Transcript KM & LO
การบรรยาย
เรื่อง
“ทา KM อย่างไรให้เป็ นเลิศ”
โดย
ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด
ผูอ้ านวยการสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.)
www.kmi.or.th
[email protected]
http://beyondKM.gotoknow.org
การจ ัดการความรู ้
KM
การจ ัดการความรู ้
KM
รู ปแบบการทาความเข้ าใจเรื่อง KM ที่ สคส. ใช้
คนทำงำน
ความรู้สึกทีค่ นทางานมีต่อ KM
คนทำงำน
การประยุกต์ ใช้ KM ของ สคส.
KM คืออะไร ?
้ ารอธิบาย
หากใชก
คงไม่ตา
่ งอะไรจาก
“ตาบอดคลาชา้ ง”
“โมเดลปลาทู”
ทาให้การจ ัดการความรูเ้ นียนอยูใ่ นงาน
Knowledge
Assets (KA)
Knowledge
Vision (KV)
Knowledge
Sharing (KS)
ไม่สงวนลิขสิ ทธิ์ แต่ไม่อนุญาตให้ใช้เพื่อการค้า และโปรดแสดงแหล่งที่มา – ดร. ประพนธ์ ผาสุ ขยืด (สคส.)
Knowledge
Vision (KV)
1. ต้องมี “หัวปลา”
KV
ต้องรู้ว่า “เรื่องอะไร” สาคัญสาหรับเรา (ผูป้ ฏิบตั ิ งาน หรือ หน่ วยงาน)
อะไรคือ “ความรู้ที่ถือว่าเป็ นหัวใจ” ขององค์กร
อะไรเป็ นความรู้ที่ขบั เคลื่อน ยุทธศาสตร์ วิสยั ทัศน์ พันธกิจ ขององค์กร
ตัวอย่าง “หัวปลา” ของ กทม.
1. การป้ องกันและแก้ไขปัญหาน้าท่วม
2. การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะ
3. การแก้ไขและบรรเทาปัญหาจราจร
4. การพัฒนาระบบการให้บริการ ณ สานักงานเขต
5. การให้บริการทางการศึกษาที่มีคณ
ุ ภาพ
ต ัวอย่าง “ห ัวปลา” ของสายงานนโยบายและแผน กฟผ.
1.
2.
3.
4.
การวิเคราะห์โครงการทางการเงิน
การกาหนดอัตราค่าไฟฟ้ า( ซื้อ-ขาย)
การจัดทาแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้ า (PDP)
การดูแลเรื่องความปลอดภัยของข้อมูล
สารสนเทศ
2. ตอนทา “ตัวปลา” . . ต้องอย่าลืมว่า ความรู้ส่วนใหญ่อยู่ในคน
อย่าแชร์กนั แต่ Explicit Knowledge จนลืม Tacit Knowledge
Knowledge
Sharing (KS)
Explicit Knowledge
วิชาการ ทฤษฎี ปริยตั ิ
ได้จากการสังเคราะห์ วิจยั
กาหนดอยู่ในคู่มือการทางาน
VS.
Tacit Knowledge
ภูมิปัญญา เคล็ดวิชา ประสบการณ์
ได้จากการปฏิบตั ิ การใช้วิจารณญาณ
เทคนิคเฉพาะตัว ลูกเล่นของแต่ละคน
การดึง Tacit Knowledge ผ่าน “เรือ
่ งเล่า” ความสาเร็จ (เล็กๆ)
Share
“Success Stories”
หรื อการสรุ ปบทเรี ยนในอดีต
“Lessons Learned”
ื่ ชมก ัน
สงิ่ ทีส
่ าค ัญคือ . . . ทาอย่างไรให้ฟง
ั ก ัน . . ชน
ื่ ใจก ัน
้ เชอ
สงิ่ ทีส
่ าค ัญคือ การสร้างบรรยากาศทีผ
่ อ
่ นคลาย . . ไว้เนือ
3. จัดทาส่วนที่เป็ น “หางปลา”
ซึ่งก็คือ “คลังความรู้” ที่ทาให้สามารถ รวบรวม จัดเก็บ ความรู้ได้เป็ น
ระบบ ทาให้เข้าถึงความรู้ได้ง่าย และการแพร่กระจายความรู้เป็ นไป
อย่างมีประสิทธิภาพ
KA
Knowledge
Assets (KA)
ความรูท้ ี่ได้สามารถ “จัดเก็บ” ได้หลากหลายรูปแบบ
1
2
3
รวมเรื่องเล่า
สรุปบทเรียน
สมุดหน้ าเหลือง
คาพูดที่เร้าใจ บทวิเคราะห์/สังเคราะห์ (ทาเนี ยบผูร้ ้)ู
เคล็ดวิชา
•
+
•
1.
