Seminar_26_Dec_2011 - คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Download Report

Transcript Seminar_26_Dec_2011 - คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

CONSTRUCTING OF HOUSEHOLD ASSET INDEX:
CASE STUDY OF ASSET HOLDING OF THAI’S
HOUSEHOLD
โดย ดร.ศุภชัย ศรี สุชาติ
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
1
การสัมมนาเผยแพร่ ความรู้ คณะเศรษฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
26 ธันวาคม 2554
หัวข้ อการศึกษา
 ความสาคัญของการสร้ างการสร้ างดัชนีสินทรัพย์
 วรรณกรรมปริ ทศ
ั น์
งานศึกษาที่การประยุกต์ดชั นีเพื่อระบุฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจของครัวเรื อนใน
งานศึกษาของต่างประเทศ
 การประยุกต์ในงานศึกษาของประเทศไทย
 การศึกษาเกี่ยวกับวิธีการจัดทาดัชนีเพื่อระบุฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจของ
ครัวเรื อน

 แหล่งข้ อมูลและการเลือกตัวแปร
 วิธีการศึกษา

เทคนิค PCA และ MCA
 ผลการศึกษา
 สรุ ปผล ข้ อจากัด และข้ อเสนอแนะเชิงนโยบาย
2
ความสาคัญของการสร้ างดัชนีสินทรัพย์
 การสร้ างดัชนีสินทรัพย์ของครัวเรื อน (Household Asset Index) หรื อการสร้ างดัชนี
ความมัง่ คัง่ ของครัวเรื อน (Household Wealth Index)
 การสร้ างดัชนีอาจมีลก
ั ษณะเป็ นดัชนีแบบประสม (Composite Index) เพื่อลด
จานวนตัวแปรในแต่ละด้ านให้ เป็ นเพียงตัวแปรเดียวด้ วยน ้าหนัก (weight) ที่ให้ อย่าง
เหมาะสม
 ตัวแปรในการระบุฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจของครัวเรื อน ปั ญหาของการใช้ ตวั
แปรแบบดังเดิ
้ ม
 การสร้ างดัชนีสินทรัพย์เป็ นการลดมิติในการเปรี ยบเทียบข้ อมูล
3
ความสาคัญของการสร้ างการสร้ างดัชนีสินทรัพย์
 ความเอนเอียงของข้ อมูล (Bias) ที่น้อยกว่าวิธีการศึกษาในอดีตที่วด
ั ฐานะทางสังคม
ของครัวเรื อนจากตัวแปรรายได้ (Household Income) และค่าใช้ จ่ายของครัวเรื อน
(Household Expenditure)
 เหตุใดจึงไมใช้ มล
ู ค่าตามราคาตลาดของสินทรัพย์เป็ นตัวแปรแทน หรื อ การวิเคราะห์
โดยใช้ ข้อมูลที่ดินเพียงอย่างเดียวเพื่อระบุสถานภาพทางเศรษฐกิจของครัวเรื อน
4
วัตถุประสงค์ ของศึกษา
 เพื่อสร้ างดัชนีสินทรัพย์จากข้ อมูลการถือครองสินทรัพย์กลุ่มต่ างๆ คือ กลุม
่ ที่อยู่
อาศัยและสินทรัพย์คงทน กลุ่มสินทรัพย์เพื่อการลงทุน กลุ่มสิน ทรัพย์ทนุ มนุษย์
และกลุม่ สินทรัพย์รวม
 การศึกษายังมุ่งเน้ นที่จะทดสอบความสามารถของเทคนิคที่ใช้ ในการวิ เคราะห์
ซึง่ อาจให้ ผลของการศึกษาที่มีความแตกต่างกัน
 เพื่ อ เปรี ย บผลการสร้ างดัช นี ท รั พ ย์ สิ น กับ ข้ อ มูล สถานภาพทางเศรษฐกิ จ และ
สังคมแบบเดิม คือ รายได้ และค่าใช้ จ่ายของครัวเรื อน
 ขอบเขต ข้ อมูลสารวจสังคมและเศรษฐกิจของครัวเรื อน 2006 และ 2008
5
วรรณกรรมปริทศั น์
งานศึกษาที่การประยุกต์ ดัชนีเพื่อระบุฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจของครัวเรือนในงาน
ศึกษาของต่ างประเทศ
 งานศึกษาเพื่อระบุฐานะสถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของครัวเรื อน (Socio-
Economic Status) มีนิยามที่มีความแตกต่างมากมาย เช่น
การวัดชั ้นของสังคม (Socio-Economic Class) ที่พิจารณาความสัมพันธ์เชิงความ
เกี่ยวข้ องในด้ านของกฎหมาย เช่น การจัดชันเป็
้ นลูกจ้ าง นายจ้ าง การประกอบกิจการของ
ตนเอง และการไม่มีงานทา หรื อ
 การระบุตาแหน่ งทางสังคมและเศรษฐกิจ (Socio-Economic Position: SEP)

 การวัดในเชิงความมัง่ คัง่ ในเชิงเศรษฐกิจของครัวเรื อน (Krieger, William and Moss
1997; Prakongsai 2005)
 ข้ อถกเถียงในเชิงวิชาการถึงความเหมาะสม เช่น Howe, Hargreaves and Huttty
(2008)
6
วรรณกรรมปริทศั น์
งานศึกษาที่การประยุกต์ ดัชนีเพื่อระบุฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจของครัวเรือนในงาน
ศึกษาของต่ างประเทศ
 Howe,
