วัฒนธรรม ความหมาย ลักษณะ ประเภท ความสาคัญ โดย…. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก ความหมาย วัฒน (ไทย) มาจาก วฑฺฒน (บาลี) / วรฺธน (สันสกฤต) ธรรม (ไทย) มาจาก ธมฺม (บาลี) / ธรฺม (สันสกฤต) วฑฺฒนธมฺม (บาลี)

Download Report

Transcript วัฒนธรรม ความหมาย ลักษณะ ประเภท ความสาคัญ โดย…. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก ความหมาย วัฒน (ไทย) มาจาก วฑฺฒน (บาลี) / วรฺธน (สันสกฤต) ธรรม (ไทย) มาจาก ธมฺม (บาลี) / ธรฺม (สันสกฤต) วฑฺฒนธมฺม (บาลี)

วัฒนธรรม
ความหมาย
ลักษณะ
ประเภท
ความสาคัญ
โดย….
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก
ความหมาย
วัฒน (ไทย) มาจาก วฑฺฒน (บาลี) / วรฺธน (สันสกฤต)
ธรรม (ไทย) มาจาก ธมฺม (บาลี) / ธรฺม (สันสกฤต)
วฑฺฒนธมฺม (บาลี) / วรฺธนธรฺม (สันสกฤต) แปลว่า ธรรม
เป็ นเหตุให้เจริญ / ธรรมคือความเจริญงอกงามที่ มนุ ษย์
ทาให้เกิดขึ้น
คาว่า วัฒนธรรม เป็ นชื่อรวมสาหรับแบบอย่างของ
พฤติกรรมทัง้ หลายที่ได้มาและถ่ายทอดกันไปทาง
สังคมโดยอาศัยสัญลักษณ์ เช่น การทาเครื่องมือ
ศิลปะ วิทยาศาสตร์ กฎหมาย การปกครอง ศีลธรรม
และศาสนา รวมทัง้ อุปกรณ์ท่เี ป็ นวัตถุหรือสิง่ ประดิษฐ์
ซึ่งแสดงรูปแบบแห่งสัมฤทธิ์ผลทาง
วัฒนธรรม (ราชบัณฑิตยสถาน)
วัฒนธรรม หมายถึง วิธีการดารงชีวิตของ
มนุ ษ ย์ท่ีแสดงถึงความเจริญงอกงามใน
การอยู่ ร่ ว มกัน เป็ นการสร้า งสรรค์ข อง
มนุ ษ ย์ท่ี แ สดงออกในลัก ษณะของวัต ถุ
และไม่ใช่ วตั ถุ แล้วถ่ายทอดสืบต่ อกันมา
(พระราชบัญญัติวฒั นธรรม 2485)
ลักษณะของวัฒนธรรม
1. เป็ นพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู ้
2. เป็ นมรดกของสังคม / มีการถ่ายทอด
3. เป็ นวิถชี ีวติ / เป็ นแบบแผนการดาเนิ นชีวติ
4. มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
ประเภทของวัฒนธรรม
1. วัฒนธรรมทางวัตถุ
2. วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วตั ถุ / วัฒนธรรม
ทางจิตใจ
ประเภทของวัฒนธรรม
1. วัตถุธรรม
2. คติธรรม
3. สหธรรม
4. เนติธรรม
การจัดประเภทตามเนื้ อหา
1. วัตถุธรรม เป็ นวัตถุธรรมทางวัตถุท่สี มาชิกร่วมกันประดิษฐ์และกาหนด
ความหมาย หรือวิธีการนาไปใช้ เช่น บ้านเรือน เครื่องแต่งกาย ถนน
หนทาง และสิ่งประกอบความเป็ นอยู่ทุกชนิ ด รวมถึงเครื่องอุปโภค
บริโภค
2. คติธรรม เป็ นวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับหลักในการดาเนิ นชีวิ ต คุณธรรม
ทางจิตใจ อันเป็ นคติหรือหลักการดาเนิ นชี วิต ส่วนใหญ่ ได้มาจาก