ประเด็น
คาแนะนา
+
•
“
“
- Story
- Case
- Tips
“
“
•
เบอร์โทรติดต่อ
•
หลักวิชา
ผู้เชี่ยวชาญ
ไม่สงวนลิขสิ ทธิ์ แต่ไม่อนุญาตให้ใช้เพื่อการค้า และโปรดแสดงแหล่งที่มา – ดร. ประพนธ์ ผาสุ ขยืด (สคส.)
ประเด็น/คาแนะนา
1 . กระบวนการเรียน
การสอนที่ดีต้อง
ให้ผเ้ ู รียนได้มี
โอกาสตรวจสอบ
ความต้องการของ
ตนเอง
2. ครูต้องมีอิสระที่จะ
คิดสร้างสรรค์
วิธีการที่ใช้ใน
เรียนการสอน
3. ต้องสร้างกิจกรรม
ร่วมเรียนรู้ระหว่าง
นักเรียน ครู และ
ผูป้ กครอง
เรื่องเล่า/คาพูดทีเ่ ร้ าใจ
แหล่ งข้ อมูล/บุคคล
“ผมอยากรู้ว่าสิ่งที่นักเรียนได้จากโรงเรียน
ในแต่ละวันนัน้ เป็ นประโยชน์ กบั ตัวเขาจริง
หรือเปล่า แค่ไหนและอย่างไร แล้วก็
อยากรู้ว่าตัวนักเรียนเองได้มีโอกาสเฝ้ าดู
ตัวเอง ดูความคิดตัวเอง และตัง้ คาถามว่า
สิ่งที่เขากาลังเรียนรู้นัน้ เป็ นความต้องการ
ของตัวเองหรือไม่........
เรียนรู้เพิ่มเติมได้
.....ที่ไหน?
จากใคร? ...หรือ
จากเอกสารอะไร?
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
..................”
19
ทีม
่ ท
ี งั ้ Explicit และ Tacit
ตัวอย่าง “คลังความรู้” ของ กฟผ.
ต ัวอย่างการทา “ต ัวปลา” และ “หางปลา” ในเวลาเดียวก ันผ่าน ICT
http://gotoknow.org
เลือกชื่อบล็อกได้ตามที่ต้องการ
http://YourBlog.gotoknow.org
รูปเจ้ าของบล็อก
ชื่อบล็อก
http://beyondKM.gotoknow.org
ชื่อบันทึก
ไม่สงวนลิขสิ ทธิ์ แต่ไม่อนุญาตให้ใช้เพื่อการค้า และโปรดแสดงแหล่งที่มา – ดร. ประพนธ์ ผาสุ ขยืด (สคส.)
www.facebook.com/praponp
เมือ
่ คนทางานแลกเปลีย
่ นเรียนรูก
้ ันอยูเ่ สมอ
้ มา
ก็เกิดเป็นชุมชนหรือ CoPs (Community of Practices) ขึน
ั 3 องค์ประกอบหล ัก
CoPs จะเกิดได้ตอ
้ งอาศย
มีความสัมพันธ์ที่ดี
3 • สนิทสนม คุ้นเคย
• ไว้เนื้ อเชื่อใจ
• รู้สึกปลอดภัย
1
มีความสนใจใน
เรื่องเดียวกัน
• มีปัญหาร่วมกัน
• แสวงหาบางอย่างร่วมกัน
2
มีเรื่องที่จะแบ่งปัน
• ประสบการณ์
• ประเด็นความสาเร็จ
• เทคนิคการแก้ปัญหา
ข้อแนะนาเพื่อการจัดทา CoPs ของ กทม.
