การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)

Download Report

Transcript การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)

การจัดการความรู ้
(Knowledge Management : KM)
1
• การดาเนินงาน
• บุคลากร
• งบประมาณ
• วัสดุอุปกรณ์
• การบริหารจัดการ
ฯลฯ
หน่วยงาน
• วิสยั ทัศน์
• พันธกิจ
• กลยุทธ์
• เป้าหมาย
ผลสาเร็จ
2
• การด าเนิ น งานของหน่ ว ยงานจะส าเร็ จ มากน้อ ย
เพียงใด ส่วนหนึ่งขึ้นอยูก่ บั บุคลากร
• บุ ค ลากรของหน่ ว ยงานต้อ งมี ก ารพัฒ นาเพิ่ ม พู น
ความรูแ้ ละทักษะอยูเ่ สมอ
• การจัดการความรู ้
 ช่วยพัฒนาความรูแ
้ ละทักษะของบุคลากร
 ช่ ว ยท าให้ ห น่ ว ยงานพั ฒ นาเป็ นองค์ ก รแห่ ง
การเรียนรูแ้ ละประสบผลสาเร็จมากขึ้น
3
ความรู ้ (Knowledge)
มักจะมีการแบ่งความรูอ้ อกเป็ น 2 ประเภท
ใหญ่ๆ ดังนี้
1) ความรูช้ ดั แจ้ง (Explicit Knowledge)
2) ความรูท้ ี่ฝังลึก (Tacit Knowledge)
4
1) ความรูช้ ดั แจ้ง (Explicit Knowledge)
• เป็ นความรูท้ ี่เห็นได้ชดั เจน
• เป็ นรูปธรรม
• เป็ นความรู ท้ ี่อยู่ในตารับตารา เช่น หลั กวิ ชาหรือ
ทฤษฎีท้งั หลาย
อันได้มาจากการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ผ่าน
กระบวนการพิสูจน์ผ่านกระบวนการวิจยั
5
2) ความรูท้ ี่ฝังลึก (Tacit Knowledge)
•
•
•
•
•
•
•
เป็ นความรูท้ ี่ฝงั ลึกอยูใ่ นตัวคน
เป็ นสิ่งที่เห็นได้ไม่ชดั
เป็ นความรูท้ ี่มาจากการปฏิบตั ิ
เป็ นเคล็ดวิชา
เป็ นภูมิปัญญา
เป็ นสิ่งที่มาจากการใช้วิจารณญาณ ปฏิภาณไหวพริบ
เป็ นเทคนิคเฉพาะตัวของผูป้ ฏิบตั แิ ต่ละท่าน
6
ถึงแม้ความรูป้ ระเภทนี้จะเห็นได้ไม่ชดั เจนเหมือน
ความรูป้ ระเภทแรก แต่ก็เป็ นสิ่งสาคัญที่ทาให้งาน
บรรลุผลสาเร็จได้เช่นกัน
7
Explicit Knowledge
Tacit Knowledge
รูปที่ 1 ภูเขาน้ าแข็ง(ความรู ้ 2 ประเภท)
8
- Explicit Knowledge เป็ นความรูท้ ี่จะเห็นได้ง่าย
คล้ายกับส่วนยอดของภูเขาน้ าแข็งที่อยูพ
่ น้ น้ า
- Tacit Knowledge เป็ นความรูแ้ ฝงอยู่ในตัวคน
ท าให้ม องไม่ เ ห็ น เปรี ย บได้กั บ ส่ ว นของภู เ ขา
น้ าแข็งที่จนอยูใ่ ต้น้ า
9
เมื่ อนามาเทียบกันจะพบว่า
ส่วนที่อยู่ใต้น้ ามี
ปริ ม าณมากกว่ าส่ ว นที่ พ้ น น้ าค่ อ นข้ า งมา ก
การเข้า ใจความแตกต่า งระหว่ า งความรู ท้ ้ัง สอง
ประเภทนี้ จะท าให้เ ข้า ใจความหมายของค าว่ า
จัดการ ได้ชดั เจนดียงิ่ ขึ้น
10
การจัดการกับความรู ้
1) ความรูช้ ดั แจ้ง
2) ความรูฝ้ ังลึก
11
1. เข้าถึง
ตีความ
4. รวบรวม/
จัดเก็บ (Store)
Explicit
Knowledge
2. นาไปปรับใช้
(Apply/Utilize)
3. เรียนรู ้
ยกระดับ
รูปที่ 2 ขั้นตอนการจัดการความรูช้ ดั แจ้ง
12
1.
