การส่องสว่างและการนำไปใช้งาน
Download
Report
Transcript การส่องสว่างและการนำไปใช้งาน
การส่ องสว่ าง
เสนอ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายร่ ุงโรจน์ หนูขลิบ
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
มาตรฐานรายวิชา
1. เข้ าใจแหล่งกาเนิดแสงและคุณสมบัตขิ องแสง
2. หาความเข้ มการส่ องสว่างตามสถานที่ใช้ งาน
3. เลือกชนิดของหลอดและดวงโคม
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
เนือ้ หาสาระ
การส่ องสว่ างภายในอาคารสานักงาน
บ้ านอยู่อาศัย โรงแรม โรงพยาบาล โรงเรียน
สามารถประหยัดพลังงานแสงสว่ างได้ มาก
เมื่อเทียบกับการส่ องสว่ างภายในอย่ างอืน่ การ
ส่ องสว่ างภายในอาคารมีความสาคัญมาก
เพราะ มีผลต่ อประสิ ทธิภาพของงาน และ
สุ ขภาพ ของผลใช้ งาน หรือผู้ปฏิบัตงิ านนายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
เนือ้ หาสาระ
การส่ องสว่ างภายในอาคารมีความสาคัญ
สองประการ คือ การให้ แสงสว่ างเพือ่ ใช้ งานได้
สะดวกสบาย และ การให้ แสงเพือ่ ให้ เกิดความ
สวยงาม ไม่ ว่าจะเป็ นการส่ องสว่ างแบบใดก็
ตามก็ต้องคานึงถึงการประหยัดพลังงานแสง
สว่ างด้ วยสาหรับในยุคปัจจุบันทีพ่ ลังงาน
ไฟฟ้าเป็ นสิ่ งจาเป็ นและหายากยิง่
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
จุดประสงค์ ครั้งนี้
เพือ่ ให้ มคี วามรู้ ความเข้ าใจ และ
สามารถนาไปใช้ ได้ เกีย่ วกับ
1. บอกความหมายของการส่ องสว่างและการ
นาไปใช้ งานได้
2. บอกความเหมาะสมการส่ องสว่ างและการ
นาไปใช้ งานได้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
จุดประสงค์ ครั้งนี้
เพือ่ ให้ มคี วามรู้ ความเข้ าใจ และ
สามารถนาไปใช้ ได้ เกีย่ วกับ
3. บอก ชนิด ขนาด รู ปแบบ การส่ องสว่ าง
และการนาไปใช้ งานได้
4. หลักการการส่ องสว่ างและการนาไปใช้ งาน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
รายการสอน
1.
2.
3.
4.
5.
การส่ องสว่ างและการนาไปใช้ งาน
การคานวณกาลังไฟฟ้า
แสงสว่ างสาหรับอาคารชนิดต่ างๆ
หลักการให้ แสงสว่ างภายในอาคาร
แสงสว่ างในที่ทางาน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
รายการสอน
6. การจัดวางตาแหน่ งดวงโคม
7. การออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าใน
อาคาร
8. การส่ องสว่ างภายนอกอาคาร
9. การออกแบบไฟฟ้าสนามกีฬากลางแจ้ ง
10. ไฟส่ องป้ ายโฆษณา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สังคม/เศรษฐกิจ/วัฒนธรรม/สิง่ แวดล้อม
สมดุล/พร้อมรับต่อการเปลีย่ นแปลง
นาสู่
พอประมาณ
ทางสายกลาง
พอเพียง
มีเหตุผล
เงือ่ นไขความรู ้
รอบรู ้ รอบคอบ ระมัดระวัง
มีภูมิคุม้ กัน
เงือ่ นไขคุณธรรม
ซื่อสัตย์สุจริต อดทน เพียร มีสติ ปั ญญา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ... วิศวกรรมการส่องสว่าง ....
ชื่อผู้แต่ ง..... มงคล ทองสงคราม .....
สานักพิมพ์ ..... ซีเอ็ดยูเคชั่น จากัด......
ปี ทีพ่ มิ พ์ ....2538........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ... วิศวกรรมการส่องสว่าง ....
ชื่อผู้แต่ ง..... ศุลี บรรจงจิตร .....
สานักพิมพ์ ..... ซีเอ็ดยูเคชั่น จากัด......
ปี ทีพ่ มิ พ์ ....2538........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ... พื้นฐานวิศวกรรมการส่องสว่าง ....
ชื่อผู้แต่ ง..... อ.ไชยะ แช่ มช้ อย .....
สานักพิมพ์ .....เอ็มแอนด์ อี จากัด........
ปี ทีพ่ มิ พ์ ....2550........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ..การส่ องสว่าง..
ชื่อผู้แต่ ง.....วิทย์ อ้นจร และคณะ.....
สานักพิมพ์ ..... ศูนย์ ส่งเสริมวิชาการ........
ปี ที่พมิ พ์ ....2549........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ..การส่ องสว่ าง..
ชื่อผู้แต่ ง.....วัฒนา ถาวร .....
สานักพิมพ์ ... สมาคมส่ งเสริมเทคโนโลยี่
(ไทยญี่ปุ่น)....