Hargreaves and Huttty (2008) ระบุว่าตามทฤษฎีรายได้ ถาวร
(Permanent Income Hypothesis) ของ Friedman (1957) นันครั
้ วเรื อนจะ
ตัดสินใจระดับของบริ โภคโดยขึน้ กับระดับของรายได้ และจะปรั บเปลี่ ยนการ
บริโภคเพื่อรองรับกับรายได้ ที่มีความผันผวน
 การปรั บเปลี่ยนนี ้ดาเนินการเพื่อให้ ระดับของการบริ โภคตลอดช่วงชี วิตมีความ
ราบรื่ น (Smooth) ดังนันตั
้ วแปรค่าใช้ จ่ายในการบริ โภคของครัวเรื อนจึงน่าจะเป็ น
ตัวแปร SEP ที่ดีกว่ารายได้ เมื่อต้ องการระบุ SEP ในระยะยาว เป็ นต้ น
 อย่างไรก็ตามข้ อสมมติฐานนี ้อาจเหมาะสมเฉพาะประเทศที่รายได้ ของประชากร
อยู่ในระดับต่าและประชากรมีความแหล่งรายได้ ที่มีความผันผวนหรื อมีหลาย
แหล่ง และรายได้ นนขึ
ั ้ ้นกับฤดูกาล
7
วรรณกรรมปริทศั น์
งานศึกษาที่การประยุกต์ ดัชนีเพื่อระบุฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจของครัวเรือนในงาน
ศึกษาของต่ างประเทศ
 การใช้ ค่ า ใช้ จ่ า ยเพื่ อ การบริ โ ภคเป็ นเครื่ อ งมื อ ในการระบุ
SEP ที่ ดี ก ว่ า รายได้
ครัวเรื อน แต่ปัญหาสาคัญที่เกิดขึ ้นในทางปฏิบตั ิ คือ ข้ อมูลราคาของรายการที่มีการ
บริโภคมีความแตกต่างทังในด้
้ านเวลาและสถานที่
 การใช้ ข้ อ มูล จึ ง จ าเป็ นต้ อ งมี ก ารปรั บ ค่ า ให้ มี ค วามสอดคล้ อ งในเชิ ง พื น
้ ที่ แ ละ
ระยะเวลา ซึ่งต้ องใช้ วิธีการที่ซบั ซ้ อนและผลที่เกิดขึ ้นก็ยงั อาจมี ความคาดเคลื่อนที่
เป็ นระบบแฝงอยู่ (Deaton and Zaidi, 1999)
 ข้ อ ค าถามที่ ใ ช้ จ ะมี ล ัก ษณะถามแบบย้ อ นเวลากลับ (Retrospective) เกี่ ย วกั บ
ค่าใช้ จ่ายที่ใช้ มาก่อนหน้ า 14 วัน หรื อเดือนที่แล้ ว ซึ่งค่าใช้ จ่ ายบางรายการมี
ความสัมพันธ์กบั ช่วงเวลาที่สมั ภาษณ์
 การใช้ รายการค่าใช้ จ่ายมาเป็ นตัวแปรบ่งชี ้ SEP ของครัวเรื อนจึงอาจมีค วามเอน
เอียงเนื่องจากมีปัจจัยของช่วงเวลาที่ออกสารวจเพิ่มเข้ ามาด้ วยอีกส่ วนหนึ่ง (Sahn8
and Stifel, 2001; Prakongsai 2005)
วรรณกรรมปริทศั น์
งานศึกษาที่การประยุกต์ ดัชนีเพื่อระบุฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจของครัวเรือนในงาน
ศึกษาของต่ างประเทศ
 แนวคิดของการใช้ สินทรัพย์เป็ นเครื่ องมือแสดง
SEP โดยการใช้ สินทรัพย์เป็ นฐาน
(asset- based approach) พัฒนาจากการที่ข้อมูลรายได้ และค่าใช้ จ่ายมีค วาม
เอนเอียงที่สูงและการสารวจในประเทศด้ อยพัฒนาและกาลังพัฒนามีข้ อมูลใน
ส่วนนี ้จากัด
 ในทางปฏิบต
ั ิ การสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับรายได้ และค่าใช้ จ่ายนันมั
้ กท า
ให้ ผ้ ตู อบคาถามเลี่ยงหรื อปฏิเสธที่จะตอบคาถามนัน้ หรื อ ตัวเลขที่ผ้ ตู อบให้ ก็ไม่
ตรงกับความเป็ นจริ ง ซึ่งการสารวจและสร้ างคาถามที่เกี่ยวข้ องกับสิ นทรัพย์จะทา
ได้ ง่ายและเป็ นข้ อมูลที่ใกล้ เคียงความเป็ นจริ งมากกว่า ซึ่งข้ อมูล ที่สารวจกลุ่มนี ้
ได้ แก่ การสารวจด้ านประชากรและสาธารณสุข (Demographic and Health
Survey: DHS) หรื อ การสารวจสุขภาพของครอบครัว (Family Health Survey)
9
วรรณกรรมปริทศั น์
งานศึกษาที่การประยุกต์ ดัชนีเพื่อระบุฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจของครัวเรื อนในงาน
ศึกษาของต่ างประเทศ
 นอกจากนี ้ ในกระบวนการสัมภาษณ์ กลุ่มตัว อย่า ง
ผู้สารวจอาจสังเกตลั กษณะ
ทางกายภาพของครัวเรื อนว่ามีสินทรัพย์ใดภายในครัวเรื อนได้ โดยตรง ซึ่ งเป็ นการ
สอบทานข้ อมูลได้ ในระดับหนึง่ และเป็ นการลดความเอนเอียงที่จะเกิดขึ ้นกับข้ อมูล
(Sahn, 2003)
 ทังนี
้ ้ในการศึกษาช่วงแรกๆนัน้ จะเป็ นการวัดสินทรัพย์ที่เกี่ยวข้ องกับมาตรฐานการ
ครองชีพ (Living Standard) เช่น สินทรัพย์คงทนในครัวเรื อน วัสดุอปุ กรณ์ ในการ
ก่อสร้ างบ้ าน การเข้ าถึงบริ การสาธารณูปโภคขัน้ พื ้นฐาน และ การเข้ าถึ งบริ การ
สาธารณสุข เป็ นต้ น (Falkingham and Namazie, 2002; Howe, Hargreaves
and Huttty, 2008)
10
วรรณกรรมปริทศั น์