เข้าถึง
ตีความ
หมายถึ ง การเข้า ถึ ง ความรู ท้ ี่ มี อ ยู่
หากมี ค วามรู ้อ ยู่ ที่ ไ หนสั ก แห่ ง แต่ เ ข้า ถึ ง ไม่ ไ ด้
ความรูน้ ้นั ก็ไม่มีความหมายและไร้ประโยชน์
เพราะฉะนั้น ขั้นตอนแรกที่ ส าคัญ ในการจัด การ
ความรู ท้ ี่อ ยู่ในเอกสารและไฟล์คอมพิวเตอร์ ก็ คื อ
จะต้องให้บุคลากรเข้าถึงได้โดยง่าย
13
เมื่อเข้าถึงได้แล้วจะต้อง ไม่บุ่มบ่าม นาความรูท้ ี่ได้น้ัน
ไปใช้แบบ ไม่ลืมหูลืมตา ต้องมองให้เห็นว่า ความรูท้ ี่
เข้าถึงนี้ มีสว่ นประกอบสาคัญ 2 ส่วนด้วยกัน
ส่วนแรก
เป็ นตัวเนื้อหาสาระ (Content)
ส่วนที่สอง
เป็ นองค์ประกอบที่ครอบเนื้อหาสาระนั้นๆ
ที่เรามักเรียกกันว่า บริบท (Context)
ที่อาจเปรียบได้กบั เสื้อผ้า
14
การเข้าถึงส่วนที่เป็ นเนื้อหาสาระของความรูน้ ้ันยัง
ไม่พอ จะต้องการ ตีความให้เข้ากับบริบทที่กาลังจะนา
ความรูน้ ้ ีไปใช้งานด้วย
ต้องจับความรูน้ ้นั มา ถอดเสื้อ ที่ตดิ มาออกแล้วเอา
เสื้อที่เป็ นบริบทของหน่วยงานเราใส่เข้าไปแทนที่
การใช้ความรูท้ ี่ว่านี้จึงจะเกิดประโยชน์สูงสุด
15
2. นาไปปรับใช้
(Apply/Utilize
)
3. เรียนรู ้
ยกระดับ
ไม่ว่าการตีความจะเป็ นอย่างไร เมื่อนาความรู ้มาใช้
งานแล้ว (วงขวา - หมายเลข 2 ) จะพบว่ า สิ่ ง ที่
สามารถเรี ย นรู ้ไ ด้เ สมอ (วงล่ า ง-หมายเลข 3)
ปั ญหาในหน่วยงานส่วนใหญ่ก็คือ มักไม่ได้ใส่ ใจหรือ
ให้ความสาคัญกับการเรียนรูแ้ ละความรูท้ ี่ เกิดขึ้น ณ
ตรงนั้น
16
ถือว่าเป็ นความรูท้ ี่สาคัญยิ่ง เพราะเป็ นความรูข้ องจริง
ที่ ไ ด้ม าจากการปฏิ บั ติ ง านภายใต้บ ริ บ ทนั้ น ๆ เอง
จะเห็นได้ว่าในการปฏิ บัติงานไม่ ว่าสิ่งที่ออกมานั้นจะ
เรียกว่าเป็ น ความสาเร็จ หรือเป็ น ความผิดพลาด ก็มี
โอกาสที่จะเรียนรูส้ ร้างความรูใ้ หม่ๆให้เกิด ขึ้นได้เสมอ
บางคนอาจเรียกความสาเร็จนั้นว่าเป็ น Best Practices
17
เพราะเห็ น ว่ า ท าได้ดี ก ว่ า ความรู เ้ ดิ ม ๆ ที่ เ คยมี ม า
เรียกได้ว่าเป็ น “Best” ณ ขณะนั้นหรือถ้าเป็ นเรื่องของ
ความผิดพลาด เราก็สามารถเรียนรูจ้ ากข้อผิดพลาดนี้
ได้เ ช่ น กั น บางคน เรี ย กว่ า เป็ น การถอดบทเรี ย น
(Lessons Learned) นั ่นเอง
ขั้นตอนที่สามนี้ มักเป็ นขั้นตอนที่หน่ วยงานหลายๆ
แห่งไม่ได้ให้ความสนใจและมองผ่านไป ซึ่งเป็ นเรื่องที่
น่าเสียดายอย่างยิง่
18
4.
