สรุปผลการทำเวทีสมัชชาเรียนรู้เกษตรยั่งยืน

Download Report

Transcript สรุปผลการทำเวทีสมัชชาเรียนรู้เกษตรยั่งยืน

Slide 1

การวิเคราะพืน
้ ที่และทุนทางสังคม
จังหวัดชลบุรี

1 โดย คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.บูรพา


Slide 2

จังหวัดชลบุรี
ทิศเหนือ ติดต่อกับอาเภอบางปะกง อาเภอบ้านโพธิ์

อาเภอแปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา
ทิศตะวันตก ติดตอกับ ติดต่อกับชายฝัง่ ทะเลตะวันออก
ของอ่าวไทย
ทิศตะวันออก ติดตอกับ อ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชิงเทรา
อาเถอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี และกิง่ อาเภอวังจันทร์ อ.
แกลง จ.ระยอง
ทิศใต้ ติดตอกับอ.บ้านฉาง อ.เมืองระยอง กิ่งอาเภอวัง
จันทร์ อ.แกลง อ.บ้านค่าย และ อ.ปลวกแดง จ.ระยอง


Slide 3

ความเป็นมา
ชลบุรม
ี ค
ี วามประวัตค
ิ วามเป็ นมาตัง้ แตสมั
่ ยทวาราวดีและสมัยขอม เขต
จังหวัดชลบุรม
ี เี มืองทีเ่ กิดขึน
้ ในสมัยนั้น ๓ เมืองดวยกั
น คือ เมืองพญาเร่

ในเขตอาเภอบ่อทอง เมืองพระรถในเขตอาเภอพนัสนิคม และเมืองศรีพโล
ในเขตอาเภอเมืองชลบุรี
ประชากรทีต
่ ง้ั รกรากอยูในดิ
นแดนแหงนี
้ ตเดิ

่ แ
่ ม
ไดแก
ชาวจีนและชาวอินเดียทีม่ คี วามชานาญ
้ ่
ในการเดินเรือมาแตโบราณ
ชนสองกลุมนี
้ ดอยู

่ ไ
้ ่
ปะปนกับชนพืน
้ เมืองมานานนับศตวรรษจนผสม
กลมกลืนเป็ นชนกลุมเดี
่ ยวกัน

จากการสารวจโดยกรม
ศิ ลปากรและมหาวิทยาลัย
โอตาโก พบวาในเขต

อาเภอพนัสนิคม อาเภอ
พานทอง อาเภอบอทอง

และอาเภอเมืองชลบุร ี
พบวาเป็
่ ผ
ี ู้คน
่ นดินแดนทีม
เขามาตั
ง้ ถิน
่ ฐานกระจัด

กระจายอยูทั
่ ว่ ไปเป็ นชุนชน
โบราณยุคกอน

ประวัตศ
ิ าสตรถึ
์ งยุค
ประวัตศ
ิ าสตร ์


Slide 4

ผู้บริหารจังหวัดชลบุรี

นายคมสัน เอกชัย
ผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี

นายภัครธรณ์ เทียนไชย
รองผู้วา่ ราชการจังหวัดชลบุรี

นายพรชัย ขวัญสกุล
รองผู้วา่ ราชการจังหวัดชลบุรี

นายพงษ์ศก
ั ดิ์ ปรีชาวิทย์
รองผู้วา่ ราชการจังหวัดชลบุรี


Slide 5

ยุทธศาสตร์และเป้าประสงค์
แผนพัฒนาจังหวัดชลบุร ี พ.ศ.๒๕๕๓ - ๒๕๕๖

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑

พัฒนาส่งเสริ มความสงบเรี ยบร้อย ความปลอดภัย มัน่ คง เพื่อให้ชลบุรีเป็ นเมืองน่าอยู่ รองรับความ
เปลี่ยนแปลง

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒

การเสริ มสร้างระบบชุมชนและสถาบันครอบครัวให้เข้มแข็งและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน
ให้มีความสุข ประชาชนมีความรู้คู่คุณธรรมน้อมนาเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นสังคมแห่ งการเรี ยนรู้

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่๓

บริ หารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมด้วยกระบวนการมีส่วนร่ วมให้เกิดความสมดุลใน
ระบบนิเวศน์และการใช้ประโยชน์

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ ส่งเสริ มการท่องเที่ยวให้เกิดความยัง่ ยืนสามารถรองรับความต้องการของตลาด
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ พัฒนาอุตสาหกรรมให้ได้มาตรฐานเป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อมและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
ปรับเปลี่ยนภาคเกษตรสู่ระบบเกษตรคุณภาพสูงและมูลค่าสูง และพัฒนาเกษตรกรและสถาบัน
เกษตรกรให้เข้มแข็ง
พัฒนาระบบผังเมือง ระบบ Logistics โครงสร้างพื้นฐานและแหล่งน้ า เพื่อรองรับการขยายตัวทาง
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๗
เศรษฐกิจและสังคมของจังหวัด
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๖

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๘ ส่งเสริ มทุกภาคส่วนให้มีการดาเนินงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล


Slide 6

ด้านทรัพยากรธรรมชาติ

ป่าไม้

จังหวัดชลบุรีมีพื้นที่ป่าประกอบด้วย ป่าดงดิบ
และ ป่าเบญจพรรณ ในอดีตมีจานวน
2,726,875 ไร่ ปัจจุบันมี
•ป่าสงวนแห่งชาติ (จานวน 9 แห่ง) เนื้อที่รวม
ทั้งสิ้น 906,396 ไร่
•พื้นที่อนุรักษ์และป่าชายเลน เนื้อที่รวมทั้งสิ้น
4,510 ไร่
•เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า จานวน ๒ แห่ง เนื้อที่
รวมทั้งสิ้น 128,812 ไร่
•เขตห้ามล่าสัตว์ป่า จานวน 2 แห่ง เนื้อที่รวม
ทั้งสิ้น 13,899 ไร่
•วนอุทยาน จานวน 1 แห่ง เนื้อที่ 19,475 ไร่

น้า ประกอบด้วย แหล่งน้าธรรมชาติบนพื้นดิน จานวน

ประมาณ 655 แห่ง แหล่งน้าธรรมชาติใต้ดิน ประมาณ
425 บ่อ และ อ่างเก็บน้า 12 อ่าง (เก็บน้าได้ 187.84
ลบ.ม.) โครงการชลประทานขนาดเล็ก 49 แห่ง