ปี ที่พมิ พ์ ....2536........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ความแตกต่ างของการส่ องสว่ าง
1. งานที่มองเห็นชัด และสภาพการทางานดี มี
แสงสม่าเสมอตลอดชิ้นงาน และไม่ มีแสงสะท้ อน
รบกวนนัยน์ ตา ใช้ ทางานในช่ วงเวลาสั้ น ๆ แต่ ใน
การทางานติดต่ อกันนาน ๆ แสงสว่ างต้ องไม่ สูง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ความแตกต่ างของการส่ องสว่ าง
2. งานที่มองเห็นยาก ชิ้นงานมีสีแตกต่ างกับ
สิ่ งใกล้เคียง และมีแสงสะท้ อน ความเร็วสู ง โย
เฉพาะงานที่ทาติดต่ อกันนาน ๆ และแสง
ธรรมชาติไม่ พอ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การส่ องสว่ างภายใน
การจัดแสงสว่ างเพือ่ การใช้ งานแต่ ละ
สถานที่ว่าประกอบด้ วยแสงสว่ าง เพือ่ การใช้
งานแต่ ละประเภทอย่ างไร เพือ่ จะได้ นาไป
ประยุกต์ ใช้ หรือเลือกใช้ เพือ่ การประหยัด
พลังงานอย่ างถูกต้ อง เพราะการประหยัด
พลังงานแสงสว่ างทีถ่ ูกต้ อง ต้ องไม่ ให้ เกิดความ
สู ญเสี ยทางด้ านอืน่ ด้ วย
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การส่ องสว่ างภายใน
เช่ น ประหยัดพลังงานแล้วทาให้ ธุรกิจ
สู ญเสี ยรายได้ จานวนมาก หรือประหยัด
พลังงานแล้วทาให้ เกิดความเสี่ยงสู งในการ
ทางานทีท่ าให้ เกิดอันตรายสู ง เป็ นต้ น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การส่ องสว่ างภายใน
หมายถึง ต้ องให้ ได้ ระดับความส่ องสว่ างอยู่ใน
เกณฑ์ ที่ทางานได้ โดยไม่ ต้องทาให้ เพ่ งสายตา
มากเกินไป ส่ วนการส่ องสว่ างให้ เกิดความ
สวยงามนั้นก็ต้องอาศัยความมีศิลป์ ในตัวเพือ่
พิจารณาในแง่ การให้ แสงแบบเอฟเฟค (Effect
Lighting) หรือการให้ แสงแบบส่ องเน้ น
(Accent Lighting)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การส่ องสว่ างภายใน
ระบบการให้ แสงสว่ างนั้นขึน้ อยู่กบั การใช้ งาน
ของห้ อง ผู้อยู่ในห้ อง การมองเห็น และสไตล์
การตกแต่ ง ระบบการให้ แสงสว่ างโดยพืน้ ฐาน
ประกอบด้ วย ระบบการให้ แสงหลัก (Primary
Lighting System) และระบบการให้ แสงรอง
(Secondary Lighting System)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ระบบการให้ แสงหลัก
หมายถึง แสงสว่ างพืน้ ฐานที่ต้องใช้ เพือ่ การ
ใช้ งานซึ่งแยกออกได้ เป็ นระบบต่ าง ๆ
หรือ การออกแบบระบบแสงสว่ างให้ มี
ความส่ องสว่ างเพียงพอตามมาตรฐานเพือ่ การ
ใช้ งานในแต่ ละพืน้ ที่น้ันๆ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ระบบการให้ แสงหลัก
หมายถึง แสงสว่ างพืน้ ฐานที่ต้องใช้ เพือ่ การ
ใช้ งานซึ่งแยกออกได้ เป็ นระบบต่ างๆดังนี้
ก) แสงสว่ างทั่วไป (General Lighting)
ข) แสงสว่ างเฉพาะที่ (Localized Lighting)
ค) แสงสว่ างเฉพาะที่และทั่วไป (Local
Lighting + General Lighting)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ระบบการให้ แสงหลัก
ก) แสงสว่ างทั่วไป (General Lighting)
คือ การให้ แสงกระจายทั่วไปเท่ ากันทั้งบริเวณ
พืน้ ที่ใช้ งาน ซึ่งใช้ กบั การให้ แสงสว่ างไม่ มาก
เกินไป แสงสว่ างดังกล่าวไม่ ได้ เน้ นเรื่ องความ
สวยงามมากนัก ดังนั้นการประหยัดพลังงาน
สามารถทาได้ ในแสงสว่ างทั่วไปนี้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ระบบการให้ แสงหลัก
ข) แสงสว่ างเฉพาะที่ (Localized
Lighting) คือ การให้ แสงสว่ างเป็ นบางบริเวณ
เฉพาะที่ทางานเท่ านั้น เพือ่ การประหยัด
พลังงานไฟฟ้า โดยไม่ ต้องให้ สม่าเสมอเหมือน
แบบแรก
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ระบบการให้ แสงหลัก
การให้ แสงสว่ างเป็ นบางบริเวณเฉพาะที่
ทางานเช่ น การให้ แสงสว่ างจากฝ้ าเพดานโดย
ติดตั้งเฉพาะเหนือโต๊ ะหรือบริเวณใช้ งานให้ ได้
ความส่ องสว่ างตามต้ องการ การให้ แสงสว่ าง
ลักษณะนีป้ ระหยัดกว่ าแบบ ก) ข้ างต้ น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ระบบการให้ แสงหลัก
ค) แสงสว่ างเฉพาะที่และทั่วไป (Local
Lighting + General Lighting) คือ การให้ แสง
สว่ างทั้งแบบทั่วไปทั้งบริเวณ และเฉพาะที่ที่
ทางาน ซึ่งมักใช้ กบั งานที่ต้องการความส่ อง
สว่ างสู งซึ่งไม่ สามารถให้ แสงแบบแสงสว่ าง
ทั่วไปได้ เพราะเปลืองค่ าไฟฟ้ามาก
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ระบบการให้ แสงหลัก
แสงสว่ างเฉพาะที่และทั่วไป เช่ น การให้
แสงสว่ างจากฝ้ าเพดาน เพือ่ ส่ องบริเวณทั่วไป
และที่โต๊ ะทางานติดโคมตั้งโต๊ ะส่ องเฉพาะ
ต่ างหากเพือ่ ให้ ได้ ความส่ องสว่ างสู งมากตาม
ความต้ องการของงานระบบการให้ แสงสว่ างให้
มีความส่ องสว่ างเพียงพอตามมาตรฐานเพือ่
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การใช้ งานในแต่ ละพืน้ ที่น้ันๆ
การส่ องสว่ างภายใน
ระบบการให้ แสงรอง หมายถึงการให้ แสง
นอกเหนือจากการให้ แสงหลักเพือ่ ให้ เกิดความ
สวยงามเพือ่ ความสบายตา
หรือ การออกแบบให้ มีแสงสว่ างให้ เกิด
ความสวยงาม หรือเน้ นเพือ่ ให้ เกิดความสนใจ
