Transcript 2 - UTCC e

บทที่ 2
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
กับโลกาภิวตั น์
วัฒนธรรม
(Culture)
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1
นักศึกษาสามารถอธิบายความหมายวัฒนธรรม
ในลักษณะทัง้ ความหมายทัวไปและความหมายอื
่
่นๆ
2
นักศึกษาสามารถอธิบายและเข้าใจว่าวัฒนธรรม
ในแต่ละสังคมย่อมมีรปู แบบแตกต่างกัน
วัฒนธรรม
(Culture)
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
3
นักศึกษาสามารถอธิบายแนวคิดต่างๆรวมทัง้
ศัพท์ทางวัฒนธรรมได้
4
นักศึกษาสามารถศึกษากระแสวัฒนธรรมต่างๆที่
เกิดขึน้ และเปลี่ยนแปลงในสังคมโลกปัจจุบนั
วัฒนธรรม
(Culture)
สังคมกับวัฒนธรรมเป็ นสิ่งที่ค่กู นั
วัฒนธรรมนัน้ คือผลผลิตของส่วนรวมที่คนใน
สังคมนัน้ ๆ ได้สร้างขึน้ และเรียนรูจ้ ากรุน่ หนึ่ ง
ไปยังอีกรุน่ หนึ่ ง และสืบทอดต่อ ๆ กันมาในแต่
ละยุคของสังคม
วัฒนธรรม
(Culture)
ความหมาย ตามรูปศัพท์ หมายถึง
สภาพอันเป็ นความเจริญงอกงามหรือ
เรือ่ งอันเป็ นสิ่งดีงาม
วัฒนธรรม
หมายถึง
(Culture)
ลักษณะพฤติกรรมทัง้ หมดที่คล้ายกัน และปฏิบตั ิ รว่ มกันของ
มนุษย์ในสังคมใดสังคมหนึ่ ง ซึ่งไม่ใช่เพียงแค่เรื่องที่เกี่ยวกับศิลปะ
การแสดง การแต่งกาย หรือศาสนา เท่านัน้ แต่รวมไปถึง แนวคิด ภูมิ
ปัญหา ความเชื่อ ความเคยชินในเรื่องต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นอาหาร เสื้อผ้า
สถาปัตยกรรม รวมทัง้ การประเมินค่าสิ่งต่างๆ ค่านิยม รสนิยม รวมทัง้
ประเพณี ศีลธรรม จริยธรรม ในสังคมนัน้ ๆ อีกด้วย โดยปกติแล้ว
วัฒนธรรม จะมีการเปลี่ยนแปลงตัวเองอยู่ตลอดเวลา
การแบ่ งประเภท
วัฒนธรรมตามพระราชบัญญัติวฒ
ั นธรรมแห่งชาติ
1
2
คติธรรม - วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับหลักการ
ดาเนินชีวิต
เนติธรรม -วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับข้อที่ ควร
ปฏิบตั ิ
การแบ่ งประเภท
วัฒนธรรมตามพระราชบัญญัติวฒ
ั นธรรมแห่งชาติ
3
วัตถุธรรม -วัฒนธรรมที่แสดงออก ทางด้านวัตถุ
4
สหธรรม -วัฒนธรรมทางสังคม
การเกิดขึน้ ของวัฒนธรรม
ความต้ องกาารทาง
ชีวภาพ
• หาอาหารบริ โภค
• เข้ าอยู่อาศัยตามถ ้า
• นาหนังสัตว์มาคลุม
ความต้ องกาารทางด้ านจิตใจและ
สังคม
•
•
•
•
บ้ าน --> ระบบครอบครัว
เครื่ องมือ --> เทคนิควิธีกาาร
เครื่ องใช้ --> สิ่งประดิษฐ์
เครื่ องนุ่งห่ม -->
เครื่ องประดับ
วัฒนธรรม
แผนภูมิที่ 1 กาารเกาิดวัฒนธรรมที่เป็ นไปตามความต้ องกาารของ
มนุษย์
ความต้ องกาารเสถียรภาพความ
มัน่ คง
สถาบันสังคมต่าง ๆ
• สถาบันครอบครัว
• สถาบันเศรษฐกาิจ
• สถาบันกาารเมือง
ฯลฯ
ประเภทของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมแบ่งออกเป็ นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 2 ประเภท
คือ
สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ซึ่ ง มนุ ษย์ไ ด้ คิ ด สร้ างขึ้น
วัฒนธรรมที่เป็ นวัตถุ
เ ป็ น ต้ น ว่ า สิ่ ง ข อ ง เ ค รื่ อ ง ใ ช้ ใ น
ครัวเรือน อาคารบ้ านเรือน รถยนต์
(Material Culture)
ปากกา นาฬิกา ฯลฯ
วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วตั ถุ
(Nonmaterial Culture)
แ บ บ แ ผ น ใ น ก า ร ด า เ นิ น ชี วิ ต
ความคิด ความเชื่ อ ภาษา ศี ล ธรรม
วิธีกระทา ฯลฯ
วัฒนธรรม
วัฒนธรรมทางวัตถุ
วัตถุสิ่งของทีม่ นุษย์ สร้ างขึน้
เครื่องมือเครื่องใช้ ต่าง ๆ
ฯลฯ
วัฒนธรรมทีไ่ ม่ ใช่ วตั ถุ
วิธีคดิ (Ideas)
แบบแผนพฤติกรรม
ความเชื่อ
ค่ านิยม
ฯลฯ
วิถีชาวบ้ าน
จารีต
กฎหมาย
ลักษณะของวัฒนธรรม
*เป็ นสิ่งที่ต้องใช้กระบวนการเรียนรู้
*แบบแผนพฤติกรรม
*สิ่งที่สมาชิกในสังคมมีอยู่รว่ มกัน
*เป็ นมรดกแห่งสังคม
*มีลกั ษณะแบบ Super Organic
*วัฒนธรรมย่อมมีการเปลี่ยนแปลง(Change)และมี
การปรับตัว(Adoptive) ได้
*วัฒนธรรมหล่อหลอมบุคลิกภาพของปัจเจกชน
วัฒนธรรมสากล
(Cultural Universal)
หมายถึง วัฒนธรรมที่พบกันโดยทัวไปในทุ
่
กๆ
สังคม เช่น วัฒนธรรมการมีภาษาใช้ วัฒนธรรม
การมีประเพณี รนื่ เริง วัฒนธรรมที่เป็ นข้อห้ามใน
การสมรสหรือที่เรียกว่าIncest-Taboo
วัฒนธรรมหลัก
(Main Culture)
คือวัฒนธรรมอันประกอบไปด้วย หลัก
ความคิดและการกระทาที่สมาชิกส่วนใหญ่
ในสังคมยึดถือเป็ นเป้ าหมายร่วมกัน
วัฒนธรรมย่อย
(Sub Culture)
หมายถึง ความรูส้ ึกนึ กคิดและการกระทาซึ่งแตก
ต่างไปจากสมาชิกส่วนใหญ่ของสังคม ทัง้ สาเนี ยง
ภาษาค่านิยม ศาสนาและอื่นๆ
แบ่งเป็ น 4 ประเภท ซึ่งวัฒนธรรมย่อยเหล่านี้ เป็ น
แนววัฒนธรรมที่แตกต่างไป แต่ไม่ขดั ต่อวัฒนธรรม
กระแสหลัก
วัฒนธรรมย่อยแบ่งได้ 4 ประเภท
1
2
3
4
วัฒนธรรมย่อยตามช่วงอายุ
วัฒนธรรมย่อยตามเชื้อชาติ เช่นคนไทย
เชื้อสายต่างๆ
วัฒนธรรมย่อยตามท้องถิ่นเช่นการที่ประเทศ
ไทยประกอบไปด้วย 4 ภูมิภาคหลัก
วัฒนธรรมย่อยตามอาชีพ
การผสมผสานทางวัฒนธรรม
(Acculturation)
การกระทบกันของวัฒนธรรมของสังคมที่แตกต่าง
กันโดยอาจเกิดจากการติดต่อค้าขาย การท่องเที่ยว
และกิจกรรม เป็ นลักษณะที่มีทงั ้ การให้วฒ
ั นธรรม
และรับวัฒนธรรมในขณะเดียวกัน จึงเรียกว่าเป็ น
กระบวนการ 2 ทาง (two-way process)
การกลืนกลายทางวัฒนธรรม
(Assimilation)
หมายถึง การเปลี่ยนแปลงจากวัฒนธรรม
เดิมแล้วหันไปรับวัฒนธรรมใหม่ทงั ้ หมด
มีผลทาให้วฒ
ั นธรรมเดิมเปลี่ยนไป
การกลืนกลายทางวัฒนธรรม
(Assimilation)