ศาสนาเช่น ความเมตตากรุณา ความกตัญญูกตเวที เป็ นต้น
3. เนติธรรม เป็ นวัฒนธรรมทางกฎหมาย และระเบียบ
ข้อ บัง คับ กฎเกณฑ์ห รือ ขนบธรรมเนี ย มประเพณี ท่ี มี
ความสาคัญเสมอด้วยกฎหมาย กล่าวคือ บางอย่างแม้ไม่
มี ก ฎหมายห้า ม แต่ ถ า้ ใครปฏิบ ตั ิ ก็เ ป็ นที่ ร ัง เกีย จของ
สังคม เพราะถือกันว่าไม่ดี ไม่เหมาะสมหรือที่เราเรียกว่า
จารีต นัน่ เอง
4. สหธรรม เป็ นแนวทางของการด าเนิ นชี วิ ต
มารยาทที่ พึง ปฏิ บ ตั ิ ใ นการอยู่ ร่ ว มกัน กับ ผู อ้ ่ืน ใน
สังคมและประเพณี ต่างๆ เช่น มารยาทในการเข้าหา
ผูใ้ หญ่ มารยาทในโต๊ะอาหาร มารยาท ในการเข้า
สังคม เป็ นต้น
ประเภทของวัฒนธรรม
(สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (พ.ศ. 2522)
1. วัฒนธรรมด้านศิลปะ ได้แก่ ภาษา ดนตรี วรรณคดี
ฟ้ อนราละคร วิจติ รศิลป์ ประติมากรรม
2. วัฒนธรรมด้านมนุ ษยศาสตร์ ได้แก่ ขนบธรรมเนี ยม
ประเพณี คุณธรรมศีลธรรม ศาสนา ปรัชญา โบราณคดี
มารยาทในในสังคม การปกครอง กฎหมาย
3. วัฒนธรรมด้านการช่ างฝี มือ ได้แก่ การเย็บปักถักร้อย
การแกะสลัก ทอผ้า จักสาน เครื่องเขี ยน เครื่องเงิน
เครื่องทองการจัดดอกไม้ ตุก๊ ตา เครื่องปัน้ ดินเผา
4. วัฒนธรรมกีฬาและนันทนาการ ได้แก่ มวยไทย ฟันดาบ
กระบี่กระบอง
5. วัฒนธรรมคหกรรมศิลป์ เช่น ความรูเ้ รื่องอาหาร เสื้อผ้า
ยา การดู แลเด็ ก มารยาท การรับแขก และการรู จ้ กั
ประกอบอาชีพ
ความสาคัญของวัฒนธรรม
1. เป็ นประโยชน์ต่อการดารงชีวติ
2. ทาหน้าที่หล่อหลอมบุคลิกภาพให้กบั สมาชิกใน
สังคม
3. ก่อให้เกิดความเป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกัน
ที่มาของวัฒนธรรมไทย
1. สิง่ แวดล้อมทางภูมิศาสตร์
2. ระบบการเกษตรกรรม
3. ค่านิ ยม
4. การเผยแพร่ทางวัฒนธรรม
5. ศาสนาพราหมณ์
6. พุทธศาสนา
7. วัฒนธรรมตะวันตก
วัฒนธรรมทางวัตถุของชาวอีสาน
 เครื่องแต่งกายและการแต่งกาย
 การงานและการประกอบอาชีพ
 ที่อยู่อาศัย
 ศิลปวัตถุและศาสนสถาน
 จิตรกรรม
 อาหารการกิน
วัฒนธรรมทางคติธรรมของชาวอีสาน
 คติเกี่ยวกับความเชื่อ
 การถือเรื่องทิศทาง
 การถือเรื่องวัน –
 การถือโสก
 คติคาสอน
เดือน - ปี
วัฒนธรรมทางเนติธรรมของชาวอีสาน
 ฮีตสิบสอง / จารีตประเพณี
 คองสิบสี่
วัฒนธรรมทางสังคม /สหธรรมของชาวอีสาน
 ความเกี่ยวพันธ์กนั ในฐานะเครือญาติ
 ประเพณี ท่เี อื้ออานวยต่อมนุ ษยสัมพันธ์
 นันทนาการ
 การกีฬา / การละเล่น
 ดนตรีอสี าน
ฝากให้คด
ิ
อย่าปล่อยวันผ่านไปโดยไม่อา่ น
อย่าปล่อยวารผ่านไปโดยไม่เขียน
อย่าปล่อยชีพผ่านไปโดยไม่เรียน
อย่าหมุนเวียนเรียนไปโดยไม่คดิ