แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการวัดและประเมินผล

Download Report

Transcript แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการวัดและประเมินผล

ผศ.ดร.ภัทรวรรธน์ จีรพัฒน์ธนธร

คือการกาหนดตัวเลขให้กบั วัตถุ สิง่ ของ เหตุการณ์ ปรากฏการณ์ หรือ
พฤติกรรมต่าง ๆ หรืออาจใช้เครื่องมือไปวัดเพือ่ ให้ได้ตวั เลขแทน
คุณลักษณะต่าง ๆ เช่น ใช้ไม้บรรทัดวัดความกว้างของหนังสือได้ 3.5
นิ้ว ใช้เครื่องชัง่ วัดนา้ หนักของเนื้อหมูได้ 0.5 กิโลกรัม ใช้
แบบทดสอบวัดความรอบรูใ้ นวิชาภาษาไทยของเด็กชายแดงได้ 42
คะแนน เป็ นต้น

วัดทางตรง วัดคุณลักษณะทีต่ อ้ งการโดยตรง เช่น ส่วนสูง นา้ หนัก
ฯลฯ มาตราวัดจะอยู่ในระดับ Ratio Scale
 วัดทางอ้อม วัดคุณลักษณะทีต่ อ้ งการโดยตรงไม่ได้ ต้องวัดโดยผ่าน
กระบวนการทางสมอง เช่น วัดความรู ้ วัดเจตคติ วัดบุคลิกภาพ ฯลฯ
มาตราวัดจะอยู่ในระดับ Interval Scale

วสันต์ ทองไทย (2547) กล่าวว่า “การวัด”
(Measurement) เป็ นการตรวจสอบเพือ่ ให้ได้มาซึง่ ข้อมูล
เกี่ยวกับผูเ้ รียนในรูปของคะแนนหรือคาบรรยายทีเ่ กี่ยวกับผลการ
เรียนรูข้ องผูเ้ รียน ทีแ่ สดงออกทัง้ ในระยะเวลาก่อน ระหว่าง หรือ
หลังจากการเรียนการสอน

ส่วน “การประเมินผล” (Evaluation หรือ
Assessment) เป็ นกระบวนการนาข้อมูลต่างๆ ทีไ่ ด้จาก “การ
วัด” มาพิจารณาตัดสินว่า ผูเ้ รียนสามารถบรรลุตามเป้ าหมายหรือ
จุดประสงค์ของการจัดการศึกษาเพียงใด มีสง่ิ ใดทีต่ อ้ งการปรับปรุง
และพัฒนาให้ดขี ้นึ

การนาเอาข้อมูลต่างๆ ทีไ่ ด้จากการวัด รวมกับการใช้วจิ ารณญาณของผู ้
ประเมินมาใช้ในการตัดสินใจ โดยการเปรียบเทียบกับเกณฑ์

ในการเกณฑ์ทหาร จะมีการ “วัดส่วนสูง” และ “วัดรอบตัว(อก)” หากมี
ส่วนสูงตัง้ แต่ 160 เซนติเมตรขึ้นไป และมีขนาดรอบตัวตัง้ แต่ 76 เซนติเมตร
ขึ้นไปเวลาหายใจออก “ประเมินว่าอยู่ในกลุม่ ที่ 1 เรียกว่า คนได้ขนาด”

ในการแข่งขันขว้างจักร ฉัตรชัยขวา้ งจักร “วัดได้ 48 เมตร” เมือ่ ประเมินโดย
เปรียบเทียบกับกลุม่ ผูเ้ ข้าแข่งขัน ปรากฏว่าฉัตรชัยขวา้ งได้ไกลทีส่ ุด จึง
“ประเมินว่าฉัตรชัยขว้างจักรได้ดที ส่ี ุดในกลุม่ จึงให้รางวัลชนะเลิศแก่ฉตั รชัย”

นิสติ จะเห็นได้วา่ กระบวนการของ “การวัด” จะเกิดก่อน แล ้วจึงตามด้วย “การ
ประเมินผล” และนิสติ ควรจาไว้ประการหนึ่งว่า เมือ่ พูดถึง “การประเมิน” มักจะ
ต้องมี “เกณฑ์” ประกอบด้วยเสมอ ถ้าเกณฑ์ถกู กาหนดไว้ลว่ งหน้าแล ้วตาม
มาตรฐานทีต่ งั้ ขึ้น เรียกว่าเป็ น “การประเมินแบบอิงเกณฑ์” เช่น กรณีของ
สมหญิงทีไ่ ด้เกรด B+ หรือกรณีการเกณฑ์ทหารทีไ่ ด้กล่าวข้างต้น แต่ถา้ ใช้
เกณฑ์แบบมีการเปรียบเทียบกับกลุม่ เรียกว่าเป็ น “การประเมินแบบอิงกลุม่ ”
เช่น กรณีของฉัตรชัยทีไ่ ด้รางวัลชนะเลิศ

เป็ นการเปรียบเทียบคะแนนจากแบบทดสอบหรือผลงานของบุคคลใดบุคคล
หนึ่งกับบุคคลอืน่ ๆ ทีไ่ ด้ทาแบบทดสอบเดียวกันหรือได้ทางานอย่างเดียวกัน
นัน่ คือเป็ นการใช้เพือ่ จาแนกหรือจัดลาดับบุคคลในกลุม่ การประเมินแบบนี้
มักใช้กบั การ การ
ประเมินเพือ่ คัดเลือก
เข้าศึกษาต่อ หรือการ
สอบชิงทุนต่าง ๆ
 เป็ นการเปรียบเทียบคะแนนจากแบบทดสอบหรือ
ผลงานของบุคคลใดบุคคลหนึ่งกับเกณฑ์หรือ
จุดมุง่ หมายทีไ่ ด้กาหนดไว้ เช่น การประเมินระหว่าง
การเรียนการสอนว่าผูเ้ รียนได้บรรลุวตั ถุประสงค์การ
เรียนรูท้ ไ่ี ด้กาหนดไว้หรือไม่