ชายฝัง่ ทะเลและในทะเล สัตว์ทะเล อุตสาหกรรม

แปรรูปผลิตผลจากทะเล เช่น กะปิ น้าปลา ปลาเค็ม กุ้ง
แห้ง เป็นต้น รวมถึงการเพาะเลี้ยงปลาในกระชัง พื้นที่
ทาประมงรวม 16,776 ไร่


Slide 7


Slide 8

อุดมศึกษา 5 แห่ง

ด้านการศึกษา




สถาบันการศึกษาจานวน
500 แห่ง
จานวนนักเรียนและนักศึกษา 320,000 คน
จานวนครูและอาจารย์
15,000 คน






มหาวิทยาลัยบูรพา
มหาวิทยาลัยศรีปทุม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลภาค
ตะวันออก
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตศรีราชา
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์พัทยา

ศาสนา

ด้านสาธารณสุข
สถานบริการสาธารณสุขของรัฐบาลและเอกชน
รวมทัง้ ร้านขายยา รวม
947 แห่ง
เป็นของรัฐบาล
133 แห่ง
เอกชน
414 แห่ง
โรงพยาบาลของรัฐ 18 แห่ง
เอกชนจานวน
10 แห่ง
สถานีอนามัย
208 แห่ง
คลินิกทุกประเภท 399 แห่ง

 ศาสนาพุทธมีผู้นับถือมากที่สุดในจังหวัด
ชลบุรี ประมาณ
๙๗.๗๘ %
 ศาสนาคริสต์
๐.๖๐%
 ศาสนาอิสลาม
๑.๕๖%
 อื่นๆ
๐.๐๖%
 มีพระอารามหลวง จานวน ๕ แห่ง วัด
จานวน ๓๒๑ แห่ง สานักสงฆ์ จานวน ๕๒
แห่ง ที่พักสงฆ์ จานวน ๖๐ แห่ง มัสยิด
จานวน ๒๘ แห่ง โบสถ์คริสต์ จานวน ๑๘
แห่ง และอื่น ๆ จานวน ๑ แห่ง
แพทย์
914 คน
ทันตแพทย์
151 คน
เภสัชกร
259 คน
พยาบาลและผูช
้ ่วยพยาบาล 90 คน

ทีม
่ า: แฟมขอมูลสถิตส
ิ ุขภาพ 2553


Slide 9


Slide 10


Slide 11


Slide 12

การปกครองแบ่งออกเป็น 11 อาเภอ
93 ตาบล 548 หมู่บ้าน
เทศบาลนคร 1 แห่ง
เทศบาลเมือง 9 แห่ง
เทศบาลตาบล 29 แห่ง
องค์การบริหารส่วนตาบล 58 แห่ง
รูปแบบการปกครองพิเศษ 1 แห่ง

 ลักษะภูมิประเทศส่วนใหญ่ (ร้อยละ 63.84) เป็นที่ราบลอนลาด
 พืน
้ ที่ส่วนที่เป็นภูเขา อยู่บริเวณกึ่งกลางของจังหวัดเป็นแนว
ยาวจากทิศตะวันตกเฉียงเหนือไปยังตะวันออกเฉียงใต้
 ที่ราบลุ่ม จะอยู่ตอนบนของจังหวัดในเขตอาเภอพานทอง
อาเภอพนัสนิคมและแนวกึ่งกลางของด้านตะวันตก
 ชายฝั่งทะเล ระยะทางยาว160 กิโลเมตร ตั้งอยู่ในเขตตั้งแต่
ปากแม่น้าบางปะกงจนถึงสัตหีบ
 เกาะ อยู่ห่างจากชายฝั่งทะเลออกไปประมาณ ๑๐ กิโลเมตร
ประกอบด้วยเกาะเล็กและเกาะใหญ่ประมาณ ๔๖ เกาะ

มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 4,363 ตารางกิโลเมตร
หรือ 2,726,875 ไร

มีจานวนประชากร 1,296,953 คน
เป็นชาย
635,402 คน
เป็นหญิง
661,551 คน
มีครัวเรือนทั้งสิ้น
686,496 ครัวเรือน


Slide 13


Slide 14

หมู่บ้านและท่าเรือในจังหวัดชลบุรี


Slide 15

ปฏิทนิ ชลบุรี
มีนาคม
 งาน The Grad
Pattaya
International
Music Festival

พฤษภาคม

เมษายน
 งานประจาจังหวัดชลบุรี (งาน
แห่พระพุทธสิ หิงค์และงาน
กาชาดชลบุรี)
 งานประเพณี กองข้าว อาเภอศรี
ราชา
 งานประเพณี ก่อพระทรายวัน
ไหล บางแสน

 งานบุญกลางบ้าน
และเครื่ องจักสาน
พนัสนิคม

ธันวาคม

พฤศจิกายน

ตุลาคม

กรกฎาคม

 งานเทศกาลปี ใหม่
เมืองพัทยา

 งานวันลอยกระทง

 งานประเพณี วงิ่ ควาย

 งานพัทยามาราธอน

ทีม
่ า : เว็บไซต ์


Slide 16

ด้านเศรษฐกิจ

ในปี 2552 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ร้อยละ 8.74

รายได้เฉลีย
่ ต่อหัว 385,366 บาท/ ปี
(จัดเป็นลาดับที่ 5 ของประเทศไทย)

สินค้าและการเกษตร
• เครื่องจักรสานพนัสนิคม
• ศูนย์ส่งเสริมฝีมือการจักสานด้วยไม้ไผ่
• ผลไม้ดินปั้นบ้านหนองพรหม ตาบลนาเริก อาเภอพนัสนิคม
• กระดาษใยสับปะรดอาเภอศรีราชา ตาบลหนองขาม
• สินค้า OTOP อาทิเช่น ข้าวกล้องจากตาบลสานักบก อาเภอเมืองชลบุรี น้าตาลปึกตาบลนา
ป่า ของอาเภอเมืองชลบุรี แชมพูสมุนไพรตาบลหนองรี
• ผลิตภัณฑ์อาหารทะเลแปรรูป

การทาเหมืองแร่
เหมืองแร่ที่มีการผลิตอย่างต่อเนื่อง
มีเพียงแร่เดียว คือ เหมืองแร่หิน
อุตสาหกรรมเพื่อการก่อสร้าง โดยแยก
เป็น ๒ ชนิด คือ
 แร่หินอุตสาหกรรมชนิดหินปูน
 แร่หินอุตสาหกรรมชนิดหินแกรนิต
เพื่ออุตสาหกรรมก่อสร้าง