สบายตา และอารมณ์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ระบบการให้ แสงรอง
ก) แสงสว่ างแบบส่ องเน้ น (Accent Lighting)
ข) แสงสว่ างแบบเอฟเฟค (Effect Lighting)
ค) แสงสว่ างตกแต่ ง (Decorative Lighting)
ง) แสงสว่ างงานสถาปัตย์ (Architectural
Lighting)
จ) แสงสว่ างตามอารมณ์ (Mood Lighting)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ระบบการให้ แสงรอง
ก) แสงสว่ างแบบส่ องเน้ น (Accent Lighting)
เป็ นการให้ แสงแบบส่ องเน้ นทีว่ ตั ถุใดวัตถุหนึ่ง
เพือ่ ให้ เกิดความสนใจ โดยทั่วไปแสงประเภทนี้
ได้ มาจากแสงสปอต
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ระบบการให้ แสงรอง
ข) แสงสว่ างแบบเอฟเฟค (Effect
Lighting) หมายถึงแสงเพือ่ สร้ างบรรยากาศที่
น่ าสนใจ แต่ ไม่ ได้ ส่องเน้ นวัตถุเพือ่ เรียกร้ อง
ความสนใจ เช่ นโคมที่ติดตั้งที่เพดานเพือ่ สร้ าง
รู ปแบบของแสงทีก่ าแพง เป็ นต้ น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ระบบการให้ แสงรอง
ค) แสงสว่ างตกแต่ ง (Decorative
Lighting) เป็ นแสงที่ได้ จากโคมหรือหลอดที่
สวยงามเพือ่ สร้ างจุดสนใจในการตกแต่ ง
ภายใน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ระบบการให้ แสงรอง
ง) แสงสว่ างงานสถาปัตย์ (Architectural
Lighting) บางทีกเ็ รียก Structural Lighting
ให้ แสงสว่ างเพือ่ ให้ สัมพันธ์ กบั งานทางด้ าน
สถาปัตยกรรม เช่ น การให้ แสงไฟจากหลืบ
การให้ แสงจากบังตา หรือการให้ แสงจากที่
ซ่ อนหลอด
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ระบบการให้ แสงรอง
จ) แสงสว่ างตามอารมณ์ (Mood Lighting)
แสงสว่ างประเภทนีไ้ ม่ ใช่ เทคนิคการให้ แสง
พิเศษแต่ อย่ างใด แต่ อาศัยการใช้ สวิตช์ หรือตัว
หรี่ไฟเพือ่ สร้ างบรรยากาศของแสงให้ ได้ ระดับ
ความส่ องสว่ างตามการใช้ งานที่ต้องการ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ระบบการให้ แสงสว่ างหลัก หมายถึงการให้
แสงสว่ างให้ เพียงพอเพือ่ การใช้ งาน เช่ น ห้ องทางาน
ต้ องให้ ความสว่ างที่โต๊ ะทางานให้ มีความส่ องสว่ าง
อย่ างน้ อยไม่ น้อยกว่ า 500 ลักซ์ เป็ นต้ น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
เมื่อได้ ความส่ องสว่ างที่โต๊ ะทางานแล้วบริเวณ
ที่เหลือ เช่ นการส่ องสว่ างที่ผ้าม่ านเพือ่ ให้ เกิดวงแสง
หรือรูปแบบของแสง หรือการส่ องสว่ างเน้ นทีต่ ้ นไม้
ทีป่ ลูกในกระถางภายในห้ องก็เป็ นแสงสว่ างรอง คือ
เป็ นการให้ แสงเพือ่ ความสวยงาม เป็ นต้ น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การให้ แสงสว่ างที่ดี ควรมีท้งั ระบบการให้ แสง
สว่ างหลักและแสงสว่ างรอง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การออกแบบระบบแสงสว่ าง
ในการออกแบบระบบไฟฟ้ าภายในอาคาร
การออกแบบระบบแสงสว่ างมักจะถูกออกแบบ
เป็ นลาดับแรกเสมอก่อนที่จะไปออกแบบระบบ
ไฟฟ้าในส่ วนอืน่ ต่ อไป โดยการออกแบบระบบ
แสงสว่ างนั้นจะต้ องเอาภาระโหลดของโคม
ไฟฟ้าไปรวมอยู่ในตารางโหลดด้ วยในการ
ออกแบบระบบแสงสว่ างสามารถ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การออกแบบระบบแสงสว่ าง
แบ่ งออกได้ เป็ น 2 แบบ คือ
1. การออกแบบระบบแสงสว่ างภายในอาคาร
2. การออกแบบระบบแสงสว่ างภายนอกอาคาร
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การออกแบบระบบแสงสว่ างภายในอาคาร
การออกแบบระบบแสงสว่ างภายใน
อาคาร ยังสามารถแยกแยะตามลักษณะของ
อาคารว่ าเป็ นอาคารที่ใช้ งานในลักษณะใด เช่ น
อาคารทีอ่ ยู่อาศัย , อาคารสานักงาน , อาคาร
พาณิชย์ หรือ อาคารอุตสาหกรรม ซึ่งจะมีผลต่ อ
การออกแบบ และการเลือกใช้ โคมไฟฟ้าให้
เหมาะสมกับลักษณะอาคารที่ใช้ งานนั้น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ผลของการออกแบบระบบแสงสว่ าง
1. ทางานได้ รวดเร็วขึน้
2. ลดข้ อบกพร่ องของงานให้ น้อยลง
3. ลดอุบัตเิ หตุในการทางานให้ น้อยลง
4. ระบบการทางานของกล้ามเนือ้ ตาดีขนึ้
5. ประหยัดค่ าไฟฟ้า
6. ลดความเครียดอันเกิดจากการเพ่งสายตา
7. ให้ ความสวยงามประทับใจผู้พบเห็น ฯลฯ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การคานวณในการออกแบบระบบแสงสว่ าง
สิ่ งที่เราต้ องการทราบคือ จานวนของดวง
โคม ที่จะติดตั้งภายในห้ องนั้น โดยชนิดของโคม
และชนิดของหลอดไฟฟ้าเราสามารถกาหนด
ชนิดได้ ด้วยตนเองตามความเหมาะสมของแต่
ละห้ องที่ต้องการออกแบบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การคานวณในการออกแบบระบบแสงสว่ าง
ซึ่งต้ องทราบค่ าของปริมาณความส่ อง
สว่ างทั้งหมดของห้ องตามมาตรฐานของ IES
เป็ นตัวกาหนดค่ ามาตรฐานของความส่ องสว่ าง
ของห้ องนั้นๆ ใน ตาราง (ในหน่ วย Lux หากใช้
ระยะเป็ น เมตร, ในหน่ วย fc หากใช้ ระยะเป็ น
ฟุต) หากต้ องการเปลีย่ นหน่ วยระหว่ าง Lux กับ
fc ก็สามารถทาได้ จากความสั มพันธ์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ลูเมน (Lumen)
=>
3
Lm
หมายถึง หน่ วยสาหรับวัดปริมาณแสง
(Luminous flux)ใช้ สัญลักษณ์ () ปริมาณ
