Human KM Workshop (ต่อ)

Download Report

Transcript Human KM Workshop (ต่อ)

 ชม VCD
 รอบที่ ๑ สะท้อนความรูส้ กึ ของตนเอง เพียง ๑ วลีหรือ ๑ ประโยค
 รอบที่ ๒ ขยายความ “ความรูส้ กึ ” ของตนเองจากรอบที่ ๑
 รอบที่ ๓ ได้เรียนรู ้ หรือแง่คิดอะไร ที่จะสามารถนาไปใช้กบั ตนเอง
หรืองานได้
ไม่ตอ้ งพูดเรียงลาดับ
พูดสดๆ จากใจ ไม่ใช้ความคิดที่เตรียมมา ไม่มีวาระซ่อนเร้น
ไม่คาดหวังกับสิง่ ที่พูด ไม่ตอ้ งพูดให้ดูดี
ฟัง...คิด...ไตร่ตรอง...ฟัง...คิด...ไตร่ตรอง..........พร้อมจึง “พูด”
เห็นต่าง คิดต่าง ห้อยแขวนไว้ก่อน ไม่มีโจทย์ ไม่มีจาเลย
One Meeting พูดกับกลุม
่ ไม่พูดกับใครคนใดคนหนึ่ ง
ฟังด้วยหัวใจ
ฟังเสียงข้างในตัวเอง
ตัวอย่างหัวปลา
 ...การพัฒนาคุณภาพงานบริการ
 ...การลดค่าใช้จา่ ยในธนาคาร
 ...การบริหารจัดการพัฒนาบุคลากร
 ...การใช้ กับการขยายเครือข่าย
 ...การพัฒนาผลิตภัณฑ์
IT
Success Story Sharing
 ใช้เครื่องมือเรื่องเล่าเร้าพลัง (Storytelling)
 ให้ช่วยกันหาประเด็นหรือหัวข้อการ ลปรร.

ต้องเป็ นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับทุกคน และเกี่ยวข้องกับงาน
 ทุกคนยินดีและมีเรื่องเล่าที่จะแลกเปลีย่ นกัน
 ประเด็นไม่กว้างเกินไป
 เล่าประสบการณ์ หรือเหตุการณ์ท่ปี ระทับใจ ความสาเร็จหรือเทคนิ ค
วิธีการเกี่ยวกับหัวข้อหรือหัวปลาที่กลุม่ ได้เลือกไว้
 เริ่มเล่าด้วยความสาเร็จของเรื่องคืออะไร? มีอะไรเกิดขึ้น? เกิดขึ้น
ได้อย่างไร? เพราะเหตุใด? ทาไมจึงทาเช่นนั้น?
 อย่าพะวงว่าสิง่ ที่เล่านั้น เป็ นเรื่องผิดหรือถูก เพราะเป็ นเหตุการณ์
ที่ผ่านมาแล้ว
 เล่าให้เห็นความรูส้ กึ นึ กคิดในขณะนั้น เล่าให้กระชับ
( คนละ ๒ - ๓ นาที)
“คุณอานวย”





สร้างบรรยากาศเป็ นกันเอง สนุ กสนาน
กระตุน้ ให้ผูเ้ ล่า เล่าเรื่องตามข้อเท็จจริง ไม่ตคี วาม
คุมให้อยู่ในประเด็นเป้ าหมาย ไม่นอกเรื่อง
ไม่ช้ ีนา หรือตัดสิน
ให้ทกุ ๆ คนได้ร่วมแลกเปลีย่ น
ฝึ กทักษะ Deep Listening
 ฝึ กตัง้ คาถามเชิงชื่นชม ไม่ถามแย้งระหว่างการเล่า
 จับประเด็น สาระสาคัญของเรื่องเล่าคืออะไร? ได้แง่คดิ งาม
อะไรจากเรื่องเล่านั้นบ้าง?
 ระวังสิง่ ที่จะทาให้บรรยากาศของการเล่าเรื่องสะดุด อาทิ เสียง
มือถือ, ลุกเข้าออก ฯลฯ
 ฟังอย่างตัง้ ใจ
 One Meeting







