๑๔.PPTรูปแบบการนิเทศ LOR
Download
Report
Transcript ๑๔.PPTรูปแบบการนิเทศ LOR
การประกันคุณภาพการศึกษา
ที่สาคัญที่สดุ คือการประกันคุณภาพ
ระดับห้องเรียน
1. ต้องการเห็นทุกฝ่ ายให้ความสาคัญกับ
คุณภาพการศึกษาระดับห้องเรียน
2. การพึง่ ตนเองที่มีความยัง่ ยืนคือการ
พึง่ ตนเอง ดีกว่าพึง่ คน/หน่ วยงานอืน่
ครู
จัดการเรียนการสอน
คุณภาพการเรียนการสอน
ผูบ้ ริหาร
บริหารสถานศึกษา
คุณภาพการบริหารสถานศึกษา
ผูน้ ิ เทศ
นิ เทศการศึกษา
คุณภาพการนิ เทศการศึกษา
รูปแบบการนิ เทศแบบ LOR เพือ่
ส่งเสริมระบบประกันคุณภาพการศึกษา
เพือ่ การประกันคุณภาพระดับห้องเรียน
รูปแบบการนิ เทศ LOR
Lesson Study: การศึกษาชัน้ เรียน/บทเรียน
Open Approach: วิธีการแบบเปิ ด
Reflective Coaching: การสะท้อนคิด
เพือ่ พัฒนาประสิทธิภาพการสอนของครู
มุ่งสูค่ ุณภาพระดับห้องเรียน(ผูเ้ รียน)
Dr. John Hattie จากมหาวิทยาลัย Auckland สรุปว่า impacts ที่สง่
ผลลัพธ์ต่อการยกระดับ "คุณภาพของนักเรียน" อย่างมีนยั สาคัญ คือ
การสอนคณิ ต
ศาสตร์ 0.43
การพัฒนา
วิชาชีพครู
0.62
การจัดการ
เรียนรู ้ 0.52
ความสัมพันธ์
ระหว่างครูกบั
นักเรียน 0.72
การวางแผน
ชัน้ เรียน 0.60
สอนแก้โจทย์
ปัญหา 0.61
การสะท้อน
ผลการสอน
0.73
การ
ประเมินผลที่
ตรงประเด็น
0.90
คาถาม : เราได้ปฏิรูปการศึกษาในประเด็นเหล่านี้ มากน้อยเพียงใด?
ข้อสรุป : การปฏิรูปการศึกษาต้องเน้นกิจกรรมที่ให้ impacts ที่สง่ ผลลัพธ์ต่อการ
ยกระดับ "คุณภาพของนักเรียน" อย่างมีนยั สาคัญ เท่านั้น
Dr. John Hattie จากมหาวิทยาลัย Auckland สรุปว่า
วิธีพฒั นาครูท่ไี ด้ผลมาก คือ
1. สังเกตการสอนของครูในห้องเรียน
2. ให้ Feedback แก่ครู
3. ให้มีครูช่วยฝึ ก (Coaching)
4. ให้ครูเรียนรูร้ ว่ มกันจากประสบการณ์การสอน
จริง
• ประเทศญี่ปนุ่
• ให้ผูเ้ กี่ยวข้องทุกคน เช่น ครู ผูบ้ ริหารโรงเรียน
ศึกษานิ เทศก์ ผูเ้ ชี่ยวชาญ นักวิจยั ร่วมกันสังเกตการสอน
ของครูในห้องเรียน
• ร่วมกันศึกษาบทเรียน (Lesson Study) ที่ได้จากการเขียน
แผนการสอนและการใช้แผนการสอน
• และร่วมกันสะท้อนผล เพือ่ ช่วยเหลือครูยกระดับ
ประสิทธิภาพการสอนให้ดีข้ ึนตลอดเวลา ซึ่งจะส่งผลตรง
ต่อการยกระดับคุณภาพการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน
L: Lesson Study มีนกั วิชาการใช้คาที่แตกต่างกัน เช่น
• ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์ ผูร้ เิ ริ่มนาเอา Lesson Study มาใช้
ในประเทศไทยใช้คาว่า “การศึกษาชัน้ เรียน” เมื่อปี 2545
• บางคนอาจเรียกว่า Research Study (การวิจยั แผนการสอน)
• หรือ “กระบวนการเรียนรูว้ ชิ าชีพ” (professional learning)
• หรือ “การเรียนรูบ้ ทเรียน”
• หรือ “การศึกษาบทเรียน”
• หรือ “การศึกษาและพัฒนาบทเรียน”
• หรือ “การวิจยั บทเรียน”
Lesson Study เป็ นนวัตกรรมที่เป็ นรูปแบบหลักในการ
พัฒนาวิชาชีพครู ที่ได้รบั การพัฒนาและใช้ในประเทศญี่ปนมา
ุ่
ประมาณ 150 ปี มาแล้ว
ได้รบั การยอมรับว่าเป็ นวิธที ่มี ปี ระสิทธิภาพในการปรับปรุ งและ
การพัฒนาการสอนคณิ ตศาสตร์
เป็ นวิธีการที่ทาให้การสอนดีข้ ึนอย่างยัง่ ยืนมัน่ คง
จนกระทัง่ กลายมาเป็ นระบบการพัฒนาวิชาชีพครู และ
วัฒนธรรมการเรียนการสอนและการเรียนรูร้ ่วมกันของประเทศ
ญี่ปนุ่ ในปัจจุบนั
เป็ นวิธีการที่ครูเป็ นผูผ้ ลักดันให้เกิดการปรับปรุง
การสอน โดยมีเป้ าหมายหลักอยู่ท่นี กั เรียน
ทาให้ครูคน้ พบว่า... การร่วมมือกันอย่างดีระหว่าง
ครู......