งานศึกษาที่การประยุกต์ ดัชนีเพื่อระบุฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจของครัวเรือนในงาน
ศึกษาของต่ างประเทศ
 ข้ อพึงระวังสาคัญคือการทดสอบความสมเหตุสมผลของข้ อมูล
(Internal Validity)
ว่ามีมากน้ อยเพียงใด และต้ องมีการทดสอบเทียบเคียงกับตัวแปรอื่นที่ใช้ ในการระบุ
SEP
เช่ น รายได้ แ ละค่าใช้ จ่ า ย ว่าอยู่ในทิศ ทางเดี ย วกัน หรื อ ไม่ โดยใช้ ค่า
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ แบบ Spearman (Montgomery, 2000; Lindelow, 2006;
Sumarto, Suryadarma, and Suryahadi, 2006)
 ความสามารถในการจาแนกข้ อมูลโดยการจัดลาดับของระดับของตัวแปรและดั ชนี
สินทรัพย์โดยการใช้ ค่า Quintile หรื อ Quartile และใช้ ค่าสถิติ Kappa ตรวจสอบว่า
Quintile หรื อ Quartile ระหว่างตัวแปรที่เลือกและดัชนีสินทรัพย์ นี ้มี ความแตกต่าง
กันมากน้ อยเพียงใด (Howe et al., 2008) ซึ่งงานศึกษาส่วนใหญ่ระบุว่าค่ า
ความสัมพันธ์ ของข้ อมูลทัง้ สองอยู่ในระดับที่สงู และสามารถนาไปใช้ เป็ นตัวแทน
11
ของ SEP ระยะยาวได้
วรรณกรรมปริทศั น์
งานศึกษาที่การประยุกต์ ดัชนีเพื่อระบุฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจของครั วเรื อนในงาน
ศึกษาของต่ างประเทศ
and Pritchett (2001) ใช้ ข้อมูลของประเทศอินเดียเพื่อกาหนดระดับความมัง่
คัง่ ของครัวเรื อนและเทียบกับการเข้ ารับการศึกษาของเยาวชน (School Enrolment)
โดย สร้ างดัชนีสินทรัพย์จากสมการเส้ นตรงของการถือครองสินทรัพย์และใช้ เทคนิค
PCA เพื่อหาน ้าหนักที่ให้ กบั สินทรัพย์แต่ละสินทรัพย์ที่นามาประกอบกันเป็ นดัชนี
 การทดสอบดัช นี ที่ ส ร้ างขึ น้ มี ก ารใช้ ข้ อ มูล ระดับ รั ฐ เป็ นกลุ่ม ที่ ใ ช้ ในการจ าแนกและ
ครอบคลุมถึงการใช้ ตวั แปร ระดับผลผลิตต่อหัว (Per Capita Output) และ ระดับ
ความยากจน (Poverty)
 ผลการศึกษาระบุว่า ดัชนีสินทรัพย์สามารถใช้ งานเพื่อการพยากรณ์ การเข้ าศึกษาของ
เยาวชนว่ามีความน่าเชื่อถือไม่ตา่ งจากการใช้ คา่ ใช้ จ่ายเป็ นตัวแปร
 Filmer and Pritchett (2001) ยังได้ ทาการทดสอบกับข้ อมูลของประเทศอินโดนีเซี ย
ปากี ส ถาน เนปาล ซึ่ง ผลที่ ไ ด้ ก็ ส ะท้ อ นถึง ความสามารถของดัช นี สิ น ทรั พ ย์ ใ นการ
12
จาแนกข้ อมูล SEP ของดัชนีสินทรัพย์
 Filmer
วรรณกรรมปริทศั น์
งานศึกษาที่การประยุกต์ ดัชนีเพื่อระบุฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจของครัวเรือนใน
งานศึกษาของต่ างประเทศ
Van Der Berg, Burger and Rand (2008) ใช้ ดชั นีสินทรัพย์เพื่อวัด
ระดับความยากจนของประเทศในกลุ่ม Sub-Saharan Africa ที่ประกอบด้ วย
ประเทศ Ghana, Kenya, Mali, Senegal, Tanzania, Zambia และ Zimbabwe
 ข้ อ แตกต่า งประการสาคัญ ในเชิ ง เทคนิ คของงานศึกษาของ Booysen et
al.
(2008) กับงานศึกษาต้ นแบบของ Filmer and Pritchett (2001) คือ การที่
Booysen et al. (2008) ใช้ เทคนิคของการสร้ างดัชนี ที่เรี ยกว่า Multiple
Correspondence Analysis (MCA) ซึง่ เป็ นการให้ น ้าหนักแก่สินทรัพย์รายการ
ต่างๆ
 ข้ อดีของวิธี MCA คือสามารถใช้ กบ
ั ข้ อมูลที่มีลกั ษณะเป็ น Discrete เช่น ตัวแปรที่
มีลกั ษณะเป็ น Binary หรื อ Categorical ได้ ดีกว่าเทคนิค PCA ที่มีความเหมาะสม13
สาหรับตัวแปรเชิงปริมาณที่มีความต่อเนื่อง (Continuous Variables)
 Booysen,
วรรณกรรมปริทศั น์
งานศึกษาที่การประยุกต์ ดัชนีเพื่อระบุฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจของครั วเรื อนในงาน
ศึกษาของต่ างประเทศ
 Booysen et
al. (2008) ระบุข้อพึงระวังสาหรับการใช้ งานดัชนีสินทรัพย์เมื่อเทียบกับ
การใช้ ตวั แปรรายได้ หรื อค่าใช้ จ่าย คือ การใช้ ดชั นีสินทรัพย์เป็ นการใช้ สินทรัพย์เพียง
บางรายการเพื่อประเมิน SEP ซึ่งอาจมีสินทรัพย์บางรายการที่ไม่ได้ รวมอยู่ในการ
สร้ างดัชนีนี ้ แต่มีความสาคัญในบริบทของสังคมนัน้ และนามาซึง่ ความแตกต่างที่ไม่