แสงที่เปล่งออกจากดวงไฟมาตรฐาน 1 กาลัง
เทียน ส่ องไปตกใน 1 มุมตัน (Solid angle )
ในเวลา 1 วินาที ( วัดเฉพาะแสงช่ วงสายตา
มองเห็น ไม่ ใช่ พลังงานทั้งหมด )
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
1 ลูเมน
1 กาลังเทียน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ความเข้ มและความสว่ างของแสง
ความสว่ างบนพืน้ ที่รับแสงจะแปรผกผันกับ
ระยะทางที่ต้งั ฉากกับพืน้ ที่รับแสงยกกาลังสอง
1
E 2
R
ดังสมการ
กฎการส่ องสว่ าง
I
E 2
R
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
กฎการส่ องสว่ าง
การส่ องสว่ างที่ส่องบนพืน้ ผิววัตถุใด ๆ
ขึน้ อยู่กบั แหล่งกาเนิดแสงทีจ่ ุดกาเนิดส่ อง
มายังพืน้ ที่ต้องการอย่ างเพียง หรือ การส่ อง
สว่ างขึน้ อยู่กบั ความเข้ มของแหล่งกาเนิดแสง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ความเข้ มและความสว่ างของแสง
I
E
2
R
I
E
2
D
เมื่อ
E คือความสว่ างบนผิววัตถุ => ลักซ์ (lux)
I คือความเข้ มแห่ งการส่ องสว่ างของแหล่ง
กาเนิดแสง => แคนเดลล่า (cd)
R หรือ D คือระยะจากแหล่งกาเนิดแสงถึง
ผิวของวัตถุในทิศตั้งฉาก => เมตร (m)
E
I
R
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ความเข้ มและความสว่ างของแสง
ความเข้ มแห่ งการส่ องสว่ างจากแหล่งแสง
จะแปรค่ าเป็ นส่ วนผกผัน กับระยะทางที่ต้ังฉาก
กับพืน้ ที่รับแสงยกกาลังสอง
1
E 2
R
I
ดังสมการ E 2
R
บางตาราอาจใช้
กฎกาลังสองผกผัน
2
D
I
E
2
D
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
กฎกาลังสองผกผัน
ความเข้ มแห่ งการส่ องสว่ างจากแหล่งแสง
จะแปรค่ าเป็ นส่ วนผกผัน กับระยะทางที่ต้ังฉาก
กับพืน้ ที่รับแสงยกกาลังสอง
I
E
2
R
หรือ ฟุต-เทียน =
หรือ
I
E
D2
แคนเดลล่า
ระยะทางจากต้ นแสง2
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
กฎกาลังสองผกผัน
1ฟุต
1ฟุต
1ฟุต
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ความสว่ าง 1 ลักซ์
หมายถึงความสว่ างที่เกิดบนพืน้ ที่ 1
ตารางเมตร บนผิวทรงกลมที่มีรัศมี 1 เมตร
โดยแหล่งกาเนิดแสงเป็ นจุดขนาดความเข้ ม
แห่ งการส่ องสว่ าง 1 แคนเดลา และอยู่ทจี่ ุด
ศูนย์ กลางของทรงกลม
F
E
นั้น มีสมการว่ า
A
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ความสว่ าง 1 ลักซ์
F
E
A
เมื่อ
E คือความสว่ างบนผิววัตถุมี => ลักซ์ (lux)
F คือฟลักซ์ ส่องสว่ างที่ตกกระทบพืนท้ ที่
=> ลูเมนท (lm)
2
A คือพืนท้ ที่รับแสง =>ตารางเมตร(m )
และได้ ว่า 1 ลักซ์ = 1 ลูเมนทต่ อตารางเมตร
E
F
A
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
กาลังเทียนหรือแรงเทียน
1 กาลังเทียนมาตรฐาน หมายถึงกาลังส่ อง
สว่ างของเทียนไขมาตรฐานที่มีเส้ นผ่ าน
ศูนย์ กลางขนาด 7/8 นิว้ และใช้ ไส้ เทียนทีเ่ ผา
ไหม้ ได้ 120 เกรน (7.776 กรัม) ต่ อชั่วโมง
ปัจจุบัน หมายถึง แคนเดลล่า (Candela)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แคนเดลล่ า (Candela)
1 แคนเดลล่า คือ กาลังส่ องสว่ างที่เป็ น
1/60 เท่ าของกาลังส่ องสว่ างที่เปล่งออกมา
ทั้งหมด จากพืน้ ที่หนึ่งตารางเซนติเมตรของ
ทองคาขาว (Platinum) ณ จุดอุณหภูมเิ ยือก
แข็งของทองคาขาว คือ 2046 องศาเคลวิน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แคนเดลล่ า (Candela)
1 แคนเดลล่า คือ กาลังส่ องสว่ าง จาก
พืน้ ที่หนึ่งตารางเซนติเมตรของทอเลียม
ออกไซด์ (Thoriumoxide) ณ จุดอุณหภูมเิ ยือก
แข็ง 2046 องศาเคลวิน มีกาลังส่ องสว่ าง 60
กาลังเทียนสากล (I.C.P.)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตัวอย่ าง จงหาความเข้ มแห่ งการส่ องสว่ าง
เมื่อความสว่ าง 5 ลูเมน/ตารางฟุต ห่ างออกไป
10 ฟุต จากแหล่งแสงเป็ นมุม 60º
I * Cos
จากสูตร E
2
D
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
กฎของแลมเบิร์ตโคไซน์
L
I * Co sin e
E
2
D
10 ฟุต
h
A
30º
60º
B
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตัวอย่ าง จงหาความเข้ มแห่ งการส่ องสว่ าง เมือ่ ความ
สว่ าง 5 ลูเมน/ตารางฟุต ห่ างออกไป 10 ฟุต จากแหล่ ง
แสงเป็ นมุม 60º
= 30 º หรือ Cos =
E = 5 ลูเมน/ฟุต D = 10 ฟุต
I * Cos
E
D2
5 *102 * 2
I
3
3
2
I* 3
5 2
10 * 2
I = 578 แคนเดลล่ า
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตัวอย่ าง จงหาการส่ องสว่างใต้ หลอดและพืน้ ที่
ภายในวงกลมเส้ นผ่ าศูนย์ กลาง 3 ฟุต เมือ่
ความเข้ มแห่ งการส่ องสว่ าง 500 แคนเดลล่า
สู งจากพืน้ 20 ฟุต
I * Cos
จากสูตร E
2
D
เมื่อใต้ หลอดไฟมุมทีเ่ กิดแสง = 0 => Cos 0º = 1
I
E
2
D
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตัวอย่ าง จงหาการส่ องสว่ างใต้ หลอดและพืน้ ที่ภายใน
วงกลมเส้ นผ่ าศูนย์ กลาง 3 ฟุต เมือ่ ความเข้ มแห่ งการ
ส่ องสว่ าง 500 แคนเดลล่ า สู งจากพืน้ 20 ฟุต
จากสูตร
500
E
20 2
I *1
E
D2
500
E
400
2
ลู
เ
มน/ฟุ
ต
E 1.25
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตัวอย่ าง จงหาการส่ องสว่ างใต้ หลอดและพืน้ ที่ภายใน