Slide 17

ด้านเศรษฐกิจ
จังหวัดชลบุรีมีเกษตรกรผูเ้ ลี้ยงปศุสตั ว์ รวม 4,201
ครัวเรื อน เป็ น
 ไก่เนื้อ 3,510,678 ตัว
 ไก่ไข่ 776,835 ตัว (จังหวัดชลบุรีได้ชื่อว่า
เป็ นจังหวัดที่เลี้ยงไก่มากที่สุดจังหวัดหนึ่งของ
ประเทศไทย)
 เป็ ดเนื้อ 756,026 ตัว
 ไก่พ้ืนเมือง 493,558 ตัว
 สุกร 257,715 ตัว
 เป็ ดไข่ 218,076 ตัว
 โคเนื้อ 12,443 ตัว
 กระบือ 5,410 ตัว
 โคนม 2,785 ตัว
 แพะ 975 ตัว
 แกะ 26 ตัว
 ประกอบธุรกิจโรงฆ่าสัตว์ 250 แห่ง และมี
สหกรณ์โคนม 1 แห่ง

ชลบุรีมีพ้ืนที่เกษตรกรรม รวม 1,035,412 ไร่ โดยพืช
เศรษฐกิจที่สาคัญ ได้แก่ มะม่วง มะม่วงหิ มพานต์ มะพร้าว
อ่อน มันสาปะหลัง ยางพารา สับปะรด อ้อย กล้วยไม้
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้าวนาปรัง ข้าวนาปี ขนุน ปาล์มน้ ามัน
พริ กขี้หนูใหญ่ และพริ กขี้หนูสวน
มีครัวเรื อนเกษตรกร รวม 38,630 ครัวเรื อน หรื อคิดเป็ น
ร้อยละ 6.44 ของครัวเรื อนทั้งจังหวัด
การประมงของจังหวัดชลบุรี แบ่งออกเป็ น 3 ประเทศ คือ
 ประมงน้ าจืด
 การเลี้ยงชายฝั่ง (ประมงน้ ากร่ อย)
 ประมงน้ าเค็ม
สัตว์น้ าที่เลี้ยงกันมาก อาทิ ปลาช่อน ปลาดุก กุง้ ทะเล ปู
หอย เป็ นต้น
ปี พ.ศ. 2551 ชลบุรีมีพ้ืนที่ทาประมงรวม 16,776 ไร่ การ
ประมงทะเล ปริ มาณสัตว์น้ ามวลรวมทั้งสิ้น 83,518.41 ตัน
คิดเป็ นมูลค่าสูงถึง 1,470.52 ล้านบาท


Slide 18

ผลประกอบการจากภาคอุตสาหกรรมจัดเป็นรายได้หลักของจังหวัดชลบุรี ในปี พ.ศ.2552
 ชลบุรีเป็นพื้นที่เป้าหมาย โครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก
(Eastern Seaboard) ซึ่งมีระยะเวลาโครงการ 20 ปี ตั้งแต่ พ.ศ.25242544 ครอบคลุมพื้นที่ถึง 8.3 ล้านไร่
 ท่าเรือแหลมฉบัง ได้รับฉายาว่าเป็น “A World Class Port” เป็นท่าเรือน้าลึกหลัก
ในการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ บนพื้นที่ขนาด 6,340 ไร่ เป็นท่าเทียบเรือที่

มีอัตราการเติบโตของการให้บริการขนถ่ายสินค้าสูงสุดแห่งหนึง่ ของโลก
ได้เป็นลาดับที่ 20 ของ World Top Container Port ในปี 2545 โดยนิตยสาร
Loylld List

โรงงานอุตสาหกรรม

จานวนโรงงาน
(โรง)

จานวนคนงาน
(คน)

เงินลงทุน
(ล้านบาท)

โรงงานอุตสาหกรรมที่อยู่นอกนิคม
อุตสาหกรรมจานวน

2,848

173,025

370,375

โรงงานอุตสาหกรรมที่อยู่ในนิคม
อุตสาหกรรม 5 นิคม

1,112

122,646

409,700

รวม

3,960

295,671

780,075

 ปี 2553 มีโรงงานอุตสาหกรรมเปิ ดดาเนินการจานวน 2,938 แห่ง มากสุ ดในอาเภอเมือง

รองลงมา ใน อาเภอศรี ราชา อาเภอบ้านบึง อาเภอพนัสนิคม และ อาเภอพานทอง
 จานวนเงินทุน 287,831,730,390.08 บาท มีคนงานรวม 175,694 คน


Slide 19

ด้านท่องเทีย
่ ว
งานเทศกาลและงาน
ประเพณี ของจังหวัดชลบุรี










งานประเพณีกองข้าว
งานประเพณีก่อพระ
ทรายวันไหลบางแสน
งานบุญกลางบ้านและ
เครื่องจักสานพนัส
นิคม
งานประเพณีวิ่งควาย
เทศบาลวันไหลพัทยา
งานเทศกาลพัทยา
งานประจาปีจังหวัด
ชลบุรี

แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์
แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม แหล่งท่องเที่ยวกิจกรรมผจญภัย
และแหล่งท่องเที่ยวบันเทิงสมัยใหม่ อาทิ หาดพัทยา หาดบาง
แสน เกาะสีชัง หมู่เกาะไผ่ สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
มหาวิทยาลัยบูรพา สวนสัตว์เปิดเขาเขียว วัดใหญ่อินทาราม
วัดญาณสังวรารามฯ วิหารเซียน หมู่บ้านช้าง สวนเสือศรีราชา
เมืองจาลอง สวนนงนุช อุทยานหินล้านปีและฟาร์มจระเข้พัทยา
และอื่นๆอีกมากมาย

ในช่วงเดือนมกราคม-ธันวาคม พ.ศ. 2553 ที่ผ่านมา ชลบุรม
ี จ
ี านวน
นักท่องเที่ยวประมาณ 9,335,399 คน เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2552 จานวน
1,156,423 คน ทารายได้ 65,462 ล้านบาท เฉพาะเมืองพัทยาแห่งเดียวมี
จานวนนักท่องเทีย
่ วในปี พ.ศ. 2553 มากถึง 4,007,623 คน


Slide 20

ตัวอย่างแนวทางการทาสมัชชาปฏิรูปเฉพาะพืน้ ที่ : ตาบลคลองตาหรุ
อาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี


Slide 21

การวิเคราะห์ทางสังคมคลองตาหรุ


Slide 22

ความเป็ นมา
"ปี พ.ศ. 2340 มีรำษฎรจำกตำบลบำงระนำดและจำกจังหวัดธนบุรี ได้ อพยพเข้ ำ
มำจับจองที่ดินเพื่อประกอบอำชีพในกำรทำนำเกลือ ด้ วยเหตุท่พี ้ ืนที่ตำบลนี้ต้งั อยู่
ชำยฝั่งทะเลปำกอ่ำวบำงปะกง มีนำ้ ทะเลท่วมถึงและเป็ นที่รำบลุ่มเหมำะแก่กำรทำ
นำเกลือ ประกอบกับมีตำหรุนำ้ จำกอ่ำวบำงประกงเข้ ำมำจรดจนถึงหมู่ท่ี 1 ของ
ตำบลหนองไม้ แดง ชำวบ้ ำนจึงเรียกชื่อตำบลนี้ว่ำ ตำบลคลองตำหรุ"

อาณาเขต

ตำบลคลองตำหรุมีพ้ ืนที่ท้งั หมด
25 ตำรำงกิโลเมตรหรือ 15,625
ไร่

 มีพ้ ืนที่ส่วนใหญ่เป็ นพื้นที่ป่ำชำยเลน มีดินเป็ นดินเค็มไม่เหมำะ
กับกำรเพำะปลูก ไม่มีแหล่งนำ้ ธรรมชำติ แต่มีลำคลองเดิมชื่อ
คลองตำหรุ และมีแพรก
 สภำพภูมิอำกำศ เป็ นอำกำศแบบโซนร้ อน อุณหภูมิสงู สุด
35 องศำเซลเซียส อุณหภูมิต่ำสุด 17 องศำเซลเซียส อุณหภูมิ
โดยทั่วไปเฉลี่ย 26 องศำเซลเซียส

ทิศเหนือ
ติดต่อกับแม่นำ้ บำงปะกง อ.บำงปะกง จ.ฉะเชิงเทรำ
ทิศใต้
ติดต่อกับตำบลหนองไม้ แดง อ.เมืองชลบุรี จ.ชลบุรี
ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตเทศบำลตำบลคลองตำหรุ อ.เมืองชลบุรี จ.ชลบุรี
ทิศตะวันตก ติดต่อกับฝั่งทะเลอ่ำวไทย
เขตกำรปกครองแบ่งเป็ น
1 เทศบำล 1 อบต. และ 6 หมู่บ้ำน


Slide 23

ลักษณะของประชากร
มีประชากร รวม 7,151 คน เป็ น
ชำย 3,495 คน

หญิง 3,656 คน

 ประชำกรส่วนมำกอยู่ในช่วง
อำยุ 25-44 (ร้ อยละ 41.3)
 รองลงมำ ได้ แก่กลุ่มอำยุ1024 (ร้ อยละ 20.58)
 ผู้สงู อำยุท่มี ีอำยุ 60 ปี ขึ้นไป
รวมมีสดั ส่วนร้ อยละ 9.21
* ที่มำ: แฟ้ มข้ อมูลทั่วไปล่ำสุด55.xls

 ข้ อมูลงำนทะเบียนรำษฎร์ ระบุว่ำ
มีประชำกรแฝงในเทศบำลคลอง
ตำหรุประมำณ 20,000 คน
(พฤษภำคม 2554)
* ที่มำ: แผนพัฒนำสำมปี (พ.ศ. 2555-2557)

เทศบำลตำบลคลองตำหรุ

โครงสรางประชากรในต
าบลคลองตาหรุ (กันยายน, 2553)



Slide 24

ประชำชนส่วนใหญ่นับถือศำสนำพุทธ มีประเพณีท่ถี ือปฏิบัติอย่ำง
สม่ำเสมอ เช่น พิธที ำงศำสนำ กำรฉลองงำนบุญต่ำง ๆ ประชำชนส่วน
ใหญ่รักควำมสงบมีควำมเป็ นอยู่แบบเรียบง่ำย มีวัดจำนวน 1 วัด (วัด
บุญญรำศรี) และศำลเจ้ ำจำนวน 5 แห่ง

วัฒนธรรมและประเพณี
มีนำคม - งำนประจำปี วัดบุญญรำศรี
เมษำยน - งำนประเพณีสงกรำนต์
พฤษภำคม - งำนประเพณีกองข้ ำว
กรกฎำคม - ประเพณีแห่เทียนเข้ ำพรรษำ
พฤศจิกำยน - งำนประเพณีลอยกระทง


Slide 25

การศึกษา
มีสถำนศึกษำ 6 แห่ง
 นักเรียน
จำนวน
 ครู/อำจำรย์
จำนวน

2,089 คน
193 คน

การสาธารณสุข
สาเหตุการตาย
5 อันดับ

การเฝ้าระวังทาง
ระบาดวิทยา 5
อันดับแรก

หัวใจล้มเหลว
ติดเชื้ อในกระแสเลือด
รวมเบาหวาน ไต ฯลฯ
อุบตั ิเหตุ

โรคอุจจาระร่วง

เอดส์

โรคไข้เลือดออก

ไม่ทราบสาเหตุ

โรคตาแดง

อัตราป่ วยของ
ผูป้ ่ วยนอก 5
อันดับแรก

 มีสถำนีอนำมัย 1 แห่ง มีเจ้ ำหน้ ำที่ 4 คน
 ศูนย์บริกำรสำธำรณสุข เทศบำลตำบลคลองตำหรุ 1 แห่ง
โรคระบบทางเดินหายใจ  ศูนย์บริกำรสำธำรณสุขมูลฐำนชุมชน เทศบำลคลองตำหรุ 4 แห่ ง

โรคคางทูม

อาการแสดงผิดปกติ

โรคหัด

ระบบติดเชื้ อ
ระบบผิวหนังและเนื้ อเยือ่
ใต้ผวิ หนัง
โรคกล้ามเนื้ อและโครง
ร่าง

ปัญหาสาธารณสุข
 โรคควำมดันโลหิตสูง โรคเบำหวำน โรคเบำหวำน+ควำม
ดันโลหิตสูงติดสำรเสพติด โรคไข้ เลือดออก ตำมลำดับ
* ที่มำ: แฟ้ มข้ อมูลทั่วไปล่ำสุด55.xls และ แผนพัฒนำสำมปี (พ.ศ. 2555-2557)

เทศบำลตำบลคลองตำหรุ


Slide 26

แหล่งนำ้



คลอง จำนวน 3 แห่ง คือ คลองตำหรุ, คลองเกลือ, คลองกั้นเขต
แพรก เป็ นจำนวนมำก เช่น แพรกตำพุก,แพรกอียวน , แพรกโรงภำษี , แพรกอีคด ,
แพรกลัด , แพรกพังดอ , แพรกวัด , แพรกป่ ำ , แพรกคลองเก่ำ เป็ นต้ น