รวบรวม/
จัดเก็บ
(Store)
หลังจากที่ได้เรียนรูไ้ ด้ยกระดับ
ความรู ้ข้ ึ นมาแล้ว ก็ มี ก ารรวบรวมจัด เก็ บ
ความรู น้ ้ ี ไว้ใ ห้เ ป็ นระบบเป็ นหมวดหมู่ ทั้ง นี้
เพื่อให้สามารถสืบค้นเข้าถึงได้ง่าย
19
การจัดการกับความรู ้
1) ความรูช้ ดั แจ้ง
2) ความรูฝ้ ังลึก
20
การจัดการความรูฝ้ ังลึก อาจจะ จัดการ ได้ไม่
ง่ายนัก เมื่อเทียบกับการจัดการความรู ช้ ัดแจ้ง
ทั้งนี้ เนื่องจากความรูฝ้ ังลึกเป็ นความรูท้ ี่มีชีวิต
จิตใจ ไม่สามารถบังคับใครหรือ ฝื นใจ ให้เขา
ถ่ายทอดความรูต้ า่ งๆ ออกมาได้
บางท่ า นอาจจะ เออร์ลี่ รี ไ ทร์ ท าให้ค วามรู ้
เหล่านั้นสูญหายไปอย่างน่าเสียดาย
21
4. นาไปปรับ
ใช้
(Apply/Utilize
)
3. สร้างความรู ้
ยกระดับ
Create/leverag
e
Tacit
Knowledge
2.เรียนรูร้ ว่ มกัน
Capture/Learn
1.มีใจแบ่งปั น
Care & Share
รูปที่ 3 ขั้นตอนการจัดการความรูฝ้ งั ลึก
22
เป็
นการสร้
า
งความเป็
นห่
ว
ง
1.มีใจแบ่งปั น
เป็ นใย มีใจให้แก่กนั และกัน
Care & Share
(Care) สร้า งบรรยากาศแห่ ง
กัลยาณมิตรให้คนมีจิตใจที่พร้อมช่วยเหลื อเกื้อกูล
แบ่ ง ปั น (Share)กัน สิ่ ง เหล่ า นี้ ถื อ ว่ า เป็ นรากเหง้า
ของวัฒนธรรมไทยที่มีมาแต่ในอดีต
23
2.เรียนรู ้
ร่วมกัน
Capture/Learn
3. สร้างความรู ้
ยกระดับ
Create/leverage
4. นาไปปรับ
ใช้
(Apply/Utilize
)
เมื่อทุกคนมีใจพร้อมให้ พร้อมแบ่งปั นสิ่งที่ได้เรียนรูม้ า
ทั้งที่เป็ นความสาเร็จ (Best Practices) หรือว่ าเป็ น
การถอดบทเรียน (Lessons Learned) ที่ได้มาจาก
ข้อผิดพลาด ทุกคนก็จะเกิดการเรียนรูร้ ่วมกัน (วงขวา
- หมายเลข 2) สามารถสร้างความรูใ้ หม่ได้ภายใน
ตัวเอง (วงบน-หมายเลข 3) สามารถนาไปปรับใช้ใน
การทางานครั้งต่อไป (วงซ้าย- หมายเลข 4)
24
โมเดลปลาทู
เพื่อที่จะทาให้ KM นั้นเป็ นเรื่องที่เข้าใจง่าย
และสามารถสื่อสารได้ทุกภาคส่วนของสังคมไทย
ขอใช้แบบจาลองที่เรียกว่า โมเดลปลาทู โดยที่ได้
อุปมาว่า KM นั้นเป็ นปลาทูหนึ่งตัว
25
รูปที่ 5 KM โมเดลปลาทู
Knowledge Vision (KV)
Knowledge Assets (KA)
Knowledge Sharing (KS)
- ความรู้ชดั แจ้ง