จับประเด็นของเรื่องเล่า
บันทึกเรื่องเล่าตามความเป็ นจริง ไม่ต่อเติมเสริมแต่งด้วยความคิด
ของตนเอง
รักษาสานวนเดิมของผูเ้ ล่าไว้ให้มากที่สดุ
คานึ งอยู่เสมอว่า คนอืน่ อ่านแล้วต้องเข้าใจ
ขอขัดจังหวะการเล่าเรื่องได้ หากบันทึกไม่ทนั หรือให้ผูเ้ ล่าเล่า
รายละเอียดบริบท หรือ เทคนิ คเพิม่ เติม
บันทึกให้เห็นเส้นทางสูค่ วามสาเร็จ วิธีกา้ วข้ามอุปสรรค ปัญหา
ลาดับของแหล่งอ้างอิง
เทคนิ ค วิธีการ How to ที่ได้จากวง ลปรร. เป็ นความรูม้ ือ
หนึ่ งของคนเล่าเรื่องนั้นๆ
• แต่ถา้ เราเอา เทคนิ ค วิธีการ How to นี้ ไปใช้โดยไม่มีการ
ดัดแปลง ความรูน้ ้ ี ถอื เป็ นความรูม้ ือสอง แต่ถา้ มีการ
ดัดแปลง ประยุกต์เพิม่ เติมเพือ่ ให้เหมาะสมกับบริบทของเรา
วิธกี ารที่ดดั แปลงหรือประยุกต์ใหม่น้นั คือ ความรูม้ ือหนึ่ งของ
เรา
•
ชื่อผูเ้ ล่า
หรือเจ้าของเรือ่ งเล่า
ประเด็นหลักของเรือ่ ง
เล่า
อุไรวรรณ เทิดบารมี
ความพยายามอยู่ท่ี
สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู ้ ไหนความสาเร็จอยู่ท่ี
เพือ่ สังคม (สคส.)
นัน่
โทร. 02-2980664-8
E-mail:[email protected]
รายละเอียดเรือ่ งเล่า
ที่มี How to
(Tacit Knowledge)
- ตัวละคร
- อารมณ์ ความรูส้ กึ
- บริบท/ปัจจัยแวดล้อม
- How to
- ไม่ตคี วาม เขียนตามสิง่ ที่
ได้ยนิ
เป็ นส่วนของผูเ้ ล่าเรื่อง
ผูบ้ นั ทึก: วรรณา เลิศวิจติ รจรัส สคส......................
บันทึกในการประชุม:……………………………….
วันที่บนั ทึก: ………………………………………….
ตีความเรือ่ งเล่า
(Explicit
Knowledge)
- ถึงเต่าจะรูว้ ่าตัวเองด้อย
กว่า แต่ก็มคี วามหวังว่า
ตนเองจะชนะ จึงมุ่งมัน่
และไม่ยอมแพ้ไปเสียก่อน
- กระต่ายแพ้เต่าเพราะ
ความประมาท
- ฯลฯ
ข้อเสนอแนะดีๆ
ถ้าต้องทาซ้าอีก
- เต่าต้องหาวิธใี หม่ทจ่ี ะทาให้
กระต่ายประมาทอีกเพราะ
กระต่ายจะไม่หลับอีกแน่ๆ
- เต่าต้องเพิม่ เงือ่ นไขการ
แข่งขันขึ้นอีกเพราะถ้าวิง่ อย่าง
เดียวต้องแพ้กระต่ายแน่ๆ
- ฯลฯ
เป็ นส่วนของผูฟ้ ัง (กลุม่ )
คลังความรูท้ ่ดี ีควรมีทง้ั สามส่วน
๑
๒
๓
เรื่องเล่า หรือ
คาพูดที่เร้าใจ
การสรุปประเด็นหรือ
บทเรียนที่ได้
แหล่งข้อมูลบุคคล
อ้างอิง
“
“
- Story
- Case
- Tips
+
•
1.
ประเด็น
คาแนะนา
+
•
“
“
•
Tacit
Knowledge
•
•
Explicit
Knowledge
โทร. ...
References
KA โรงเรียนชาวนาสุพรรณบุรี
KA โรงเรียนชาวนาสุพรรณบุรี
KA โรงเรียนชาวนาสุพรรณบุรี
KM
: ประเด็นหลัก Focus
ที่เทคนิ ค วิธีการ How to