คะแนน
คะแนน
คะแนน
คะแนน
คะแนน
80 – 100
70 – 79
60 – 69
50 – 59
น้อยกว่า 50
เกรด
เกรด
เกรด
เกรด
เกรด
4
3
2
1
0

การประเมนผลเป็ นกระบวนการสาคัญทีม
่ ี
ส่วนเสริมสรางความส
าเร็จให้กับผูเรี
้
้ ยน
และเป็ นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการ
เรียนการสอน
การสอนและการ
ประเมินผลจาเป็ นตองมี
ลก
ั ษณะสอดคลอง
้
้
กันและดาเนินควบคูกั
่
่ นไป ดังนั้น เมือ
การเรียนการสอนแบบผูเรี
้ ยนเป็ นสาคัญมี
ลักษณะเป็ นการเรียนรูที
่ ทจริ
้ แ
้ ง
าการ
(Authentic Learning) จึงตองท
้
1. เป็ นวิธกี ารทีส่ ามารถค้นหาความสามารถและความก้าวหน้าในการเรียนรูท้ ่ี
แท้จริงของผูเ้ รียน ข้อมูลทีไ่ ด้สามารถนามาใช้ประกอบการตัดสินผลการเรียนรู ้
ของผูเ้ รียนได้
เช่น
- กัง้ มีความถนัดด้านการเต้นและกิจกรรมบันเทิงต่าง ๆ
- ซีดี ไม่ชอบวิชาเกี่ยวกับการคานวณ
- เต้ เป็ นเด็กเกเร ไม่ค่อยสนใจเรียน แต่ชอบงานกิจกรรมทุกรูปแบบ
- ตัม้ เป็ นคนชอบพูด และอยู่น่งิ นาน ๆ ไม่ได้
2. เป็ นการประเมินเชิงคุณภาพอย่างต่อเนื่องในด้านความรู ้ ความคิด
พฤติกรรม วิธกี ารปฏิบตั ิ ผลการปฏิบตั ิ และเจตคติของผู ้เรียน ใน
การประเมินผลครูตอ้ งนาสิง่ ทีต่ อ้ งการประเมินมาผสมผสานแล ้วเลือก
วิธปี ระเมินให้เหมาะสม ไม่มวี ธิ ปี ระเมินผลวิธเี ดียวทีส่ ามารถประเมิน
ผูเ้ รียนได้ทกุ ด้าน วิธปี ระเมินผลสามารถแบ่งได้ 4 วิธี ดังนี้
1. การใช้แบบทดสอบแบบคาตอบมีตวั เลือก (Selected
Response) แบบทดสอบนี้มลี กั ษณะเป็ นคาถามทีม่ หี ลายคาตอบ
ให้ผูเ้ รียนเลือกคาตอบทีด่ ที ส่ี ุด ตัวบ่งชี้ผลสัมฤทธิ์คอื จานวนหรือ
อัตราส่วนของคาถามและคาตอบทีถ่ กู ต้อง
2. การใช้แบบทดสอบแบบอัตนัย (Essay) แบบทดสอบอาจเป็ น
คาถาม การให้อธิบายถึงการแก้ปญั หา การเปรียบเทียบเหตุการณ์หรือ
การตีความข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ ผูเ้ รียนจะต้องรวบรวมข้อมูลแล ้ว
เขียนเป็ นคาตอบทีแ่ สดงมโนทัศน์ของเรื่องนัน้ ตัวบ่งชี้ผลสัมฤทธิ์คอื
จานวนคะแนนทีไ่ ด้รบั จากคะแนนเต็ม

3. การแสดงพฤติกรรม (Performance) ผูเ้ รียนทากิจกรรม
ทีก่ าหนด โดยมีครูคอยสังเกตกระบวนการใช้ทกั ษะต่าง ๆ หรือ
ประเมินจากผลผลิตซึง่ สะท้อนให้เห็นว่าผูเ้ รียนมีทกั ษะในการผลิต
อย่างมีคุณภาพ เช่น รายงาน นิทรรศการทางวิทยาศาสตร์ หรืองาน
ประดิษฐ์ ตัวบ่งชี้ผลสัมฤทธิ์คอื การจัดระดับ (Rating) คุณภาพ
ของพฤติกรรมหรือผลผลิต
4. การสือ่ ความหมายระหว่างครูและผูเ้ รียน (Personal
Communication) ครูอาจใช้วธิ ถี ามคาถามระหว่างสอน สัมภาษณ์
สนทนา ประชุม ฟังการอภิปรายของผูเ้ รียน หรือทาการสอบปากเปล่า ผล
ของการประเมินจะเกิดประโยชน์เมือ่ การประเมินมีคุณภาพสูง คุณภาพหมายถึง
สิง่ ต่อไปนี้
 สิง่ ทีป่ ระเมินชัดเจน
 วิธกี ารประเมินเหมาะสม
 การเป็ นตัวแทนและอ้างอิงได้
 มีความเทีย่ งตรงปราศจากอคติและการบิดเบือน