สามารถอธิ บายได้ ร ะหว่างตัวแปรแบบดัง้ เดิม คื อ รายได้ ห รื อค่า ใช้ จ่ายกั บดัช นี
สินทรัพย์
 การเปลี่ยนแปลงในรายได้ และค่าใช้ จ่ายมีการเปลี่ยนแปลงและผันผวนตามสภาพ
เศรษฐกิจได้ รวดเร็วกว่าดัชนีสินทรัพย์ เพราะสินทรัพย์ที่นามาสร้ างเป็ นดัชนีสว่ นมาก
เป็ นรายการของสินทรัพย์ คงทน ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงของสถานภาพของการถื อ
ครองที่ช้ากว่ารายได้ หรื อค่าใช้ จ่ายที่เป็ นตัวแปรที่มีพลวัตรสูง (Dynamic) จึงส่งผล
14
ให้ พฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงของดัชนีสินทรัพย์จึงช้ ากว่าและอาจมีความเสถียรที
่
มากกว่าและเหมาะสมที่ใช้ เป็ นตัวชี ้วัดในระยะยาว
วรรณกรรมปริทศั น์
งานศึกษาที่การประยุกต์ ดัชนีเพื่อระบุฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจของครั วเรื อนในงาน
ศึกษาของต่ างประเทศ
and Felton (2007) สร้ างดัชนีสินทรัพย์เพื่อพิจารณาการสะสมสินทรั พย์ของ
ตัวอย่างในประเทศ Ecuador โดยการแบ่งประเภทของสินทรัพย์ออกเป็ น 6 กลุม่ คือ
สินทรัพย์ทางกายภาพที่แบ่งเป็ นสองกลุม่ ย่อย คือ ที่อยู่อาศัย (Housing) และสินค้ า
คงทน (Durable Asset) สินทรัพย์ทางการเงิน (Financial Asset) ทุนมนุษย์
(Human Capital) และสินทรัพย์ทางสังคม (Social Capital) เพื่อพิจารณาว่าใน
ระหว่างช่วงปี 1978 1992 และ 2004 นันมี
้ การเปลี่ยนแปลงของดัชนีสินทรั พย์แต่ละ
กลุม่ อย่างไร
 การศึกษาใช้ ข้อมูลแบบ Panel Data จึงสามารถติดตามระดับของสินทรัพย์แต่ ละ
ประเภทของครัวเรื อนได้ โดยเทคนิคที่ Moser and Felton (2007) เลือกใช้ คือ
Polychoric PCA ซึง่ มีความเหมาะสมสาหรับข้ อมูลที่มีลกั ษณะเป็ น panel data
 Moser
15
วรรณกรรมปริทศั น์
การประยุกต์ ในงานศึกษาของประเทศไทย
(2005) เสนอการสร้ างดัชนีสินทรัพย์ และได้ ประยุกต์ใช้ ข้อมูลข้ อมูล
SES ของปี 1998 2000 และ 2002 เพื่อจัดทาดัชนีสินทรัพย์โดยมุ่งเน้ นที่สินทรัพย์
คงทนในครั ว เรื อ น โดยการใช้ เทคนิ ค PCA และมี ก ารทดสอบดั ช นี โ ดยค่ า
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ แบบ Pearson ที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรดัชนี
สินทรัพย์กับรายได้ ซึ่งโดยเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 0.53 และระหว่างตัวแปรดัชนี
สินทรัพย์กบั ค่าใช้ จ่ายอยู่ที่ประมาณ 0.52 ซึง่ ถือว่าอยู่ในระดับที่สงู และเป็ นไปใน
ทิศทางเดียวกัน
 Prakongsai
16
วรรณกรรมปริทศั น์
การประยุกต์ ในงานศึกษาของประเทศไทย
ว่ า พัฒ นวงศ์ (2007) ศึกษาการสร้ างดัช นี วัด สถานภาพเศรษฐกิ จและ
สังคม โดยใช้ กลุ่มตัวอย่างของระบบการเฝ้าระวังประชากรกาญจนบุรี (โครงการ
กาญจนบุรี) (Karnchanaburi Demographic Surveillance: KDSS) รอบ 1 และ
รอบ 5 และใช้ ข้อมูลสารวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ.2548 – 2549 เพื่อ
สร้ างดัชนีวดั สถานภาพเศรษฐกิจและสังคม
 วิธีที่เลือกใช้ คือ PCA และ Dichotomous Hireachicl Ordered Probit (DiHOPIT)
ซึง่ เมื่อเปรี ยบเทียบดัชนีที่สร้ างด้ วยวิธีทงสองแล้
ั้
วพบว่ามีความสอดคล้ องกันและมี
ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ที่สงู
 เมื่อเทียบกับความยากง่ายในการดาเนินการแล้ วการใช้ งาน PCA จึงเป็ นทางเลือก
ที่ดีกว่า DiHOPIT
 ปั ท มา
17
ตารางที่ 1
วรรณกรรมปริทศั น์
การศึกษาเกี่ยวกับวิธีการจัดทาดัชนีเพื่อระบุฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจของครัวเรือน
 แนวทางการสร้ างดัชนีสินทรัพย์
J
C   wti , j ati , j
i
n ,t
j 1
 การใช้ ร าคาของสิ น ทรั พ ย์ แ ต่ ล ะประเภทแทนน า้ หนั ก
ปั ญ หาคื อ การ
คานวณราคาที่จะเป็ นราคาที่ใช้ คานวณ (imputation) นัน้ ไม่สามารถ
กาหนดได้ อย่างเหมาะสมจากประเด็นด้ าน พื ้นที่และเวลา
 การใช้ unit value ของสินทรัพย์ เป็ นตัวแทน ซึ่งประเด็นปั ญหาอยู่ ที่เมื่อ