- ความรู้ฝังลึก
26
Knowledge Vision (KV) หัวปลา = เป้าหมายของการจัดการความรู้
เป็ นการตอบคาถามว่ า
- …ทา KM ไปทาไม
- …ทาไปเพือ่ อะไร
รูปที่ 6 วิสยั ทัศน์ของการจัดการความรู ้
27
หัวปลา (Knowledge Vision: KV)
คือ วิสยั ทัศน์ของการจัดการความรู ้
เป็ นการตอบคาถามว่า
- ประเด็นที่สนใจจะนามาจัดการความรูก้ ันนั้น เป็ น
ประเด็นเรือ่ งอะไร
- เกี่ ย วข้อ งหรื อ สอดคล้อ ง(Align) กั บ วิ สั ย ทั ศ น์
พัน ธกิ จ เป้ าหมาย และยุ ท ธศาสตร์ข ององค์ก ร/
หน่วยงานอย่างไร
28
ซึ่งผูท้ ี่จะมาทาหน้าที่
รับผิดชอบเรือ่ ง KM นี้ ที่เรียกว่า
Chief Knowledge Officer: CKO (คุณ
เอื้อ) จะต้องเป็ นผูท้ ี่ช่วยสอดส่องดูแลเรื่ อง หัวปลา
ให้ดี เพื่อไม่ให้ปลาตัวนี้ว่ายไปผิดทาง คาถามสาคัญที่
จะต้องตอบให้ได้ คือคาถามที่ว่า
- เรากาลังจะทา KM ไปทาไม?
- เรากาลังจะจัดการความรูเ้ กี่ยวกับเรื่องอะไร?
29
ตัวปลา(Knowledge Sharing : KS)
เป็ นส่ ว นที่ ส าคั ญ เพราะการแลกเปลี่ ย น
เรียนรู ้ (Share & Learn) ถือเป็ น หัวใจ ของ
การทา KM กระบวนการส่วนนี้ จะต้องเริ่มต้นที่การทา
กิจกรรมเพื่อสร้างความคุน้ เคยกันก่อนเป็ นลาดับแรก
โดยบรรยากาศที่สง่ เสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรูจ้ ะต้อง
เป็ นบรรยากาศในแบบที่สบายๆ ให้ความรู ส้ ึกที่เป็ นกั นเอง
ไม่เกร็ง ไม่เคร่งเครียด ไม่รูส้ ึกว่าเป็ นทางการมากนัก
30
ตัวอย่าง กลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู ้
กลุม่ แลกเปลี่ยนเรียนรู ้
• อาจจัดเป็ นกลุม่ ขนาดไม่ใหญ่นกั ลากเก้าอี้มาล้อมวงพูดคุยกัน
• ไม่ควรใช้รูปแบบการนั ่งที่เป็ นทางการ
• อาจจะใช้การเล่าเรื่อง (Storytelling) โดยให้ผลัดกันเล่า
ความสาเร็จ ความภูมิใจ ที่ได้เลือกกันไว้
• เป็ นการเล่าสิ่งที่เกิดขึ้นจริง
• ถ้าเป็ นความสาเร็จต้องเล่าให้ละเอียดว่าเป็ นเพราะอะไรจึง
ทาให้ได้รบั ผลสาเร็จ
• ถ้าเป็ นปั ญหาต้องบอกด้วยว่ า แล้วในท้ายที่ สุ ดสามารถก้า ว
ข้ามปั ญหาไปได้อย่างไร
32
ในกระบวนการนี้ควรมี คุณอานวย (Knowledge Facilitator)
ผูท้ ี่ทาหน้าที่ดงั นี้
