การเขียนบทความวิจัย

Download Report

Transcript การเขียนบทความวิจัย

344-492 โครงงานทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ II
การเขียนบทความวิจยั
โครงสร้างของบทความวิจยั
 บทความทั่วไป ประกอบด้ วย
 ชื่อบทความ (Titlepage)
 บทคัดย่อ (Abstract)
 บทนํา (Introduction)
 ทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง
 เนื้อหา
 วิธกี าร (methods)
 ผลลัพธ์ (results)
 บทวิจารณ์ (discussion)
 บทสรุป (Conclusions)
 กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgements)
 เอกสารอ้ างอิง (References)
ตัวอย่างบทความ
 http://www.ecti-thailand.org/paper/views/7
วิธกี ารตัง้ ชือ่ บทความ
 ไม่จาํ เป็ นต้ องเป็ นชื่อเดียวกับโครงงาน
 ดึงดูด (Attractive)
 อธิบาย (Descriptive)
 สั้น กระชับ(Short)
 สอดคล้ องกับเนื้อหาในบทความ (Consistentwiththetext)
 เข้ าใจง่าย (Easytounderstand)
 สืบค้ นในฐานข้ อมูล เช่น ห้ องสมุดดิจท
ิ ลั ได้ ง่าย (Easytoretrievefroma
database)
บทคัดย่อ
 ให้ สาระ ภาพรวมของบทความ และควรจะมีความเข้ าใจง่ายในตัว
บทคัดย่อเอง
 ช่วยทําให้ ผ้ ูอ่านตัดสินใจได้ ว่า จะอ่านต่อไปหรือไม่ โดย บทคัดย่อ
ควรมีเนื้อหาดังนี้
 สิ่งที่ผ้ ูเขียนศึกษา ระบุปัญหาที่เป็ นที่มาของการทําโครงงาน
 วิธกี ารที่ทาํ การศึกษา
 สิ่งที่ได้
 บทสรุป
การเขียนบทนํา
 บทนํา เป็ นการเกริน
่ บอกกล่าวให้รูว้ ่าจะเขียนเรื่องอะไร
การขึ้ นบทนํามีอยู่ ๒ แบบ คือ
 การกล่าวทัว่ ไปก่อนทีจ่ ะวกเข้าเรือ่ งทีจ่ ะเขียน
 การกล่าว เจาะจงลงไปตรงกับหัวเรือ่ งทีจ่ ะเขียนเลย
ทีเดียว
 การเขียนบทนํา ต้องให้น่าอ่านชวนติดตาม เพราะผูอ้ ่าน
นิยมอ่านย่อหน้าแรกก่อน
การเขียนบทนํา (ต่อ)
 โดยทั่วไป การเขียนบทนําควรจะมีโครงสร้ างดังนี้
 ระบุวัตถุประสงค์ของการเขียนบทความนี้
 อธิบายสาเหตุของงานในบทความ
 ความสัมพันธ์ของบทความนี้ท่อี าจเป็ นประโยชน์กบ
ั งาน
อื่นๆ ในอนาคต
 ย่อหน้ าสุดท้ ายของบทนําอาจบอกเนื้อหาต่อมาของบทความ
ว่าประกอบด้ วยอะไรบ้ าง
การเขียนบทนํา (ต่อ)
ตัวอย่างย่อหน้ าสุดท้ ายในบทนํา
เนื้อหาของบทความในส่วนที่ 2 จะกล่าวถึงที่มา
และแรงจูงใจของปัญหา ส่วนที่ 3 อธิบายถึง งาน
และทฤษฎีท่เี กี่ยวข้ อง การออกแบบและพัฒนา
ระบบ จะแสดงในส่วนที่ 4 ส่วนที่ 5 และ 6 จะ
กล่าวถึงการทดสอบใช้ งานและบทสรุป
ตามลําดับ
การเขียนทฤษฏีและงานทีเ่ กีย่ วข้อง
 ถ้ าไม่ใช่เป็ นส่วนของโครงงานที่ผ้ ูเขียนคิด หรือพัฒนาขึ้น ต้ องอ้ างอิง
แหล่งที่มา
 เนื้อหาความรู้ท่ตี ้ องมีการอ้ างอิง
 ตัวเลขหรือข้ อความสถิติ
 ข้ อความเป็ นแนวความคิด
 ผลการวิจัยและสิ่งประดิษฐ์ รวมตาราง แผนภูมิและรูปภาพ
 วิธกี ารอ้ างอิงผลงานผู้อ่น
ื
 คัดลอก
 ถอดความ
 สรุป
หลักการเขียนข้อความทีอ่ ้างอิง
ระบุช่ อื หรือไม่ระบุช่ อื เจ้ าของผลงาน
ถอดความ สรุป หรือคัดลอก
การใส่เครื่องหมายอัญประกาศหรือไม่ใส่
การเขียนส่วนเนือ้ เรือ่ ง
 เป็ นส่วนที่สาํ คัญและเป็ นส่วนที่ยาวที่สดุ รวมความคิดและข้ อมูลทัง้ หมด ย่อหน้ าแต่
ละย่อหน้ าในเนื้อเรื่องจะต้ องสัมพันธ์เป็ นเรื่องเดียวกัน มีลาํ ดับขั้นตอนไม่วกวนไปมา
 ก่อนที่จะเขียนบทความผู้เขียนจึงต้ องหาข้ อมูล หาความรู้ท่จี ะนํามาเขียนเสียก่อน
การหาข้ อมูลนั้นอาจได้ จากการสัมภาษณ์ การสอบถามผู้ร้ ู การเดินทางท่องเที่ยว การ
อ่านหนังสื่อพิมพ์หรือหนังสื่อต่างๆ ในการเขียนเนื้อเรื่องควรคํานึงสิ่งต่างๆ ดังนี้
 ๑. ใช้ ถ้อยคําที่ถูกต้ องตามความหมาย ใช้ ตัวสะกดถูกต้ องตามพจนานุกรม
 ๒. ใช้ สาํ นวนโวหารให้ เหมาะกับเรื่อง เช่น ใช้ ถ่อยคําที่เป็ นทางการ ใช้ ศัพท์เฉพาะในการ
เขียนบทความทางวิชาการ
 ๓. มีข้อมูล เหตุผล สถิติและการอ้ างอิงประกอบเรื่อง เพื่อให้ เข้ าใจง่ายและน่าเชื่อถือ
การเขียนบทสรุป
 เป็ นส่วนที่ผ้ ูเขียนต้ องการบอกให้ ผ้ ูอ่น
ื ทราบว่า ข้ อมูลทั้งหมดที่เสนอ
มาได้ จบลงแล้ ว ผู้เขียนควรมีกลวิธี ที่จะทําให้ ผ้ ูอ่าน พอใจ
ประทับใจ ส่วนสรุปนี้เป็ นส่วนที่ฝากความคิดและปัญหาไว้ กบั ผู้อ่าน
หลังจากที่อ่านแล้ ว การเขียนสรุปหรือคําลงท้ ายมีหลายแบบดังนี้
 ๑. สรุปด้ วยคําถามที่ชวนให้ ผ้ ูอ่น
ื คิดหาคําตอบ
 ๒. สรุปด้ วยการแสดงความประสงค์ของผู้เขียน
 ๓. สรุปด้ วยใจความสําคัญ
การระบุแหล่งอ้างอิง
ระบบตัวเลข
ระบบเชิงอรรถ
ตัวอย่างรูปแบบการเขียนบทความจากงานประชุมวิชาการ
http://www.nccit.net/download.html
http://ncit2015.aurouniversity.ac.in/Auth
or_Guidelines.aspx