... >>ทาให้ครูได้มีโอกาสแลกเปลี่ยน
เรียนรูเ้ กี่ยวกับการสอน<<
ความสาคัญอยู่ท่ีการวิจยั แผนการจัดการเรียนรู ้
โดยใช้แผนการจัดการเรียนรูเ้ ป็ นยุทธศาสตร์สาคัญ ซึ่งมีกระบวนการ 3 ขัน้ ตอน คือ
1. ร่วมกันสร้างแผนการจัดการเรียนรู ้
2. ร่วมกันสังเกตการสอนในห้องเรียน
3. ร่วมกันสะท้อนผลการจัดการเรียนรู ้
1. ร่วมกัน ทาแผนการสอน
1. ต่างคนต่างทา (แอบทา/ไม่มี
ใครรู)้
2. ร่วมกันสังเกตการสอน
2. ต่างคนต่างสอน (ข้าจะสอน
อย่างไร ใครอย่ายุ่ง)
3. ร่วมกันสะท้อนผลการสังเกต
การสอนและนาไปปรับปรุง
3. ไม่ค่อยมีการร่วมกันพูดคุยกัน
เกี่ยวกับการเรียนการสอน
• ครู ผูบ้ ริหารโรงเรียน
ศึกษานิ เทศก์ นักวิจยั
ผูเ้ ชี่ยวชาญ ฝัง่ ตัวอยู่ในระบบ
การเรียนการสอนในห้องเรียน
(โรงเรียนสัปดาห์ละครัง้ )
• ดึงครู ผูบ้ ริหารโรงเรียน
ศึกษานิ เทศก์ ฯลฯ ออกห่าง
จากระบบการเรียนการสอน
ในห้องเรียน/โรงเรียน
• มีการประชุมสะท้อนผล
แลกเปลี่ยนเรียนรูร้ ว่ มกัน
เกี่ยวกับการเรียนการสอนทุก
สัปดาห์
• การประชุมประจาเดือนใน
โรงเรียนที่ไม่มวี าระเกี่ยวกับ
การเรียนการสอนใน
ห้องเรียน
O: Open Approach วิธีการแบบเปิ ด
นามาใช้ในการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู ้
มี 4 ขัน้
1.
2.
3.
4.
ขัน้ นาเสนอสถานการณ์/คาถาม/ปัญหาปลายเปิ ด
ขัน้ การเรียนรูด้ ว้ ยตนเองของนักเรียน
ขัน้ อภิปรายและเปรียบเทียบแนวคิดของนักเรียน
ขัน้ สรุปโดยเชื่อมโยงแนวคิดของนักเรียน
กิจกรรมทัง้ 4 ขัน้ เป็ นรูปแบบการพัฒนาครู
สามารถทาได้ในโรงเรียน โดยไม่ตอ้ งนาครู
ออกไปนอกโรงเรียนเลย
• การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ต้องเริ่มต้นด้วย
การนาครูกลับเข้าชัน้ เรียน
• และช่วยนิ เทศการสอนของครู เพือ่ ครูจะได้
พัฒนาวิธีการสอนของตนเอง
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
เน้นการปฏิรูปการเรียนการสอนอย่างแท้จริง
พัฒนาวิชาชีพครูในขณะปฏิบตั งิ านปกติ (ไม่ให้ครูท้ งิ ห้อง)
ครูมีการเตรียมการสอนอย่างต่อเนื่ อง
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูเ้ พื่อปรับปรุงการเรียนการสอน
ศึกษาบทเรียนที่ได้จากการเขียนและการใช้แผนการสอน
ผูเ้ กี่ยวข้องได้ร่วมกันช่วยเหลือครูจากหน้างานในชัน้ เรียน
วิธีการแบบเปิ ด 4 ขัน้ คู่มือครูญ่ปี นุ่ กิจกรรมการเรียนรู ้ ออกแบบมาเอื้อต่อการสอนเน้นผูเ้ รียนเป็ น
สาคัญ
8. วิธีการแบบเปิ ดเน้นให้ นร.แก้ปญั หาได้ดว้ ยตัวเอง (PBL)
9. การศึกษาชัน้ เรียนทัง้ 3 ขัน้ ตอน ทุกคนได้ร่วมทา PLC ครบ