กาหนดจานวนสินทรั พย์ ที่มีอยู่แล้ ว การกาหนดนัน้ จะมีลั กษณะเป็ นค่า
น ้าหนักที่เท่ากัน ซึ่งอาจไม่ตรงกับความเป็ นจริ ง เช่น การกาหนดนา้ หนัก
ของวิทยุให้ เท่ากับจักรยานยนต์เป็ นต้ น
 การใช้ เทคนิค PCA เพื่อการกาหนดน ้าหนักที่เหมาะสม
18
วรรณกรรมปริทศั น์
การศึกษาเกี่ยวกับวิธีการจัดทาดัชนีเพื่อระบุฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจของครัวเรือน
 แม้ ว่าการใช้ เทคนิค PCA
ตามแนวทางของ Filmer and Pritchett (1998, 2001)
จะเป็ นที่นิยมใช้ งานเนื่องจากมีความง่าย แต่ข้อบกพร่องประการหนึ่ง ของการสร้ าง
ดัชนีด้วยเทคนิค PCA คือ
PCA เหมาะสาหรับข้ อมูลที่มีความต่อเนื่อง และค่าความสัมพันธ์ มีทิศทางเดียวกับตัว
แปรที่ใช้ เป็ นดัชนีในด้ านมิติของการตีความ เช่น ในกรณีที่ตัวแปรที่บ่ งชี ้ว่าค่าน้ อยเป็ น
ค่าที่แสดงถึงการมีตาแหน่งทางสังคมที่สงู ซึง่ ไม่สอดคล้ องกับการตีความค่าดัชนี ตัวแปร
ลักษณะนี ้ต้ องมีการปรับค่าให้ มีทิศทางเดียวกับทิศทางของดัชนี เช่น การใช้ ค่าส่วนกลับ
ของข้ อมูลเป็ นต้ น
 การใช้ PCA คือข้ อสมมติฐานของความสัมพันธ์ ของตัวแปรต้ องเป็ นความสัมพัน ธ์ เชิง
เส้ นตรง ซึ่งหากความสัมพันธ์ นี ้มีลกั ษณะอื่นที่ไม่ใช่เส้ นตรงการใช้ PCA เพื่ออธิ บาย
ข้ อมูลจะทาได้ อย่างจากัด
 หากข้ อมูลใดมีการเปลี่ยนแปลงไป การคานวณดัชนีชี ้วัดย่อมมีการเปลี่ยนแปลงไป โดย
19
ผลที่เกิดขึ ้นนี ้ส่งผลกับทุกตัวแปรในเชิงของน ้าหนักที่ใช้

วรรณกรรมปริทศั น์
การศึกษาเกี่ยวกับวิธีการจัดทาดัชนีเพื่อระบุฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจของครัวเรือน
 MCA
ไม่จาเป็ นต้ องมีข้อสมมติฐานเกี่ยวกับการกระจายตัวของข้ อมูลและรู ปแบบ
ความต่อเนื่องของข้ อมูล (Booysen et al., 2008) และไม่ต้องมีเงื่อนไขเชิงเส้ นของ
การตีค่าตัวแปร กล่าวคือ ค่าความห่างของข้ อมูลที่เป็ น binary outcome นัน้ มี
ลัก ษณะคล้ ายกั บ ค่ า ความห่ า งในกรณี ที่ ข้ อมู ล มี ลัก ษณะเป็ น order outcome
(Blasius and Greenacre, 2006; Booysen et al., 2008)
 ตามทฤษฎีของการใช้ งาน MCA จะมีความยุ่งยากกว่า PCA ที่ต้องมีการสร้ างและ
จัดการเมทริ กซ์ ของข้ อมูลใหม่ โดย Asselin (2002) เสนอแนวทางในการสร้ าง
เมทริกซ์ตวั บ่งชี ้ (Indicator Matrix) ที่สมาชิกภายในประกอบด้ วยศูนย์หรื อหนึ่งเท่านัน้
และมีตวั แปรต่างๆซึง่ อาจแปลงมาจากตัวแปรที่มีลกั ษณะเป็ น categorical
20
วรรณกรรมปริทศั น์
การศึกษาเกี่ยวกับวิธีการจัดทาดัชนีเพื่อระบุฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจของครัวเรือน
 Howe et





al. (2008) ได้ ทาการเปรี ยบเทียบการสร้ างดัชนีสินทรัพย์ 5 รูปแบบ ได้ แก่
ก) การใช้ PCA ที่รวมทุกรายการที่มีลกั ษณะเป็ นตัวแปรทางเลือก (Categorical Variable)
ข) การใช้ PCA ที่สรุปทางเลือกมาเป็ น Binary Outcome
ค) การให้ น ้าหนักที่เท่ากันของทุกรายการสินทรัพย์ซงึ่ เป็ นตัวแปร Binary
ง) การให้ น ้าหนักด้ วยค่าส่วนกลับของจานวนกลุม่ ตัวอย่างทังหมดที
้
่เป็ นเจ้ าของสินทรัพย์นนั ้
จ) การใช้ เทคนิค MCA ที่รวมทุกรายการที่มีลกั ษณะเป็ นตัวแปรทางเลือก
 Booysen et
al. (2008) ได้ เปรี ยบเทียบวิธี PCA และ MCA ของข้ อมูลชุดเดียวกัน
และตัง้ ข้ อสังเกตที่สาคัญเกี่ ยวกับความสามารถในการสร้ างนา้ หนัก เพื่อสะท้ อน
ความสามารถของทิศทางการตีความค่าดัชนี เช่น การใช้ Smart Floor ควรมีค่า
น ้าหนักในดัชนีที่สงู กว่า Cement Floor แต่น ้าหนักที่เกิดจากเทคนิ ค PCA กลับ
ให้ ผลที่กลับกัน เป็ นต้ น ซึง่ เป็ นตัวอย่างหนึ่งที่ PCA มีความสามารถในการจาแนกที่
ด้ อยกว่า MCA
21
แหล่ งข้ อมูลและการจัดการข้ อมูล
 งานศึกษานี ้ใช้ ข้อมูลสารวจสังคมเศรษฐกิจครัวเรื อน
(SES) ปี พ.ศ. 2549 หรื อ
SES2006 และ พ.ศ. 2551 หรื อ SES2008 หรื อ ที่จดั ทาโดยสานักงานสถิติแห่งชาติ
 ข้ อมูลทังหมดประกอบด้
้
วยข้ อมูล 18 กลุม่ (Record) โดยมีครัวเรื อนทังสิ