วงกลมเส้ นผ่ าศูนย์ กลาง 3 ฟุต เมือ่ ความเข้ มแห่ งการ
ส่ องสว่ าง 500 แคนเดลล่ า สู งจากพืน้ 20 ฟุต
D
พื้นที่วงกลม 3 ฟุต
33
4
2
4
22 9
*
7 4
r
2
3.1423 * 2.25
7.0695
ลูเมน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตัวอย่ าง หลอดไฟ 2 ดวง ห่ างกัน 40 ฟุต
ความเข้ มแห่ งการส่ องสว่ าง 1000 แคนเดลล่ า
สู งจากพืน้ 15 ฟุต จงหาค่ าการส่ องสว่ างทีพนื้
ใต้ หลอดและที่พนื้ ระหว่ างหลอดทั้งสอง
L1
L2
15 ฟุต
A
40 ฟุต
B
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตัวอย่ าง หลอดไฟ 2 ดวง ห่ างกัน 40 ฟุต ความเข้ ม
แห่ งการส่ องสว่ าง 1000 แคนเดลล่ า สู งจากพืน้ 15 ฟุต
จงหาค่ าการส่ องสว่ างทีพนื้ ใต้ หลอดและทีพ่ ืน้ ระหว่ าง
หลอดทั้งสอง
L1
L2
15 ฟุต
A
40 ฟุต
B
ระยะทางจาก L1 ถึงจุด B เท่ากับ L2 ถึงจุด A
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตัวอย่ าง หลอดไฟ 2 ดวง ห่ างกัน 40 ฟุต ความเข้ ม
แห่ งการส่ องสว่ าง 1000 แคนเดลล่ า สู งจากพืน้ 15 ฟุต
จงหาค่ าการส่ องสว่ างทีพนื้ ใต้ หลอดและทีพ่ ืน้ ระหว่ าง
หลอดทั้งสอง
L1
L2
15Aฟุต
B
40 ฟุต
ระยะทางจาก L1 ถึงจุด B เท่ากับ L2 ถึงจุด A
L1, B =
402 152
42 .7
ฟุต
1600 225
1825
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตัวอย่ าง หลอดไฟ 2 ดวง ห่ างกัน 40 ฟุต ความเข้ ม
แห่ งการส่ องสว่ าง 1000 แคนเดลล่ า สู งจากพืน้ 15 ฟุต
จงหาค่ าการส่ องสว่ างทีพนื้ ใต้ หลอดและทีพ่ ืน้ ระหว่ าง
หลอดทั้งสอง
L1
L2
15Aฟุต
B
40 ฟุต
ระยะทางจาก L1 ถึงจุด B เท่ากับ L2 ถึงจุด A
COS L1 = COS L2
15
42 .7
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตัวอย่ าง หลอดไฟ 2 ดวง ห่ างกัน 40 ฟุต ความเข้ ม
แห่ งการส่ องสว่ าง 1000 แคนเดลล่ า สู งจากพืน้ 15 ฟุต
จงหาค่ าการส่ องสว่ างทีพนื้ ใต้ หลอดและทีพ่ ืน้ ระหว่ าง
หลอดทั้งสอง
L1
L2
15Aฟุต
B
40 ฟุต
1000
ค่ าการส่ องสว่ างทีจ่ ุด A ใต้ หลอด L1 2
15
= 4.444 ลูเมน/ ฟุต
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตัวอย่ าง หลอดไฟ 2 ดวง ห่ างกัน 40 ฟุต ความเข้ ม
แห่ งการส่ องสว่ าง 1000 แคนเดลล่ า สู งจากพืน้ 15 ฟุต
จงหาค่ าการส่ องสว่ างทีพนื้ ใต้ หลอดและทีพ่ ืน้ ระหว่ าง
หลอดทั้งสอง
L1
L2
15Aฟุต
B
40 ฟุต
ค่ าการส่ องสว่ างทีจ่ ุด A หลอด L2
1000 15
*
2
15 42.7
3
= 0.193 ลูเมน/ ฟุต
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตัวอย่ าง หลอดไฟ 2 ดวง ห่ างกัน 40 ฟุต ความเข้ ม
แห่ งการส่ องสว่ าง 1000 แคนเดลล่ า สู งจากพืน้ 15 ฟุต
จงหาค่ าการส่ องสว่ างทีพนื้ ใต้ หลอดและทีพ่ ืน้ ระหว่ าง
หลอดทั้งสอง
L1
L2
15Aฟุต
B
40 ฟุต
ค่ าการส่ องสว่ างทีจ่ ุด A หลอด L1+L2
4.444+ 0.193 = 4.637 ลูเมน/ ฟุต
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตัวอย่ าง หลอดไฟ 2 ดวง ห่ างกัน 40 ฟุต ความเข้ ม
แห่ งการส่ องสว่ าง 1000 แคนเดลล่ า สู งจากพืน้ 15 ฟุต
จงหาค่ าการส่ องสว่ างทีพนื้ ใต้ หลอดและทีพ่ ืน้ ระหว่ าง
หลอดทั้งสอง
L1
L2
15Aฟุต
B
40 ฟุต
ค่ าการส่ องสว่ างทีจ่ ุด กึงกลาง หลอด L1+L2
20 15
2
2
COS L1 =
400 225
15
0.6
25
625 25
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตัวอย่ าง หลอดไฟ 2 ดวง ห่ างกัน 40 ฟุต ความเข้ ม
แห่ งการส่ องสว่ าง 1000 แคนเดลล่ า สู งจากพืน้ 15 ฟุต
จงหาค่ าการส่ องสว่ างทีพนื้ ใต้ หลอดและทีพ่ ืน้ ระหว่ าง
หลอดทั้งสอง
L1
L2
15Aฟุต
B
40 ฟุต
ค่ าการส่ องสว่ างทีจ่ ุด กึงกลาง หลอด L1+L2
1000
3
2 * 2 * 0.6
15
= 1.92
2
ลูเมน/ฟุต
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การให้ แสงสว่ างระบบการผลิตดวงโคม
- การให้ แสงทางตรง
- การให้ แสงกึง่ ทางตรง
- การให้ แสงกระจายรอบทิศทาง
- การให้ แสงกึง่ ทางอ้อม
- การให้ แสงทางอ้อม
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การให้ แสงสว่ างระบบการผลิตดวงโคม
- การให้ แสงทางตรง (Direct Lighting)
ดวงโคมเป็ นทึบครอบไว้ ด้านบน บังคับแสง
ให้ ลงสู่ ข้างล่างหมด แสงลงสู่ พนื้ 90 - 100 %
มีข้อเสี ยคือ ทาให้ เกิดเงาและทาให้ เกิด การระคาย
เคืองตา ลักษณะการให้ แสงแบบนี้ เช่ นโคมอ่าน
หนังสื อ ไฟเคาน์ เตอร์ ต่าง ๆ โต๊ ะสนุกเกอร์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การให้ แสงทางตรง (Direct Lighting)
90 - 100 %
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การให้ แสงทางตรง (Direct Lighting)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การให้ แสงทางตรง (Direct Lighting)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การให้ แสงสว่ างระบบการผลิตดวงโคม
- การให้ แสงกึง่ ทางตรง (Semi - direct Lighting)
แสงจะส่ องลงสู่ ข้างล่ าง 60 - 90%
และส่ องขึน้ ข้ างบน 10 - 40 % ส่ วนใหญ่ จะเป็ น
โคมประเภทแขวนในห้ องต้ องเป็ นเพดานสู ง