1
2
แบ่งเป็ น 2 ระดับ
การกลืนกลายทางสังคม เช่นการทาตามประเพณี
ของคนวัฒนธรรมอื่น
การกลืนกลายทางชีวภาพ ได้แก่ การกลืนโดย
แต่งงาน
อัตตนิยมทางวัฒนธรรม
(Ethnocentrism)
เป็ นลักษณะของการไม่ยอมรับในแนววัฒนธรรม
ของสังคมอื่นที่ต่างไปจากตน คิดว่าวัฒนธรรมของ
ตนดีเลิศหรือมีค่ากว่าวัฒนธรรมของสังคมอื่น
อัตตนิยมทางวัฒนธรรม
(Ethnocentrism)
ผลกระทบ
ด้านลบ - สร้างความขัดแย้ง
ด้านบวก - ทาให้สมาชิกมีการปฏิบตั ิ ต่อกลุ่มมากขึน้
ตรงข้ามกับ xenocentrism
วัฒนธรรมกับกระแสโลกาภิวฒ
ั น์
โลกาภิวตั น์ แปลมาจากภาษาอังกฤษ Globalization
ซึ่งมีผรู้ ใู้ ห้ความหมายไว้เฉพาะว่า โลกไร้พรมแดน
ยุค IT ( Information Technology) การเกิดเครือข่าย
โทรคมนาคมที่โยงใยทัวโลกด้
่
วยระบบคอมพิวเตอร์ที่
เรียกว่า Internet (International Network )
ความล้าทางวัฒนธรรม
(Cultural Lag )
หมายถึง การที่ส่วนใดส่วนหนึ่ งของวัฒนธรรม ซึ่งมี
ความเกี่ยวข้องกันมีอตั ราการเปลี่ยนแปลงที่ ไม่
เท่ากัน แบ่งเป็ น
1
วัฒนธรรมที่เป็ นวัตถุเปลี่ยนเร็วกว่าวัตถุ
2
วัฒนธรรมที่เป็ นวัตถุเปลี่ยนเร็วกว่าไม่ใช่วตั ถุ
การชะงักงันทางวัฒนธรรม
(Cultural Shock)
หมายถึง สภาพการณ์อย่างหนึ่ งของวัฒนธรรม
ที่เกิดขึน้ อย่างฉับพลัน เป็ นการเผชิญกับ
วัฒนธรรมใหม่ที่ไม่ค้นุ เคยมาก่อน จึงมีผลทา
ให้ไม่อาจจะปรับตัวหรือสร้าง ความสมดุลทาง
วัฒนธรรมใหม่ได้
การแพร่กระจายทางวัฒนธรรม
(Culture Diffusion)
• ตราบใดที่มนุษย์ยงั มีการเคลื่อนย้ายจากถิ่นหนึ่ งไปยัง
แหล่งอื่น ๆ
• การท่องเที่ยว การค้าขาย การเผยแพร่ศาสนา การไป
ศึกษาหาความรู้
• นาวัฒนธรรมติดตัวไปด้วย และรับเอาวัฒนธรรมจาก
สังคมที่ไปติดต่อกลับมา ซึ่งถือได้ว่าเป็ นการแพร่
กระจายทางวัฒนธรรม (Culture Diffusion)นัน่ เอง
วัฒนธรรมข้ามชาติ
(Cross culture)
• หมายถึงวัฒนธรรมที่แตกต่างกันของคนในแต่ละ
สังคม เป็ นสิ่งที่มีความสาคัญอย่างยิ่ง
• มีผลต่อการวางนโยบายการบริหารธุรกิจระหว่าง
ประเทศ หรือการติดต่อสื่อสาร รวมทัง้ การบริหาร
จัดการข้ามบริบททางวัฒนธรรม
• ผลแห่งการขาดความเข้าใจ อาจทาให้หน่ วยงาน/
องค์กรไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร
วัฒนธรรมร่วมสมัย
(Popular Culture)
• ร่วมสมัยถือเป็ นกลวิธีในการแบ่งยุค แบ่งสมัย
แบ่งเวลาเพื่อใช้เป็ นเกณฑ์ในการพิจารณา
ภาพรวมในแต่ละเรือ่ ง
• วัฒนธรรมโดยทัวไปที
่
่ ร่วมยุค ร่วมเหตุการณ์และ
ร่วมความคิด
• หรือ เป็ นการนาคุณค่ามาพิจารณาร่วมกับเวลา
นัน่ เอง
(POSTMODERNISM)
เป็ นยุคของแนวคิดการตี
กลับ และการขยายหลัก
การของ modernism
มณเฑียร บุญมา
การเลียนแบบ
(Pastiche)