้ ้น 44,918
ครัวเรื อนในปี 2549 และ 42,835 ครัวเรื อนในปี 2551
 น ามาเชื่ อ มต่ อ กัน โดยการสร้ างรหัส ครั ว เรื อ น เพื่ อ ให้ ส ามารถดึง ข้ อ มู ล ที่ ต้ อ งการ
ออกมามากที่สุด ซึ่งบางกลุ่มจะเป็ นลักษณะของข้ อมูลรายบุคคล และข้ อมูลราย
ครัวเรื อน
 การต่อข้ อมูลจากรายคนเป็ นข้ อมูลรายครัวเรื อนมีความสาคัญเนื่องจากเป็ นการดึง
ข้ อมูลหรื อคุณลักษณะบางประการของสมาชิกในครัวเรื อนมาสร้ างเป็ นข้ อมู ลให้ กบั
ครัวเรื อน เช่น

การศึกษาของหัวหน้ าครั วเรื อนหรื อการศึกษาสูงสุดของสมาชิกในครั วเรื อนอาจบ่ งชี ้ถึง
ความสามารถในการรั บรู้ ข้ อมูลข่าวสารของครั วเรื อนนัน้ และความสามารถในการหา22
รายได้ ของครัวเรื อนนั ้น
แหล่ งข้ อมูลและการจัดการข้ อมูล
 การเลื อ กตั ว แปรที่ เ หมาะสม
เป็ นตั ว แปรสิ น ทรั พ ย์ ที่ ส ามารถแสดงถึ ง การ
เปลี่ ย นแปลงฐานะของคนในครั ว เรื อ น โดยการตี ค วามในทิ ศ ทางเดี ย วกับ ดัช นี
สินทรัพย์ที่สร้ างขึ ้น
 ตัวแปรสินทรัพย์ที่เลือกใช้ แบ่งกลุม
่ ตัวแปรสินทรัพย์ เป็ น



กลุม่ สินทรัพย์ที่เกี่ยวข้ องกับที่อยู่อาศัยสาธารณูปโภคและสินทรัพย์คงทนในครัวเรื อน
กลุม่ ตัวแปรสินทรัพย์การเงินหรื อเพื่อการลงทุน/สะสมทุน
สินทรัพย์ที่แสดงระดับทุนมนุษย์ (ระดับการศึกษาสูงสุดของหัวหน้ าครัวเรื อน) และสภาพการ
ทางาน
 การจัดทาดัชนีจะทาการแยกกลุ่มของตัวแปรเพื่อสร้ างดัชนีในแต่ละกลุ่มเพื่อนามา
ศึกษาถึงน ้าหนักความสาคัญของตัวแปรที่ให้ กบั ดัชนี ซึ่งจะแสดงภาพรวมของสร้ าง
น ้าหนักของการถือครองสินทรัพย์แต่ละประเภทของครัวเรื อนไทย
23
การเปรียบเทียบผลการศึกษา
 การเปรี ยบเที ย บค่ า ของดั ช นี ไ ม่ ส ามารถเที ย บเคี ย งกั น ได้ ในเชิ ง ของขนาด
(Incomparable) เนื่องจากการสร้ างดัชนีมาจากตัวแปรต่างประเภทกันซึ่งการอ้ างอิง
ค่าขนาดของดัชนีโดยตรงจึงอาจทาให้ การวิเคราะห์เกิดความเอนเอียง
 การเปรี ยบเที ยบสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ (Correlation) ของดัชนีทรั พย์ สิ น กับรายได้
และ ค่าใช้ จ่ายของครัวเรื อน
 การเที ย บเคี ย งกัน จึ ง ต้ อ งมี ก ารใช้ ต าแหน่ ง หรื อ อัน ดับ ของคะแนนว่ า อยู่ ใ นระดับ ที่
ใกล้ เคียงกันหรื อไม่โดยนาไปเปรี ยบเทียบกับตาแหน่งของตัวแปรที่เป็ นตัวแปรที่แสดง
SEP ของครัวเรื อนแบบดังเดิ
้ ม คือ รายได้ ของครัวเรื อน รายได้ ต่อหัวของครั วเรื อน
ค่าใช้ จ่ายของครัวเรื อน และ ค่าใช้ จ่ายต่อหัวของครัวเรื อน
 การกาหนด Quintile ให้ กบ
ั ค่าดัชนีและตัวแปรอ้ างอิง และใช้ ค่าสถิติ Kappa ที่เป็ น
ค่าสถิติเพื่อใช้ ในการคานวณและตรวจสอบความสอดคล้ องของตาแหน่งระหว่ างดัชนี
24
ที่ถกู สร้ างขึ ้นกับตัวแปรที่ใช้ อ้างอิง
การเปรียบเทียบผลการศึกษา
 การเปรี ยบเทียบดัชนี ทงั ้ สี่รูปแบบแล้ วจะน ามาคานวณค่าความสัมพัน ธ์ ระหว่า งกัน
โดยค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ (Correlation) และคุณสมบัติที่สาคัญของแต่ละดัชนี
ค่าสถิติ Kappa เป็ นค่าสถิติที่ใช้ เพื่อทดสอบความสามารถในการจาแนกข้ อมูลกลุ่ม
ว่ามีความเหมือนหรื อต่างกันหรื อไม่ ซึ่งอาจศึกษาเพิ่มเติมจาก Landis and Koch
(1977) Fleiss, Nee, and Landis (1979) และ Stata (2009)
25
วิธีการสร้ างดัชนีและตัวแปรที่ใช้
วิธี
PCA และ MCA (รายละเอียด ดูได้ จากหนังสือสถิติ
กลุ่ม Multivariate Analysis)
 การปรับรู ปแบบของตัวแปร
continuous variables  Binary
 categorical variables  Binary
 binary choice response
 กรณี MCA ใช้ categorical variable

26

Physical and Durable
วัสดุที่สร้ างบ้ าน
Cement or Brick
Wood
Wood and Cement or Brick
Local Material
Reused Material
Other
การใช้ ส้วม
No facility nearby
Flush latrine
Mould latrine
Flush and mould latrine
Others
การมีไฟฟ้ าใช้ (Electricity)
rooms
Microwave Oven
Refrigerator
Electrical cooking pot