สาหรับแขวนดวงโคมไว้ เช่ น โบสถ์ วิหาร
หอประชุม การให้ แสงแบบนีจ้ ะทาให้ เกิดการ
ระคายเคืองตา จะแก้ด้วยใช้ แผ่ นกรองแสงปิ ด
หน้ าดวงโคม
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การให้ แสงกึง่ ทางตรง (Semi - direct Lighting)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การให้ แสงกึง่ ทางตรง (Semi - direct Lighting)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การให้ แสงกึง่ ทางตรง (Semi - direct Lighting)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การให้ แสงสว่ างระบบการผลิตดวงโคม
- การให้ แสงกระจายรอบทิศทาง (General
diffuse Lighting)
การให้ แสงแบบนีแ้ สงกระจายลงสู่ ข้างล่ าง
40 - 60 % ส่ วนที่เหลือจะกระจายขึน้ ข้ างบน
หรือออกข้ าง ๆ ไป กระจายรอบ ๆ ดวงไฟ โคมจะ
ทาจากพลาสติกหรือแก้ว ส่ วนมากจะใช้ เป็ นโคม
ไฟประดับ ชนิดหลอดไส้ ในงานตกแต่ งทั่วไป
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การให้ แสงกระจายรอบทิศทาง
(General diffuse Lighting)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การให้ แสงกระจายรอบทิศทาง
(General diffuse Lighting)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การให้ แสงกระจายรอบทิศทาง
(General diffuse Lighting)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การให้ แสงสว่ างระบบการผลิตดวงโคม
- การให้ แสงกึง่ ทางอ้อม (Semi direct Lighting)
การให้ แสงแบบนีจ้ ะคล้ายลักษณะของการ
ให้ แสง แบบทางตรงและอ้อมพร้ อมกัน โดย
แสงจะสะท้ อนขึน้ บน กับลงข้ างล่างใกล้ เคียง
กัน 40 - 60 % ส่ วนใหญ่ จะเป็ นโคมไฟแบบ
แขวนใช้ ใน ออฟฟิ ต หรือสานักงาน ที่ต้องการ
ความสบายตาในการทางาน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การให้ แสงกึง่ ทางอ้ อม
(Semi direct Lighting)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การให้ แสงกึง่ ทางอ้ อม
(Semi direct Lighting)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การให้ แสงกึง่ ทางอ้ อม
(Semi direct Lighting)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การให้ แสงสว่ างระบบการผลิตดวงโคม
- การให้ แสงทางอ้อม (Indirect Lighting)
แสงไม่ ส่องลงมาสู่ พนื้ โดยตรง โดยแสงส่ อง
ขึน้ ไปข้ างบนเพดานก่อน 90 - 100 % แล้ว
สะท้ อนลงสู่ ข้างล่าง โดยส่ วนด้ านล่างของโคมไฟ
จะถูกปิ ดทึบและเปิ ดด้ านบนไว้ ข้ อดีของการให้
แสงแบบนีค้ อื จะไม่ เคืองตา และทาให้ เกิดเงาน้ อย
ส่ วนมากใช้ กบั ห้ องพิมพ์ดดี ห้ องเขียนแบบ และ
โรงงานอุตสาหกรรม
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การให้ แสงทางอ้ อม (Indirect Lighting)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การให้ แสงทางอ้ อม (Indirect Lighting)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การให้ แสงทางอ้ อม (Indirect Lighting)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ชนิดพืน้ ที่
Em LUX UGRL Ra(min)
1. พืน้ ที่ภายในอาคารทั่วไป
โถงทางเข้าอาคาร
100
22
60
โถงนัง่ พัก
200
22
80
พื้นที่ทางเดินภายในอาคาร100
28
40
บันได บันไดเลื่อน ทางเลื่อน 150
25
40
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วิธีการออกแบบระบบแสงสว่ างภายในอาคาร
แบ่ งได้ 2 วิธีคอื
1. คานวณวิธีลูเมนต์ (Lumen Method)
- Zonal Cavity Method
- Room Index Method (Room Ratio Method)
2. คานวณวิธีจุดต่ อจุด (Point By Point Method)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การคานวณวิธีลูเมนแบบ
Zonal Cavitity Method
ค่ าความส่ องสว่ างรวมทังหมดของห้ อง
สามารถหาได้ จากสมการ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การคานวณวิธีลูเมนแบบ
Zonal Cavitity Method
จานวนดวงโคมที่ต้องการใช้ ภายในห้ อง สามารถ
หาได้ จากสมการ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
TL = ค่ าฟลักซ์ ส่องสว่ างรวมของห้ อง
(Lumen) (TL=Total Luminaire)
E = ค่ าปริมาณความส่ องสว่างตามมาตรฐาน
IES (Lux ; fc) ดูตารางที่ 1
A = พืน้ ที่ของห้ องที่ออกแบบ กว้ าง x ยาว
(ตารางเมตร ; ตารางฟุต)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
CU = ค่ าสั มประสิ ทธิ์การใช้ ประโยชน์
(Coefficient of Utilization)
ดูตารางที่ 3 หรือ กาหนดค่ าโดยการประมาณค่ า
LLD = ค่ าความเสื่ อมของหลอดไฟ (Lamp
Lumen Depreciation)
ดูคู่มอื ของหลอดไฟฟ้าจากโรงงานผู้ผลิต
สมการที่ 1
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การเปลีย่ นหน่ วยระหว่ าง Lux กับ fc
1 Lux = 0.0929 fc
1 fc = 10.76 Lux
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ความเสื่ อมของหลอดไฟฟ้า (LLD)
ค่ าปริมาณจานวนเส้ นแรงของแสงสว่ างเฉลีย่ (ลูเมน)
ค่ าปริมาณจานวนเส้ นแรงของแสงสว่ างเริ่มแรก (ลูเมน)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ค่ าความเสื่ อมจากความสกปรกของดวงโคม