Slide 27

อาชีพสาคัญ





1. เกษตรกรรม: ปลูกพืช ปลอดสำรพิษ เลี้ยงสัตว์ ทานาเกลือ ประมง
2. อุตสำหกรรม: กำรเกษตร ก่อสร้ ำง อำหำรและเครื่องดื่ม ท่องเที่ยวป่ ำอนุรักษ์
และท่องเที่ยวชมปลำโลมำ
3. ภำคบริกำร: กำรขำยส่ง - ขำยปลีก ปั๊มนำ้ มัน อู่ซ่อมรถ เสริมสวย สถำนเริงรมย์
หอพัก ร้ ำนอำหำร


Slide 28

อุ ตสาหกรรม
 อบต.คลองตำหรุ
 โรงงำนอุตสำหกรรมจำนวน 17 แห่ง
 ลักษณะกำรประกอบอุตสำหกรรมในท้ องถิ่น 10 ประเภท
 เทศบำลคลองตำหรุ
 โรงงำนอุตสำหกรรมขนำดใหญ่ 2 แห่ง
 โรงงำนอุตสำหกรรมขนำดกลำง 10 แห่ง

 โรงงำนอุตสำหกรรมขนำดเล็ก 18 แห่ง

* ทีม
่ า: แผนพัฒนาสามปี

(พ.ศ. 2555-2557) องคการบริ
หารส่วนตาบลคลองตาหรุ และ แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. 2555์
2557) เทศบาลตาบลคลองตาหรุ


Slide 29

เขตการปกครอง
เขตการปกครอง
จานวน/ชื่อ/
จานวน/ชื่อ/เทศบาล จานวน/ชื่อ/อบต.
ตาบลคลองตาหรุ
หมู่บา้ น
1. เทศบำลตำบลคลองตำหรุ 1. อบต.คลองตำหรุ
1.บ้ ำนนำเกลือ
1 เทศบำล
1 อบต
2.บ้ ำนนำล่ำง
6 หมู่บ้ำน
3.บ้ ำนกลำง
4.บ้ ำนกลำง
5.บ้ ำนบน
6.บ้ ำนปำกคลอง


Slide 30

การจัดกระบวนการประเมินผลแบบเสริมพลังการจัดทาวิสยั ทัศน์และ
แผนการพัฒนาคลองตาหรุโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเพือ่ การ
ร่วมปฏิรูปจังหวัดชลบุรี (25 กุมภำพันธ์ 2555 ณ ศำลำอเนกประสงค์ ต.คลองตำหรุ
อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี)


Slide 31

การจัดกระบวนการประเมินผลแบบเสริมพลังการจัดทาวิสยั ทัศน์และแผนการ
พัฒนาคลองตาหรุโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเพือ่ การร่วมปฏิรูปจังหวัด
ชลบุรี (25 กุมภำพันธ์ 2555 ณ ศำลำอเนกประสงค์ ต.คลองตำหรุ อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี)






วัตถุประสงค์
1. เพื่อเสริมสร้ ำงกำรมีส่วนร่ วมและเพิ่มศักยภำพของทุกภำคส่วนในกำรกำหนดวิสัยทัศน์
และแผนพัฒนำคลองตำหรุ
2. เพื่อสร้ ำงจิตสำนึกในกำรพัฒนำท้ องถิ่นบ้ ำนเกิดของตนเอง
ผูเ้ ข้าร่วม - จำนวน 40 คน ประกอบด้ วย กลุ่มชุมชน เครือข่ำยเยำวชน ตัวแทน อบต.
เทศบำล เครือข่ำย อสม. สภำองค์กรชุมชน เครือข่ำยนำเกลือ เครือข่ำยอนุรักษ์ป่ ำชำยเลน
เครือข่ำย ทสม. และเครือข่ำยกลุ่มสิสำหกิจชุมชน

กระบวนการทาสมัชชา - กำรประชุ มระดมสมองครั้งนี้ ใช้ เทคนิคกระบวนกำร
ประเมินแบบเสริมพลังอำนำจ (Empowerment Evaluation: EE) มำเป็ นเครื่องมือ
เพื่อสร้ ำงกำรมีส่วนร่วมของผู้เข้ ำร่วมประชุมระดมสมองในกำรร่วมคิด วิ เครำะห์ และ
ผลท้ ำยสุดคือร่ วมกันหำแนวทำงจัดทำแผนเบื้องต้ นเพื่ อพั ฒนำจิตสำนึ กของแต่ ละ
ชุมชน โดยชุมชนเอง


Slide 32

การจัดกระบวนการประเมินผลแบบเสริมพลังการจัดทาวิสยั ทัศน์และแผนการ
พัฒนาคลองตาหรุโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเพือ่ การร่วมปฏิรูปจังหวัด
ชลบุรี (25 กุมภำพันธ์ 2555 ณ ศำลำอเนกประสงค์ ต.คลองตำหรุ อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี)
1. เป้าหมาย/คาดหวังผลลัพธ์ของผูเ้ ข้าร่วมในการประชุมระดมสมอง
1. กำรอนุรักษ์แหล่งเรียนรู้ป่ำชำยเลน
2. กำรพัฒนำคุณภำพชีวิต
3. กำรเพิ่มรำยได้
4. ควำมรักควำมเอื้ออำทร
5. กำรจัดกำรนำ้ สะอำด

2. วิเคราะห์และจัดลาดับความสาคัญของปั ญหา (ขั้นตอนการตรวจสอบ
ต้นทุนทางสังคม) ผู้เข้ ำร่วมวิเครำะห์ประเด็นปั ญหำได้ 7 ประเด็นคือ ปั ญหำ
ยำเสพย์ติด เด็กมีพฤติกรรมไม่เหมำะสม (ติดเกมส์, เด็กแว้ น, อบำยมุข) มีควำมไม่
เป็ นธรรมในสั ง คม กำรพั ฒ นำศั ก ยภำพคน (กำรศึ ก ษำไม่ ดี เ ท่ ำ ที่ค วร) ปั ญ หำ
สิ่งแวดล้ อม ควำมยำกจน ขำดควำมรู้ในกำรต่ อสู้กับอิทธิพล โดยเน้ นควำมสำคัญที่
ปัญหำยำเสพย์ติด และเด็กมีพฤติกรรมไม่เหมำะสม