-
เอื้ออานวยให้การแลกเปลี่ยนเรียนรูน้ ้ ีลื่นไหล
ไม่หลุดออกไปนอกทาง (หลงประเด็น)
อีกทั้งยังช่วยสร้างบรรยากาศดีๆ ให้เกิดขึ้นตลอดเวลา
คอยป้อนคาถามในกรณีที่ผเู ้ ล่า (เรื่องเล่าลงไปไม่ลึก เล่าแต่
เพียงผิวๆ)
- ต้องพยายามถาม เพื่อทาให้ได้เห็นถึงเคล็ดวิชาหรือเทคนิค
เฉพาะตัวที่ใช้หรือความรูฝ้ ังลึก (Tacit Knowledge)ที่ตอ้ ง แคะ
ออกมา
33
หางปลา (Knowledge Asset : KA)
หมายถึง คลังความรู ้ ที่ได้เสาะหามาจาก
ความรูช้ ดั แจ้งและความรูฝ้ ังลึกสาหรับให้
บุคลากรได้ศึกษาและนาไปใช้ในการปฏิบตั งิ าน
เปรียบเสมือน ถัง ที่เอาความรูท้ ี่ได้มาใส่ไว้ แล้วใช้
ระบบจัดเก็บให้เป็ นหมวดหมู่ เพื่อให้สามารถเข้าถึง
ได้ง่าย ผูใ้ ช้จะได้ประโยชน์จากสิ่งที่อยูใ่ นนี้อย่างแท้จริง
34
และอาจรวมแหล่งความรูห้ รือ
ผูเ้ ชี่ยวชาญ ไว้ด ว้ ยก็ ไ ด้ ต้อ งไม่ ลื ม ว่ า
สิ่ ง ที่ ส าคั ญ ที่ สุ ด ของการท า KM คื อ
การน าความรู ท้ ี่ ไ ด้ม าไปสู่ ก ารปฏิ บัติ พู ด ให้ชัด ๆ
ก็คือ จะต้องมีการกระทา (Action) เกิดขึ้น จึงจะเกิด
ประโยชน์คมุ ้ ค่า
35
วิธีการจัดการความรู ้
ความรูช้ ดั แจ้ง (Explicit
Knowledge) ที่มีอยูเ่ ช่นใน
ตารา ฯลฯ
ความรูฝ้ ังลึกที่มีอยูใ่ น
ตัวของบางคน (Tacit
Knowledge)
จัดการถ่ายทอดให้บุคคลอื่นรู ้
และนาไปใช้ให้เหมาะสมกับ
งานของตนและของหน่วยงาน
36
ทาได้หลายวิธี เช่น
• จัดประชุม อบรม สัมมนา
• จัดให้มีการศึกษาดูงาน หรือศึกษาจาก Best Practice
• แลกเปลี่ยนเรียนรูก้ นั (เปิ ดใจ รับฟั ง เคารพความ
คิดเห็น) ระหว่าง
บุคคลในหน่วยงาน (เช่น มุมกาแฟ/มุมพบปะพูดคุย)
บุคคลนอกหน่วยงาน (เช่น เชิญมาเล่าเรือ่ งสูก่ นั ฟั ง)


37
• จัดให้มีมุมหนังสือ /ห้องอ่านหนังสือเอกสารสิ่ งพิมพ์/
สื่อรูปแบบอื่น เช่น VCD/Internet
• สนับสนุ นให้มีชุมชนเสมื อน โดยจัดให้มีพ้ ืนที่เสมือน
(Virtual Space) เป็ นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูก้ บั คนอื่น
ผ่านทาง internet เช่น ลองดูที่
•
Website ที่ชื่อ Gotoknow.org
ซึ่งติดต่อแลกเปลี่ยนเรียนรูก้ บั บุคคลอื่นได้อีกทางหนึ่ง
38