(Luminaire Dirt Depreciation) (LDD)
เมื่อเราใช้ดวงโคมไฟฟ้ านั้นไปนาน ๆ มันก็จะ
เริ่ มมีการสะสมของฝุ่ นละอองมากขึ้น ซึ่งจะมีผลทาให้
ขีดความสามารถในการสะท้อนแสงน้อยลงไป โคมแต่
ละชุดนั้นจะมีการสะสมฝุ่ นละอองมากหรื อน้อยขึ้นอยู่
กับสภาพของห้องที่ทาการติดตั้งโคมนั้น ซึ่ งเราเรี ยกว่า
ค่าความเสื่ อมจากความสกปรกของดวงโคม
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ค่ าความเสื่ อมจากความสกปรกของดวงโคม
(Luminaire Dirt Depreciation) (LDD)
การหาค่ า LDD นั้นสามารถหาได้ จากกราฟที่ 1 ซึ่ง
เป็ นกราฟแสดงค่ าความเสื่ อมจากความสกปรกของ
ดวงโคม ทีม่ ีอยู่ 6 กราฟ ตามประเภทของโคมไฟฟ้า
การหาค่ าต้ องพิจารณาชนิดของ ดวงโคมว่ าอยู่ใน
ประเภทไหน และพิจารณาว่ าห้ องที่ตดิ ตั้งโคมชนิด
นั้นมีสภาพบรรยากาศของห้ องและระยะเวลาในการ
ทาความสะอาดของห้ องนั้น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
เมื่อเราหาค่ าได้ ครบแล้วเราก็จะสามารถหา
จานวนดวงโคมที่ต้องการติดตั้งภายในห้ องที่
ออกแบบระบบแสงสว่ างได้ หากจานวนของดวง
โคมไฟฟ้ามีจานวนที่ไม่ สามารถจัดลงให้ ห้องแล้ว
ทาให้ เกิดความสวยงามได้ เราสามารถที่จะเพิม่
จานวนดวงโคมให้ มากขึน้ ได้ อกี 1 ดวงโคมได้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การส่ องสว่ างในบ้ านอยู่อาศัย
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การส่ องสว่ างในบ้ านอยู่อาศัย
การส่ องสว่ างภายในบ้ านอยู่อาศัย อพาร์ ตเมนต์
และโรงแรม
ไม่ จาเป็ นต้ องให้ มีแสงสว่ าง
สม่าเสมอ การให้ แสงสว่ างต้ องระวังในเรื่องของ
ความสวยงามประกอบด้ วย เพราะบางครั้งการ
เน้ นในเรื่องของการประหยัดพลังงานอาจทาให้
เกิดการสู ญเสี ยในเรื่องของความสวยงามด้ วย
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การส่ องสว่ างในบ้ านอยู่อาศัย
การเน้ นทางด้ านการประหยัดพลังงานมากเกินไป
อาจทาให้ เกิดการสู ญเสี ยในเรื่องความสวยงาม
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การส่ องสว่ างในบ้ านอยู่อาศัย
การส่ องสว่ างภายในบ้ านอยู่อาศัย อพาร์ ต
เมนต์ และโรงแรมควรให้ แสงแบบอบอุ่น ดังนั้น
ส่ วนใหญ่ จึงใช้ แสงสี เหลืองจากหลอดอินแคนเดส
เซนต์ ฮาโลเจน หรือหลอดคอมแพคท์ แบบวอร์ ม
ไวท์ (Warm White) เพราะมีสีเหลืองคล้ายกัน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การส่ องสว่ างในบ้ านอยู่อาศัย
หลอดคอมแพคท์ ฟลูออเรสเซนต์ ถือว่ าเป็ น
หลอดประหยัดพลังงานแสงสว่ างแทนหลอดอิน
แคนเดสเซนต์ หรือฮาโลเจนได้ แต่ อาจต้ อง
ระวังคือ หลอดคอมแพคท์ ไม่ สามารถทาเป็ นไฟ
ส่ องเน้ นได้ ดเี หมือนหลอดอินแคนเดสเซนต์
เพราะแหล่งกาเนิดแสงมีขนาดใหญ่
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การส่ องสว่ างในบ้ านอยู่อาศัย
กรณีที่เป็ นทางเดินหรือใช้ ภายนอกซึ่งต้ องมีการ
เปิ ดไฟแสงสว่ างทิง้ ไว้ ท้งั คืนก็ควรใช้ หลอด
คอมแพคท์ ฟลูออเรสเซนต์ หรือฟลูออเรสเซนต์
เพราะอายุการใช้ งานนานกว่ าหลอดมีไส้ ถงึ 4-8
เท่ า
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การส่ องสว่ างในบ้ านอยู่อาศัย
แสงจากหลอดทีใ่ ห้ แสงสี เหลืองดูน่าอบอุ่นสาหรับบ้ าน และ โรงแรม
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การส่ องสว่ างในบ้ านอยู่อาศัย
ความส่ องสว่ างโดยทั่วไปที่ใช้ ในบ้ านอยู่
อาศัย อพาร์ ตเมนต์ และ โรงแรมใช้ ประมาณ
100-200 ลักซ์ สาหรับพืน้ ที่ทั่วๆไป
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การส่ องสว่ างในบ้ านอยู่อาศัย
ความส่ องสว่างพืน้ ที่ต่างๆในบ้ านอยู่
อาศัยและพืน้ ที่ข้างเคียงกาหนดไว้ เพือ่ ใช้ เป็ น
แนวทางในการให้ แสงสว่ างดังแสดงในตาราง
และ ความสั มพันธ์ ระหว่ างความส่ องสว่างใน
พืน้ ที่ทางาน และ พืน้ ที่ข้างเคียงได้ กาหนดไว้
ในตาราง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
เทคนิคการให้ แสงสว่ างในบ้ าน
ก) การใช้ โคมไฟส่ องลง
ข) การให้ แสงสว่ างจากไฟหลืบ
ค) การให้ แสงสว่ างในห้ องนา้
ง) การให้ แสงสว่ างในห้ องครัว
จ) การให้ แสงในห้ องนอน
ฉ) การให้ แสงสว่ างทางเดิน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การส่ องสว่ างในบ้ านอยู่อาศัย
· แสงจากหลอดทีใ่ ห้ แสงสี เหลืองดูน่าอบอุ่น
สาหรับบ้ านและโรงแรม
· ความส่ องสว่ างสาหรับพืน้ ที่ทั่วไปใช้ 100 200 ลักซ์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การส่ องสว่ างในบ้ านอยู่อาศัย
· โคมไฟส่ องลงหลอดGLS 100 วัตต์ ทคี่ วามสู ง
ฝ้ า 2.4 - 2.7 เมตร ติดตั้งห่ างกันทุกๆ ระยะ 2 2.5 เมตร ให้ ความส่ องสว่ างที่พนื้ เฉลีย่ 100 ลักซ์
· ไม่ ควรใช้ ไฟเกินกว่ า 80 % ของอัตราสวิตช์ หรี่
ไฟ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การส่ องสว่ างในบ้ านอยู่อาศัย
· การใช้ โคมไฟระย้ าควรมีโคมไฟชนิดอืน่ ช่ วย
ให้ แสงหลักด้ วยเพือ่ ลดเงาที่เกิดเนื่อง
จากโคมไฟระย้ า
· โคมระย้ าใช้ 20 -25 วัตต์ /ตารางเมตร/ 100