Slide 33

การจัดกระบวนการประเมินผลแบบเสริมพลังการจัดทาวิสยั ทัศน์และแผนการ
พัฒนาคลองตาหรุโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเพือ่ การร่วมปฏิรูปจังหวัด
ชลบุรี (25 กุมภำพันธ์ 2555 ณ ศำลำอเนกประสงค์ ต.คลองตำหรุ อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี)
3. วิเคราะห์แนวทางปฏิบตั ิที่ดีในการดาเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมของตาบล ซึ่งประกอบด้ วย 1) กำรสร้ ำง
ภำพแวดล้ อมควำมร่ วมมือ 2) กำรกำหนดขอบเขตกำรทำงำนให้ ชัดเจน 3) เพิ่ มกำรสนับสนุ นเพื่ อกำรทำงำนแบบ
ร่ ว มมื อ และ 4) กำรสร้ ำ งเครื อ ข่ ำ ยกำรท ำงำน 5) เพิ่ ม ควำมรู้ ใ นกำรพั ฒ นำศั ก ยภำพ โดยกลุ่ ม สมำชิ ก ให้ ระดั บ
ควำมสำคัญในแต่ละหัวข้ อแตกต่ำงกันไป

4.วิเคราะห์กลุ่มองค์กรสาคัญที่ตอ้ งพัฒนาจิ ตสานึกในการปฏิรูปจังหวัด
ชลบุรี โดยใช้ แนวทำงในหัวข้ อที่ 3 ในกำรพัฒนำ กลุ่มองค์กรประกอบด้ วย 1)
กลุ่มอำสำสมัครฯ/อำสำเครื อข่ ำย 2) กลุ่มผู้นำชุ มชน/ประธำนชุ มชน 3) กลุ่ม
เทศบำล/ท้ องถิ่น 4) เจ้ ำหน้ ำที่ภำครัฐ/NGO 5) กลุ่มชำวบ้ ำน/เยำวชน/กลุ่ม
อำชีพ และ 6) กลุ่มอุตสำหกรรม/เอกชน ในประเด็นนี้สมำชิกให้ ควำมคิดเห็นที่
หลำกหลำย


Slide 34

สรุปผลกำรทำสมัชชำปฏิรูปตำบลคลองตำหรุ อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี
ด้ ำนกำรพัฒนำกำรท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ด้ วยเทคนิคประเมินแบบเสริมพลัง
(22 มีนำคม 2555 ณ ห้ องประชุมเทศบำลตำบลคลองตำหรุ อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี)


Slide 35

สรุปผลกำรทำสมัชชำปฏิรูปตำบลคลองตำหรุ อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี
ด้ ำนกำรพัฒนำกำรท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ด้ วยเทคนิคประเมินแบบเสริมพลัง
(22 มีนำคม 2555 ณ ห้ องประชุมเทศบำลตำบลคลองตำหรุ อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี)
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเสริมสร้ ำงกำรมีส่วนร่ วมและเพิ่มศักยภำพของทุกภำคส่วนในกำรกำหนดกำรพัฒนำกำรท่องเที่ยวเชิงนิเวศใน
เขตตำบลคลองตำหรุ จังหวัดชลบุรี
2. เพื่อสร้ ำงจิตสำนึกในกำรพัฒนำท้องถิ่นบ้ ำนเกิดของตนเอง
ผูเ้ ข้าร่วม - จำนวน 90 คน แบ่งเป็ น 4 กลุ่ม คือ 1) สตรี 2) กลุ่มอนุรักษ์/ทสม. 3) กลุ่มผู้บริหำร
เทศบำล/ประธำนชุมชน 4) กลุ่มอสม. นอกจำกนี้ยังมีวิทยำกรผู้ให้ ควำมรู้เกี่ยวกับกำรท่องเที่ยวเชิง
นิเวศ และวิทยำกรผู้ขับเคลื่อนกำรทำสมัชชำ
สรุปผลการทาสมัชชา
• จัดลาดับความสาคัญของต้นทุนทางสังคม 3 ด้ ำนคือ กำรสนับสนุนจำกหน่วยงำน ควำมร่ วมมือของ
คนในชุมชน และกำรสร้ ำงเครือข่ำยกำรทำงำน สมำชิกเน้ นให้ ควำมสำคัญที่ควำมร่วมมือของคนในชุมชน
• วิเคราะห์สถานการณ์ระดับต้นทุนทางสังคมของชุมชนในปั จจุบนั ผู้เข้ ำร่วมให้ คะแนนสูงสุดเรื่อง
ควำมร่วมมือของคนในชุมชน รองลงมำคือกำรสนับสนุนจำกหน่วยงำน และกำรสร้ ำงเครือข่ำยกำรทำงำน


Slide 36

สรุปผลกำรทำสมัชชำปฏิรูปตำบลคลองตำหรุ อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี
ด้ ำนกำรพัฒนำกำรท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ด้ วยเทคนิคประเมินแบบเสริมพลัง
(22 มีนำคม 2555 ณ ห้ องประชุมเทศบำลตำบลคลองตำหรุ อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี)
สรุปผลการทาสมัชชา (ต่อ)
• บทบาทของกลุ่มองค์กรในการเข้าร่วมพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ผู้เข้ ำร่วมมีควำมเห็นต่อบทบำทของแต่ละกลุ่มในกำร
พัฒนำกำรท่องเที่ยวเชิงนิเวศแตกต่ำงกัน สรุปได้ เป็ น 7 บทบำทคือ กำรอนุรักษ์ธรรมชำติ/สิ่งแวดล้ อม กำรจัดทำโฮมสเตย์
มัคคุเทศก์ กำรค้ ำขำย สนับสนุนกำรจัดทำแผนและทุน ประชำสัมพันธ์ สนับสนุนงบประมำณ สนับสนุนกำรท่องเที่ยว OTOP ควำม
ปลอดภัยบนถนนหนทำง และสร้ ำงควำมสำมัคคี
• กาหนดวิธีการพัฒนาองค์ความรูใ้ นแต่ละองค์กรตามสภาพบทบาทที่จาเป็ น โดยวิธกี ำรพัฒนำองค์ควำมรู้ประกอบด้ วยกำร
อบรมฯ กำรจัดทำเอกสำรคู่มือ และกำรเข้ ำค่ำยหรือดูงำน สมำชิกมีควำมคิดเห็นที่แตกต่ำงกันไป


Slide 37

ตัวอย่างแนวทางการทาสมัชชาปฏิรปู เฉพาะประเด็น : เกษตรยั่งยืน ณ บ้าน
ทุ่งเหียง ตาบลหมอนนาง อาเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี


Slide 38

เกษตรยัง่ ยืน
พระบำทสมเด็จพระเจ้ ำอยู่หัวทรงเน้ นควำมสำคัญในกำรจัดกำรทรัพยำกรระดับไร่นำในลักษณะที่จะมุ่งใช้ ประโยชน์จำก
ธรรมชำติ ซึ่งจะมีควำมสอดคล้ องกับวิธกี ำรที่สำคัญของพระองค์อกี ประกำรหนึ่งคือ กำรประหยัด ทรงเน้ นควำมจำเป็ นที่จะลด
ค่ำใช้ จ่ำยในกำรทำมำหำกินของเกษตรกรลงให้ เหลือน้ อยที่สดุ โดยอำศัยพึ่งพิงธรรมชำติเป็ นปัจจัยสำคัญ วิธกี ำรของพระองค์
มีต้งั แต่กำรสนับสนุนให้ เกษตรกรใช้ โคกระบือในกำรทำนำมำกกว่ำกำรใช้ เครื่องจักร ให้ มีกำรปลูกพืชหมุนเวียน โดยเฉพำะพืช
ตระกูลถั่ว เพื่อลดค่ำใช้ จ่ำยเรื่องปุ๋ ย หรือกรณีท่จี ำเป็ นต้ องใช้ ปุ๋ยก็ทรงสนับสนุนให้ เกษตรกรใช้ ปุ๋ยธรรมชำติแทนปุ๋ ยเคมีซ่ึงมี
รำคำแพง รวมทั้งให้ หลีกเลี่ยงกำรใช้ สำรเคมีต่ำงๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อม และคุณภำพของดินในระยะยำว ทำให้ รำษฎร
อยู่ในชุมชนและสภำพสิ่งแวดล้ อมที่ดี และมีฐำนะทำงเศรษฐกิจที่ดีข้ นึ ซึ่งเป็ นหลักกำรสำคัญของ "กำรเกษตรยั่งยืน"(กรม
วิชำกำรเกษตร, ๒๕๓๙: ๑๗๐-๑)
ระบบเกษตรยั่งยืนควรมีลักษณะการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตรที่เลียนแบบระบบนิเวศของป่ า
ธรรมชาติ คือมีความหลากหลายทางชีวภาพ มีกลไกควบคุมตัวเอง มีการพึง่ พาปั จจัยการผลิตจากภายนอกน้อยที่สุด
ตามความจาเป็ น สาหรับการป้องกันและกาจัดศัตรูพืชพยายามลดการใช้สารเคมี โดยการใช้วิธีการจัดการศัตรูพืชแบบ
ผสมผสาน กล่าวคือควรให้ความสาคัญกับระบบการปลูกพืชที่เกื้ อกูลกันเพือ่ สร้างความสมดุลตามธรรมชาติในระบบ
การเกษตร (สุพัตรำ, ๒๕๔๐: ๗๖-๗)

อางอิ
งจาก: http://web.ku.ac.th/king72/2542-09/res05_03.html



Slide 39

สรุปผลการทาเวทีสมัชชาเรียนรูเ้ กษตรยังยื
่ น
(8 มีนาคม 2555 ณ แปลงเรียนรู้เกษตรยั่งยืน(คุณวีระพันธ์ จันทรนิภำ)
รำงวัลลูกโลกสีเขียว พ.ศ.2553 บ้ ำนทุ่งเหียง ตำบลหมอนนำง
อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี)


Slide 40

สรุปผลการทาเวทีสมัชชาเรียนรูเ้ กษตรยังยื
่ น (8 มีนาคม 2555 ณ แปลงเรียนรู้เกษตร
ยั่งยืน(คุณวีระพันธ์ จันทรนิภำ) รำงวัลลูกโลกสีเขียว พ.ศ.2553 บ้ ำนทุ่งเหียง ตำบลหมอนนำง อำเภอ
พนัสนิคม จังหวัดชลบุรี)
1. วัตถุประสงค์








เพื่อเรียนรู้ต้นแบบเกษตรยั่งยืนรำงวัลลูกโลกสีเขียว (คุณวีระพันธ์ จันทรนิภำ)
เพื่อให้ ผ้ ูทำเกษตรยั่งยืนได้ มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกษตรยั่งยืน
เพื่อร่วมกันคัดเลือกแปลงเรียนรู้เกษตรยั่งยืน เพิ่มขึ้น
เพื่อสำนเครือข่ำยเกษตรยั่งยืนอย่ำงกว้ ำงขวำง
เพื่อเรียนรู้ร่ำงมติสมัชชำปฏิรูประดับชำติ ประเด็น กำรปฏิรูปเกษตรกรรม : เพื่อควำมเป็ นธรรมและควำมมั่นคง
ทำงอำหำรของสังคมไทย
เพื่อปรึกษำหำรือกำรจัด “สมัชชำเกษตรดี ชลบุรีน่ำอยู่” (วันที่22 มีนำคม 2555)

2. ผูเ้ ข้าร่วมเวทีเรียนรู ้ -ผู้ร่วมเวที เวทีเรียนรู้ครั้งนี้มีผ้ ูร่วมเรียนรู้ 25 คน จำกท้องที่หลำยอำเภอ โดยมีท้งั เกษตรกร
คนเมือง และข้ ำรำชกำร ที่สนใจและได้ ลงมือปฏิบัติเกี่ยวกับกำรอนุรักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติ และกำรทำเกษตรยั่งยืนเพื่อ
คุณภำพชีวิต


Slide 41

สรุปผลการทาเวทีสมัชชาเรียนรูเ้ กษตรยังยื
่ น (8 มีนาคม 2555 ณ แปลงเรียนรู้เกษตร
ยั่งยืน(คุณวีระพันธ์ จันทรนิภำ) รำงวัลลูกโลกสีเขียว พ.ศ.2553 บ้ ำนทุ่งเหียง ตำบลหมอนนำง อำเภอ
พนัสนิคม จังหวัดชลบุรี)

สรุปผลการจัดเวทีเรียนรูเ้ กษตรยังยื
่ น
1. บรรยำกำศและเนื้อหำ เป็ นกำรเรียนรู้ใน “ห้ องทดลองในสวนป่ ำของลุงจุก” ทุกคนได้ ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จน
ลืมเวลำ เนื้อหำส่วนใหญ่เป็ นกำรใช้ จุลินทรีย์ในกำรเกษตรและดูแลสุขภำพ พร้ อมกับกำรเรียนรู้จำกของจริง
สังเกตได้ ว่ำทุกคนสนใจและมีควำมสุข
2. กำรเชื่อมโยงเครือข่ำย เกิด “เครือข่ำยเกษตรอินทรีย์ วิถชี ล” ขึ้นโดยมีแหล่งเรียนรู้อกี หลำยแห่ง ดังต่อไปนี้