(ความรูป้ ฏิบตั ิ หรือ ความรูม้ ือหนึ่ ง)
 สลับกันทาหน้าที่ “คุณอานวย” “คุณลิขิต”
 “คุณอานวย”
ทาหน้าที่ชวนพูด ชวนคุย สร้างบรรยากาศ
ควบคุมเวลาและกระบวนการ (ไม่ให้ออกนอกประเด็น)
 “คุณลิขิต” หรือผูบ้ นั ทึกจดบันทึกเรื่องเล่า และช่วยจับ
ประเด็น บันทึกช่วยจา และการตีความของกลุม่ ย่อย
 สมาชิกกลุม่ ทุกท่านผลัดกันเล่าเรื่องตามหัวปลาที่กลุม่ กาหนด
 ฟังและช่วยกันตีความ จับประเด็นสาคัญหรือประเด็นความรู ้
ที่ได้จากเรื่องเล่าแต่ละเรื่อง
Community of Practices
คือที่ๆ คนหลายๆ คนมารวมตัวกันเป็ นชุมชน
CoPs จะเกิดได้ตอ้ งอาศัย ๓ องค์ประกอบหลัก
มีความสัมพันธ์ท่ดี ี
• สนิ ทสนม คุน้ เคย
• ไว้เนื้ อเชื่อใจ
• รูส้ กึ ปลอดภัย
มีความสนใจใน
เรื่องเดียวกัน
• มีปญั หาร่วมกัน
• แสวงหาบางอย่างร่วมกัน
มีเรื่องที่จะแบ่งปัน
• ประสบการณ์
• ประเด็นความสาเร็จ
• เทคนิ คการแก้ปญั หา
Peer Assist
เพือ่ นช่วยเพือ่ น
Peer Assist : เพือ่ นช่วยเพือ่ น
Peer Assist : เพือ่ นช่วยเพือ่ น
•สนใจความรู ้ และบริบทเฉพาะ
•ลปรร. ๒ ฝ่ าย ทีมเหย้า + ทีมเยือน
•เล่าประสบการณ์ – สะท้อนกลับสิง่ ที่ได้เรียนรูร้ ว่ มกัน
• กลับไปลงมือพัฒนางานตัวเอง
Small Group Activities
Small Group Activities
• แบ่งกลุม่ คน ตามสายงานเดียวกัน
• กาหนดเงือ่ นไข การปกครอง การบริหารเป็ นกลุม่ ย่อย
• ใช้กลุม่ เป็ นกลไกในการพัฒนางาน มีนยั การแข่งขันระหว่างทีม
• ให้อานาจอิสระในการบริหารกลุม่ ย่อย
ตลาดนัดความรู ้ (Knowledge Market)
• รวบรวม Good Practices ของการทางานเรื่องใด เรื่อง
หนึ่ ง
• มีทง้ั การเล่าเรื่องบนเวที และในบูธย่อยภายในงาน
• เน้นกระบวนการที่ให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรูป้ ฏิบตั ิทง้ั ให้ และรับ
• หน่ วยงานที่พบ กฟผ., DMKM, กรมส่งเสริมเกษตร, EdKM
ตลาดนัดความรู ้ (Knowledge Market)
Knowledge Rally
• จัดการเรียนรูเ้ ป็ นฐาน
• แต่ละฐานใช้ Good
Practices
ที่เน้นความรูป้ ฏิบตั มิ าแลกเปลี่ยน
• ผูเ้ ข้าร่วมเรียนรูถ้ กู แบ่งเป็ นกลุม่ ย่อย และแยกกันไปทัวร์แต่ละฐาน เพือ่
แลกเปลี่ยนในเรื่องนั้นๆ
• ทุกกลุม่ ได้เข้าครบทุกฐาน
• หน่ วยงานที่พบ DMKM, กรมอนามัย
Knowledge Rally
ทบทวนความคาดหวังที่เข้าร่วม Workshop นี้ คืออะไร?
อะไรบ้างที่ได้เกินความคาดหวังที่ตง้ั ไว้ เพราะอะไร?
อะไรบ้างที่ได้นอ้ ยกว่าความคาดหวังที่ตง้ั ไว้ เพราะอะไร?
จะนาสิง่ ที่ได้เรียนรูก้ ลับไปทาอะไรต่อ?