ลักซ์ และควรติดตั้งสวิตช์ ไฟหรี่ด้วย
· การใช้ โคมไฟระย้ าควรระวัง ความสู งฝ้ า และ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นาหนักโคมระย้ า
การส่ องสว่ างในบ้ านอยู่อาศัย
· โคมระย้ าใช้ ขนาดประมาณ 1/12 ของเส้ น
ทะแยงมุมห้ อง
· ช่ องเปิ ดไฟหรืบควรมีขนาดอย่ างน้ อย 1/10
ของขนาดเบ้ า
· ไฟหรืบฟลูออเสเซนต์ ใช้ 8 - 12 วัตต์ /ตาราง
เมตร/ 100 ลักซ์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การส่ องสว่ างในบ้ านอยู่อาศัย
· การให้ แสงสว่ างจากหรืบเพือ่ ส่ องสว่ างพืนที่
ควรมีเพดานสี ขาวหรือสีอ่อน
มิฉะนั้นแล้วแสงจากไฟหลืบที่เพดานเป็ นสี ทึบ
ก็เป็ นเพียงไฟตกแต่ งเท่ านั้น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตาราง ความส่ องสว่ างสาหรับสิ นค้ า
ในห้ างสรรพสิ นค้ าสั มพันธ์ กบั คุณภาพแสง
รายละเอียด
ลักซ์
องศาเคลวิน
อาหารกระป๋ อง
500
เนือ้
ปลา
ขนม
300
500
500
3000/50
00
3000
4000
3000/33
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตาราง ความส่ องสว่ างสาหรับสิ นค้ า
ในห้ างสรรพสิ นค้ าสั มพันธ์ กบั คุณภาพแสง
รายละเอียด
ดอกไม้
เครื่องเขียน
เฟอร์ นิเจอร์
เครื่องครัว
ลักซ์
750
500
500
500
องศาเคลวิน
4000
3000
3000
3000/500
0นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตาราง ความส่ องสว่ างสาหรับสิ นค้ า
ในห้ างสรรพสิ นค้ าสั มพันธ์ กบั คุณภาพแสง
รายละเอียด
ของเล่ น
ยา
เครื่องสาอาง
ลักซ์
500
องศาเคลวิน
3000/400
0
300/500 3000/400
0
500 3000/400
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตาราง ความส่ องสว่ างสาหรับสิ นค้ า
ในห้ างสรรพสิ นค้ าสั มพันธ์ กบั คุณภาพแสง
รายละเอียด
เครื่องหนัง
ผ้ า
รถยนต์
เครื่องตกแต่ งบ้ าน
พืน้ ที่ทางเดิน
ลักซ์
500
500
1000
200
50
องศาเคลวิน
3000
3300
4000
2600
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
2600/400
ตาราง ความส่ องสว่ างสาหรับสิ นค้ า
ในห้ างสรรพสิ นค้ าสั มพันธ์ กบั คุณภาพแสง
รายละเอียด
ลักซ์
องศาเคลวิน
ที่จอดรถ
50
2600
สวน
50/150
4000
บริเวณขนถ่ ายสิ นค้ า
150 2600/400
0
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตาราง ความส่ องสว่ างในพืน้ ทีใ่ ช้ งานต่ างๆในบ้ านอยู่อาศัย
พืน้ ที่ต่างๆ
ความส่ องสว่ าง ความส่ องสว่ าง
ที่พนื้ ที่(ลักซ์ ) รอบข้ าง(ลักซ์ )
ทางเข้ า
150/500 60/100
ห้ องครัว
500/750 250/350
ห้ องรับประทานอาหาร 300
100
ห้ องนั่งเล่ น
60/300
60
ห้ องทางาน
300
150
ห้ องน้า
500
200
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตาราง ความส่ องสว่ างในพืน้ ทีใ่ ช้ งานต่ างๆในบ้ านอยู่อาศัย
พืน้ ที่ต่างๆ
ห้ องน้าแขก
ห้ องเปลีย่ นเสื้อผ้ า
ห้ องนอนใหญ่
ห้ องนอนเด็ก
ทางเดิน
บันได
ถนนทางเข้ าบ้ าน
ความส่ องสว่ าง ความส่ องสว่ าง
ที่พนื้ ที่(ลักซ์ ) รอบข้ าง(ลักซ์ )
250
100
500
200
300/500 100/150
300
150
150
50
200
60
300
100
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตาราง ความสมดุลระหว่ างความส่ องสว่ าง
ของพืน้ ที่ใช้ งานและข้ างเคียง
รายการ
ค่ าที่ต้องการ ค่ าต่าสุ ด
พืน้ ที่ตดิ กับพืน้ ใช้ ทางาน 1/3
พืน้ ที่รอบข้ าง
1/5
1/5
1/10
ของพืน้ ที่ใช้ งาน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตาราง กาลังไฟฟ้ าสาหรับความสู งฝ้ า 4 เมตร ที่ 500 ลักซ์
แสงสว่ างเนื่องจากชนิดหลอดต่ างๆ วัตต์ ต่อตารางเมตร
อินแคนเดสเซนต์ - ไฟส่ องโดยตรง
55
- ไฟส่ องโดย
110
ทางอ้ อม
ฟลูออเรสเซนต์ - ไฟส่ องโดยตรง
- ไฟส่ องโดยทางอ้ อม
เมททัลฮาไลด์
- ไฟส่ องโดยตรง
-
ไฟส่ องโดย
18
36
13
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
26
ตาราง ความส่ องสว่ าง(ลักซ์ )ทีต่ ้ ูแสดงเทียบ
กับสภาพถนนด้ านหน้ า
ชนิดถนน ใจกลางเมือง ตัวเมือง ต่ างจังหวัด
300/700 200/5 150/300
00
ถนนสาคัญ 700/1000 500/7 400/600
50
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ถนนใหญ่ 1000/700 750/5 600/100
ถนนย่ อย
ตาราง ความส่ องสว่ างทั่วไปในท
ห้ างสรรพสินทค้ า
รายละเอียด
ความส่ องสว่ าง ความส่ อง
(ลักซ์ )
สว่ าง(ลักซ์ )
500-1000
300-500
แสงสว่ างทั่วไปในท
ร้ านทค้ า
ส่ องเนท้ นทในทร้ านทค้ า 1500-3000
แสงสว่ างทั่วไปในทตู้ 1000-2000
กระจก
ส่ องเนท้ นทในทตู้กระจก 5000-10000
750-1500
500-1000
3000-5000
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
ถนนเลียบวัง ตาบลหัวหิน
อาเภอหัวหิน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
77110
โทรศัพท์ 520500-520481(032)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สอบถามข้ อสงสั ยได้ ที่
แผนกช่ างไฟฟ้า
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
ถนนเลียบวัง อาเภอหัวหิน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77110
โทร.(032)520500 , 520481
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