ห้ องทดลองในสวนป่ ำของลุงจุก ต.หมอนนำง อ.พนัสนิคม
เครือข่ำยป่ ำชุมชน ต.พลวงทอง อ.บ่อทอง
กลุ่มส่งเสริมเกษตรอินทรีย์หนองรี ต.หนองรี อ.เมืองชลบุรี
กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์ไผ่ครบวงจร ต.เกษตรสุวรรณ อ.บ่อทอง
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อกำรผลิตผักพื้นบ้ ำนและสมุนไพร ต.หนองปรือ อ.พนัสนิคม
กลุ่มอนุรักษ์ส่งิ แวดล้ อมและพลังงำน เทศบำลเมืองอ่ำงศิลำ อ.เมืองชลบุรี
ศูนย์เรียนรู้ปิดทองหลังพระชุมชนหนองกระเสริม เทศบำลตำบลห้ วยกะปิ อ.เมืองชลบุรี
กลุ่มบริหำรกำรใช้ นำ้ บำงพระ เหมือง แสนสุข ต.บำงพระ อ.ศรีรำชำ เรียนรู้เกษตรยั่งยืน


Slide 42

เวทีเกษตรอินทรีย ์ วิถชี ล
(วันที่ 22 มีนาคม 2555 ณ ห้องทดลองในสวนป่ าของลุงจุก(คุณวีระพันธ์
จันทรนิภา) รางวัลลูกโลกสีเขียว พ.ศ.2553
บ้านทุ่งเหียง ตาบลหมอนนาง อาเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี)


Slide 43

เวทีเกษตรอินทรีย ์ วิถชี ล (วันที่ 22 มีนำคม 2555 ณ ห้ องทดลองในสวนป่ ำของลุงจุก
(คุณวีระพันธ์ จันทรนิภำ) รำงวัลลูกโลกสีเขียว พ.ศ.2553 บ้ ำนทุ่งเหียง ตำบลหมอนนำง
อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี)

วัตถุประสงค์




เพื่อเรียนรู้ร่ำงมติสมัชชำปฏิรูประดับชำติ ประเด็น กำรปฏิรูปเกษตรกรรม : เพื่อควำมเป็ นธรรมและควำมมั่นคง
ทำงอำหำรของสังคมไทย2
เพื่อถอดองค์ควำมรู้เกษตรอินทรีย์ของลุงจุก
เพื่อหำแนวทำงขับเคลื่อนเครือข่ำยเกษตรอินทรีย์ ชิถีชล

ผูเ้ ข้าร่วมเรียนรู ้ - จำนวน ๖๐ คน
สรุปการเรียนรู ้
1. เรียนรู้ร่ำงมติสมัชชำปฏิรูประดับชำติ ประเด็น กำรปฏิรูปเกษตรกรรม : เพื่อควำมเป็ นธรรมและควำมมั่นคงทำงอำหำรของ
สังคมไทย โดยมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมคือ ๑. เสนอให้ มีกำรจัดทำกฎหมำยรับรองสิทธิชุมชนในทรัพยำกรชีวภำพและ
ภูมิปัญญำท้องถิ่น ๒. สมควรให้ มีกำรควบคุมกำรใช้ สำรเคมีกำจัดวัชพืชอย่ำงเข้ มข้ น เพรำะเป็ นตัวทำลำยพันธ์พืชท้องถิ่น
2. องค์ควำมรู้เกษตรอินทรีย์ของลุงจุก
 ปั จจัยสู่ควำมสำเร็จ คือดินดี มีนำ้ อำกำศเหมำะสม และมีจุลินทรีย์ช่วยทำงำน
 กำรคัดเลือกพันธุ์ ควรปลูกพืชตำมฤดูกำล เลือกปลูกพืชท้ องถิ่นที่ดูแลง่ำยก่อน
เช่น ผักโขม คูน(ตูน ทูน อ้ อดิบ) วอเติร์เครส ผักหวำน ภูคำว เป็ นต้ น


Slide 44

เวทีเกษตรอินทรีย ์ วิถชี ล (วันที่ 22 มีนำคม 2555 ณ ห้ องทดลองในสวนป่ ำของลุงจุก
(คุณวีระพันธ์ จันทรนิภำ) รำงวัลลูกโลกสีเขียว พ.ศ.2553 บ้ ำนทุ่งเหียง ตำบลหมอนนำง
อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี)
2. องค์ควำมรู้เกษตรอินทรีย์ของลุงจุก (ต่อ)
 บำรุงพืชด้ วยธำตุอำหำรพืชจำกอินทรีย์
 จุลินทรีย์จำกหน่อกล้ วย ดินขุยไผ่ อินทรียวัตถุจำกเศษซำกพืช และไนโตรเจนจำกนำ้ ต้ อถั่ว
 สูตรนำ้ หมักหน่อกล้ วย เอำหน่อกล้ วยที่ติดดินด้ วยมำหั่นเป็ นท่อนๆ แล้ วผสมกับนำ้ ตำยแดง อัตรำ ๒ : ๑ คนให้ เข้ ำ
กัน หมักไว้ ๗ วัน
 สำรอินทรีย์ป้องกันกำจัดศัตรูพืช สูตรง่ำยๆ นำ้ พริกแกงเท่ำลูกมะนำวผสมนำ้ มะพร้ ำว ๑ ลูก
3. กำรขับเคลื่อนเครือข่ำยเกษตรอินทรีย์ ชิถีชล
 ต้ นนำ้ - อนุรักษ์และฟื้ นฟูป่ำต้ นนำ้ ปลูกไผ่ ต้ นตันหก ฯลฯ
 กลำงนำ้ - ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ข้ ำว ผัก ผลไม้ อินทรีย์
 ปลำยนำ้ - ลดขยะชุมชน นำขยะเปี ยกไปทำเกษตรอินทรีย์ในเมือง
 ขยำยผล - จัดตลำดนัดสีเขียวโดยใช้ สำนักงำนเกษตรอำเภอเมืองชลบุรีเป็ นศูนย์ประสำนงำน และจะร่ วมจัดกิจกรรม
เกษตรอินทรีย์กนั ในเดือนพฤษภำคม ๕๕๕
4. ชำวหนองรีและชำวเมืองอ่ำงศิลำมั่นใจในกำรทำเกษตรอินทรีย์มำกขึ้น นับแต่น้ ีไป กลุ่มส่งเสริมเกษตรอินทรีย์หนองรี ต.
หนองรี อ.เมืองชลบุรี เดินเครื่องเต็มที่ด้วยผักสลัด ๕ ชนิด ส่วนกลุ่มอนุรักษ์ส่งิ แวดล้ อมและพลังงำนเทศบำลเมืองอ่ำงศิลำ อ.
เมืองชลบุรี เดินเครื่องด้ วยสวนผักคนเมืองอ่ำง