการชี้ให้เห็นผลดี
ผลเสี ย ของอบายมุขต่างๆ ทาให้ชาวบ้านที่นี่มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มี
การออมเพิ่มขึ้น ปัญหาเรื่ องลักขโมยน้อยลดลง ชุมชนอยูร่ ่ วมกันอย่าง
สงบและมีความสุ ข
การอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
ชาวบ้านบ้านสามเรื อน มีกิจกรรมที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม เช่น มีการปลูกป่ าถาวรเฉลิมพระ
เกียรติ ปลูกฝังจิตสานึกให้นกั เรี ยนในโรงเรี ยน เยาวชนรักษ์ธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อม เช่น การพัฒนาเส้นทางไปน้ าตกเขาวิง่ การปลูกพืชผักสมุนไพร
การใช้ทรัพยากรที่มีอยูใ่ นชุมชนอย่างรู ้คุณค่า การสร้างเสริ มเพื่อทดแทนสิ่ ง
ที่ถูกใช้ไปในการดารงชีวิตประจาวัน ซึ่งได้แก่การประหยัดน้ ากินน้ าใช้ การ
ช่วยกันดูแลรักษาน้ ากินน้ าใช้ให้พอเพียง ทั้งในฤดูฝนและฤดูแล้ง
โครงการปลูกป่ า
จากที่พ้นื ที่บา้ นสามเรื อนเป็ นเนินเขาสูงต่า และมีสภาพเป็ นป่ ามา
ก่อน ต่อมามีราษฎรอพยพมาอยูต่ ้ งั บ้านเรื อนและประกอบอาชีพทานา ทา
สวน ทาไร่ จึงมีการตัดไม้ทาลายป่ าไปมาก ชาวบ้านสามเรื อนจึงคิดว่าจะต้อง
ปลูกต้นไม้ทดแทนต้นที่ถูกทาลายไป เพื่อในอนาคตลูกหลานจะได้มีป่าที่
อุดมสมบูรณ์และรักษานิเวศน์วิทยาไว้ให้คงเดิม และปัจจุบนั ถ้าใครขับรถเข้า
มาในหมู่บา้ นจะเห็นภาพต้นไม้ริมถนนทั้ง 2 ฟากถนนมีความสวยงาม ออก
ดอกและขนาดต้นเท่ากัน ทาให้ดูร่มรื่ นสบายตา นอกจากนั้นชาวบ้านยัง
ร่ วมกันปลูกป่ าถาวรของชุมชน โดยอาศัยวันสาคัญไม่วา่ จะเป็ น 12 สิ งหาคม
หรื อ 5 ธันวาคม ชุ มชนจัดกิจกรรมปลูกและดูแลพืน้ ทีป่ ่ าร่ วมกัน