สนง.เขต
สำนัก
การโยธา
ดุสิต
ปทุมวัน
50 สานักงานเขต 431 โรงเรียน
จตุจักร คลองเตย
บางนา
หลักสี่
กลุ่มงาน
ระบายนา้
การศึกษา
เทศกิจ
อนามัย
CoPs
ต ัวอย่าง CoPs
CoP ที่ 1:
ึ ษา
การบริหารจ ัดการหล ักสูตรสถานศก
CoP ที่ 2:
การใช ้ ICT เพือ
่ การเรียนรู ้
CoP ที่ 3:
สานสายใยครูและน ักเรียน
CoP ที่ 4:
ปฏิรป
ู การเรียนรูด
้ ว้ ยพหุปญ
ั ญา
CoP ที่ 5:
การวิจ ัยเพือ
่ พ ัฒนาผูเ้ รียน
CoP ที่ 6:
การจ ัดการเรียนรูแ
้ บบบูรณาการ
สรุปภาพรวม จาก KM สู่ LO
เข้ าใจ KM
โมเดลปลาทู
สร้ างเสริมทักษะ
“คุณอานวย”
เกิด CoPs
เป็ น LO
โมเดลเก้าอี้ โมเดลภูเขานา้ แข็ง
สามขา
“คุณเอือ้ ” หนุนเสริม
“คุณกิจ”
มีใจ ใฝ่ พัฒนา
่ ค่การจ ัดการก ับ Explicit และ Tacit เท่านน
ด ังนน
ั้ KM ของแท้ จึงไม่ใชแ
ั้
1. Manage Explicit Knowledge
จัดการเรื่อง “ระบบ”
2. Manage Tacit Knowledge
จัดการเรื่อง “ความสัมพันธ์”
3. Manage Consciousness
จัดการเรื่อง“สติปัญญา”
พัฒนาคนให้เป็ น “มนุษย์ที่สมบูรณ์ ”
ไม่สงวนลิขสิ ทธิ์ แต่ไม่อนุญาตให้ใช้เพื่อการค้า และโปรดแสดงแหล่งที่มา – ดร. ประพนธ์ ผาสุ ขยืด (สคส.)
Logic
Result
เหตุผล
การจ ัดการความรู ้
เป็นกระบวนการ
Love
เหตุปจ
ั จ ัย
Joy
ฝึ กสมอง “สองฝั่ง”
Discussion
Dialogue
Problem-solving
Storytelling
ั
วิเคราะห์ สงเคราะห์
ึ
จินตนาการ ความรูส
้ ก
Logic
Result
เหตุผล
การจ ัดการความรู ้
เป็นกระบวนการ
Love
เหตุปจ
ั จ ัย
Joy
ฝึ กสมอง “สองฝั่ง”
Discussion
Dialogue
Problem-solving
Storytelling
ั
วิเคราะห์ สงเคราะห์
ึ
จินตนาการ ความรูส
้ ก
รูไ้ ด้อย่างไรว่า KM “ทีใ่ ช”้ เป็น “ของแท้” หรือไม่?
KM “ของแท้” ต้อง ไม่ใช่
แค่ “ทา (กิจกรรม) KM”
แต่ต้องเป็ น “การใช้
(เครื่องมือ) KM” ใน
ระหว่างการทางาน
เป็ น KM ที่ “เนี ยนอยู่ใน
เนื้ องาน”
ไม่ใช่ กิจกรรม KM ที่มา
เพิ่มภาระให้กบั คนทางาน
คาเตือนเรือ
่ ง KPI
KPI นัน้ เปรียบได้กบั
“นิ้วมือที่ใช้ชี้ไปที่ดวงจันทร์”
สิ่งที่สาคัญ
สิ่งที่เราต้องสนใจ ก็คือ
“ดวงจันทร์”
ไม่ใช่
“นิ้วมือ”
ที่ใช้ชี้นัน้
บทบาทสาค ัญทีเ่ กีย
่ วก ับการจ ัดการความรู ้
Knowledge
Practitioners
ส่ วนหาง สร้ างคลังความรู้
เชื่อมโยงเครือข่ าย ประยุกต์ ใช้ ICT
“สะบัดหาง” สร้ างพลังจาก CoPs
“คุณกิจ”
Knowledge
Assets
Chief
Knowledge
Officer
CKO
KV
KS
KA
“คุณเอือ้ ”
Knowledge
Vision
ส่ วนหัว ส่ วนตา
มองว่ ากาลังจะไปทางไหน
ต้ องตอบได้ ว่า “ทา KM ไปเพือ่ อะไร”
“คุณอานวย”
Knowledge
Sharing
Knowledge
Facilitators
ส่ วนกลางลาตัว ส่ วนทีเ่ ป็ น “หัวใจ” ให้ ความสาคัญกับ
การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ช่ วยเหลือ เกือ้ กูลซึ่งกันและกัน
บทบาทของ “คุณอานวย” และ “คุณลิขต
ิ ”
แต่ละกลุ่มมี “คุณอานวย”
คอยชวนพูด
ชวนคุย สร้างบรรยากาศ ควบคุมเวลา และ
กระบวนการ (ไม่ให้ออกนอกประเด็น)
“คุณลิขิต” จดบันทึก “เรื่องเล่า” และจับ
ประเด็นหรือวิธีการปฏิบตั ิ (How to) ที่ได้
จากเรื่องเล่า เพื่อจะได้นาไปจัดเก็บไว้ใน
“คลังความรู้” ต่อไป