Video/VCD/DVD
Washing machine
Air conditioner
Water boiler
2 Home computer
7
 Investment
Motorcycle
Automobile
การได้ รับค่าเช่า (Rental)
การเป็ นเจ้ าของ Patent / Copy Right
 Human Capital
ระดับการศึกษาของหัวหน้ าครัวเรื อน
Primary and Below
Lower Secondary and lower vocational
Upper Secondary and upper vocational
University
Master Degree
Doctoral Degree
Other
สถานภาพในการทางานของหัวหน้ าครัวเรื อน
Employer
Own- account worker
Unpaid family worker
Employee - government
State enterprise employee
Private company employee
Member of co-operative group
Housewife
Students
Children, elderly person
Disabled person
Looking for a job
Unemployed
Others
เพศของหัวหน้ าครัวเรื อน (Gender)
ผลการศึกษา
การสร้ างดัชนีแต่ ละกลุ่มด้ วยวิธี PCA วิธี MCA และ EQUAL WEIGHT
 พิจารณาจากตารางประกอบ
 การสร้ างดัชนีสินทรัพย์ทงการแยกกลุ
ั้
่มและการรวมทุกสินทรัพย์ต่ างให้ ผลลัพธ์ ที่
น่า พอใจในเรื่ องของความสอดคล้ อ งของดัชนี ที่ส ร้ างขึน้ ในแต่ล ะวิธี รวมถึง
ผลลัพธ์ ของค่านา้ หนักที่ได้ รับก็ไม่ได้ ต่างจากความคาดหมายในทิ ศทางตรงกัน
ข้ าม ซึง่ ส่วนต่อไปจะได้ มีการนาเสนอเกี่ยวกับการทดสอบดัชนีที่สร้ างขึ ้นในแต่ละ
วิธีกบั ตัวแปรที่ใช้ วดั SEP แบบดังเดิ
้ มคือรายได้ และค่าใช้ จ่าย
28
0.400
ปี 2549
ปี 2551
รวม 2 ปี
0.300
0.200
0.100
-
-0.100
-0.200
-0.300
-0.400
29
0.8
0.7
ปี 2549
ปี 2551
รวม 2 ปี
0.6
0.5
0.4
0.3
0.2
0.1
0
Automobile
มี
Rent
มี
Patent
มี
Motorcycle
มี
-0.1
-0.2
-0.3
30
0.6
ปี 2549
ปี 2551
รวม 2 ปี
0.4
0.2
0
-0.2
-0.4
-0.6
-0.8
31
ผลการศึกษา
การเปรียบเทียบดัชนีกลุ่มสินทรัพย์ คงทนด้ วยวิธีอ่ นื ๆ เทียบกับรายได้ ค่ าใช้ จ่าย
 ดัชนีสินทรัพย์ที่สร้ างด้ วยวิธี MCA แสดงค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ ที่เป็ นบวกในทุก
กรณี ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ ที่สอดคล้ องกันระหว่างดัชนีสินทรัพย์ กับตัวแปรแสดง
SEP แบบดังเดิ
้ ม โดยมีความสัมพันธ์ที่สงู กว่าตัวแบบอื่นๆในการสร้ างดัชนีสินทรัพย์
ทุน มนุ ษ ย์ และสิ น ทรั พ ย์ เ พื่ อ การลงทุ น ซึ่ ง สาเหตุ ป ระการหนึ่ ง น่ า จะ มาจาก
โครงสร้ างตังต้
้ นของตัวแปรสินทรัพย์ที่มีลกั ษณะเป็ น Categorical
 สาหรับดัชนีสินทรัพย์ที่สร้ างโดยวิธี Equal weight มีความสอดคล้ องกับตัวแปรที่วด
ั
SEP แบบเดิมที่น้อยที่สดุ
 เมื่ อ ใช้ ค่ า สัม ประสิ ท ธิ์ ส หสัม พัน ธ์ เ ป็ นเครื่ อ งมื อ ในการชี ว้ ัด และค่ า สัม ประสิ ท ธิ์
สหสัมพันธ์ที่ได้ มีความสอดคล้ องกับงานศึกษาในอดีตโดย Prakongsai (2005) ที่
อยู่ระดับประมาณ 0.53 ในกรณีของข้ อมูลรายได้ และค่าใช้ จ่าย ซึ่ง Prakongsai
32
(2005) ใช้ ข้อมูล SES ของปี 1998 2000 และ 2002
ความสัมพันธ์ ระหว่ างดัชนีท่ สี ร้ างขึน้
33
ผลการศึกษา
การเปรียบเทียบดัชนีกลุ่มสินทรัพย์ คงทนด้ วยวิธีอ่ นื ๆ เทียบกับรายได้ ค่ าใช้ จ่าย
 ข้ อมูลของวิธี
PCA ที่สอดคล้ องกับตัวแปรวัด SEP แบบเดิม ในการสร้ างดัชนี
สินทรัพย์รวมและสินทรัพย์กลุม่ ที่อยูอ่ าศัย สภาพแวดล้ อม และสินทรัพย์คงทน และ
มีความสอดคล้ องกับการวัดค่าโดยการใช้ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ตามที่เสนอมา
ก่อนหน้ า
 เทคนิค MCA มีความสอดคล้ องกับข้ อมูลของสินทรัพย์กลุม
่ สินทรัพย์ เพื่อการลงทุน
และกลุ่ม สิ น ทรั พ ย์ ทุน มนุษ ย์ ในขณะที่ ก ารสร้ างดัช นี สิ น ทรั พ ย์ ด้ วยวิ ธี Equal
Weight ให้ ผลที่ด้อยกว่าวิธี PCA และ MCA ในทุกตัวแปร นอกจากนี ้การทดสอบ
ระหว่า งดัช นี ที่สร้ างในแต่ละวิธี ให้ ผลที่ สอดคล้ องกัน และให้ ค่าร้ อยละของการ
ยอมรับในระดับที่สงู
34
ผลการศึกษา
การเปรียบเทียบดัชนีกลุ่มสินทรัพย์ คงทนด้ วยวิธีอ่ นื ๆ เทียบกับรายได้ ค่ าใช้ จ่าย