10. มีการพัฒนาระบบการนิ เทศภายใน/ภายนอกให้เข้มแข็ง/รวมทัง้ ระบบประกันคุณภาพ
ภายใน
ฯลฯ
R: Reflective Coaching
การสะท้อนผลการสอน อยู่ในการกรอบการสะท้อน
5 ประเด็น
1. วิเคราะห์การจัดการเรียนการสอนครัง้ นี้ ว่าบรรลุ
ตามจุดประสงค์การเรียนรู/้ ตัวชี้วดั หรือไม่ เพราะเหตุใด
2. พฤติกรรมการเรียนรูห้ รือแนวคิดของนักเรียนทีเ่ กิดขึ้น
ในชัน้ เรียน มีแนวคิดใดบ้าง และได้รบั การบริหารจัดการ
จากครูอย่างทัว่ ถึงหรือไม่ อย่างไร
3. พฤติกรรมการสอนของครู การใช้สอ่ื การสอน และการวัด
และประเมินผลเป็ นอย่างไร
4. จุดเด่นของการจัดการเรียนการสอนครัง้ นี้ มีหรือไม่ อย่างไร
5. ระบุประเด็นปัญหาที่เป็ นจุดควรพัฒนาการจัดการเรียนรู ้
ครัง้ นี้ มีหรือไม่ พร้อมเสนอแนะแนวทางต่อยอด
การพัฒนาการจัดการเรียนรู ้ ในครัง้ ต่อไป
เพื่อใช้กระบวนการบริหารการศึกษา กระบวนการ
เรียนการสอนและกระบวนการนิเทศการศึกษา
สนับสนุ นการจัดการเรียนรูข้ องครูให้มปี ระสิทธิภาพที่
ส่งผลต่อคุณภาพของนักเรียน
1. เพือ่ สร้างบรรยากาศที่เป็ นสุขในห้องเรียน
2. เพือ่ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
ให้สูงขึ้น
กลุม่ เป้ าหมายการนิ เทศ
ผูบ้ ริหารและครูทกุ คนในโรงเรียน
มโนทัศน์ใหม่ของการพัฒนาคุณภาพระดับห้องเรียน ด้วย
รูปแบบการนิ เทศ LOR
ผูบ้ ริหาร
ครู
คุณภาพการศึกษา
ผูน้ ิ เทศ
บริหารเพือ่ พัฒนา
การจัดการเรียนรู ้
นิ เทศเพือ่ พัฒนา
การจัดการเรียนรู ้
จัดการเรียนรู ้
เพือ่ พัฒนาผูเ้ รียน
คุณภาพผูเ้ รียน
รูปแบบการนิ เทศแบบ LOR
สภาพปัจจุบนั
ปัญหาของ
การจัดการ
เรียนการสอน
กระบวนการ
บริหาร
กระบวนการเรียนการ
สอน
กระบวนการ
นิ เทศการศึกษา
การนาผลไปใช้
คุณภาพผูเ้ รียน
ตามมาตรฐาน
การศึกษา
กระบวนการนิ เทศ
กาหนดคณะนิ เทศ (ผูบ้ ริหารโรงเรียน/รองฯ/วิชาการ/
หัวหน้ากลุม่ สาระ ฯลฯ)
คณะนิ เทศร่วมกันกับครู จัดทาแผนการจัดการเรียนรู ้
ทุกองค์ประกอบ
คณะผูน้ ิ เทศ ดาเนิ นการนิ เทศ ตามที่ได้เขียนแผนฯ
คณะนิ เทศ ร่วมกันสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอน ไม่ควรเกิน 1 ชัว่ โมง ของแต่ละครัง้ 4 ขัน้
สะท้อนผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 5 ประเด็น
การศึกษาของประเทศไทย ถ้าทุกคนทุก
ตาแหน่ งไม่หวนกลับ ไปสร้างคุณภาพให้
เกิดขึ้นในระดับห้องเรียน (คุณภาพผูเ้ รียน)
นับเป็ นเรื่องยากมากต่อการปฏิรูปการศึกษา
ไทยให้ประสบผลสาเร็จ และไม่สามารถ
ประกันคุณภาพผูเ้ รียน ได้ครับ...