 การใช้ สร้ างดัชนีสินทรัพย์ในแต่ละวิธียงั มีข้อแตกต่างกันในด้ านของวิธีการซึง่ มีผลที่
แปรผันกับประเภทของข้ อมูลสินทรัพย์ที่นามาใช้ ซึ่งผลการศึกษาชี ช้ ดั ว่าข้ อมูลที่มี
ลักษณะเป็ นตัวแปร Continuous นัน้ มีความสอดคล้ องกับการสร้ างดัชนีด้ วยวิธี
PCA สาหรับข้ อมูลที่เป็ นตัวแปร Categorical การใช้ วิธี MCA มีความสอดคล้ องที่
สูงกว่าวิธีอื่น
 กลุ่ม สิ น ทรั พ ย์ ร วมให้ ค่า ความสอดคล้ อ งที่ สูง สุด อัน เป็ นผลมาจากการใช้ ข้ อ มูล
ทังหมดมาเพื
้
่อใช้ ในการอธิบายผล ในขณะที่กลุ่มสินทรัพย์ที่ผลให้ ผลที่ไม่อาจใช้
เพื่อการตัดสินใจได้ อย่างดี คือ กลุ่มสินทรัพย์เพื่อการลงทุน ในเชิ งผลของน ้าหนัก
ของแต่ละตัวแปรนัน้ สินทรัพย์คงทน ระดับการศึกษาของหัวหน้ าครัวเรื อน และ
สภาพการทางานของรัฐ แสดงค่าน ้าหนักที่สงู
35
KAPPA STATISTICS
PCA
1.000
PCA
(100%)***
0.7488
MCA
(79.91%)***
0.2745
Income
(41.96%)***
Expenditure 0.2911
(43.29%)***
MCA
Income
Expenditure
1.000
(100%)***
0.2824
(42.59%)***
0.2987
(43.90%)***
1.000
(100%)***
0.4816
(43.90%)***
1.000
(100%)***
36
การประยุกต์ ใช้
 การกาหนดนโยบายสาธารณะเพื่อใช้ กาหนดกลุม
่ เป้าหมายที่รัฐจะให้ การช่วยเหลือ
หรื อ การใช้ ประเมินความมัง่ คัง่ ของประชาชนรายพื ้นที่ และสามารถใช้ ข้อมูล
ประเภทเดี่ยวกันที่มีการจัดทาเป็ นมาตรฐานในการทาซ ้ากับข้ อมูลในปี ต่อๆมาเพื่อ
ระบุถงึ การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรื อนที่จะเกิดขึ ้นในอนาคต
 การถือครองหลักทรัพย์ของกองทุนรวมต่างๆ เพื่อกาหนดเป็ นดัชนีของหลักทรัพย์ที่
กองทุนต่างๆมีการถือครอง และนาดัชนีนนไปวิ
ั ้ เคราะห์คณ
ุ ลักษณะของการถือครอง
สินทรัพย์รายรายการหรื อการวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้ องกับคุณลักษณะอื่นของกองทุน
37
pca_asset
1.2
1
0.8
0.6
0.4
Series1
Series2
Series3
Series4
Series5
0.2
0
-0.2
-0.4
-0.6
-0.8
pca_hum
pca_inv
ตัวอย่าง เพื่อดูรูปแบบของการถือครองสินทรัพย์ (โดยเปรี ยบเทียบ) ในรายพื ้นที่
38
cwt_pca_asset
2.5
2
1.5
1
0.5
0
cwt_pca_tt
-0.5
Series1
cwt_pca_inv
Series2
Series3
Series4
39
cwt_pca_hum
สรุ ปผล
ข้ อเสนอแนะเชิงนโยบาย ข้ อจากัดของงานศึกษา
 ข้ อเสนอแนะเพื่อนาหลักการนี ้ไปใช้ ต่อ คือ เมื่อทดสอบได้ ว่าดัชนี มีความแปรปรวน
ที่ต่าเมื่อเวลามีการเปลี่ยนแปลงไป และการปรับเปลี่ยนสินทรัพย์บางรายการไม่ได้ มี
การส่งผลต่อดัชนีและตาแหน่งของครั วเรื อนเมื่อเรี ยงตามลากัดดัชนี ที่ได้ รับมาก
เกินไป ก็สามารถนาดัชนีไปใช้ ต่อได้ ซึ่งดัชนีนี ้อาจนาไปใช้ เพื่ อการจาแนกกลุ่มของ
ครัวเรื อน หรื อ ใช้ เป็ นตัวแปรร่วมกับตัวแปรด้ านภูมิประชากร เพื่อแสดงคุณลักษณะ
บางประการของประชากร
 งานศึกษาของผู้เขียนที่ตอ
่ เนื่องจากงานศึกษานี ้ คือ การศึกษาการเปลี่ยนแปลงของ
การถื อครองสินทรั พย์ ประเภทต่างๆของครั วเรื อนไทย การสร้ างแผนที่ที่กาหนด
ตาแหน่งฐานะทางสังคมเศรษฐกิจของครัวเรื อน การกาหนดนโยบายด้ านการศึ กษา
ของภาครัฐ และ นโยบายด้ านการสาธารณสุข
40
สรุ ปผล
ข้ อเสนอแนะเชิงนโยบาย ข้ อจากัดของงานศึกษา
 ข้ อ จ ากัด ของงานศึก ษาคื อ การเลื อ กตัว แปรเข้ า มาอยู่ใ นดัช นี อ าจมี ข้ อ โต้ แ ย้ ง ถึ ง
ความเหมาะสมและความหมายของแต่ละตัวแปร ซึง่ ต้ องอยูใ่ นดุลยพินิจของผู้วิจยั
 ข้ อจากัดประการที่สอง คือ คาถามหรื อตัวแปรที่มีอยู่ในการสารวจของสานักงาน
สถิติแห่งชาติหรื อฐานข้ อมูลอื่นอาจมีจานวนข้ อมูลจากัด ไม่ตรงในรายการของ
ข้ อมูลที่ต้องการ และสินทรัพย์ในบางรายการไม่ได้ รวมอยู่ในการสารวจนัน้ ซึ่งการ
สารวจที่จาเพาะเจาะจงจะช่วยให้ การสร้ างดัชนีตรงวัตถุประสงค์ของงานศึกษา
41
ถาม-ตอบ
42
ติดต่ อ ดร.ศุภชัย ศรี สุชาติ
ห้ อง 514 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Email: [email protected], [email protected]
โทร 02-613-2431