การส่องสว่างและการนำไปใช้งาน3

Download Report

Transcript การส่องสว่างและการนำไปใช้งาน3

การส่ องสว่ าง
เสนอ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายร่ ุงโรจน์ หนูขลิบ
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
มาตรฐานรายวิชา
1. เข้ าใจแหล่งกาเนิดแสงและคุณสมบัตขิ องแสง
2. หาความเข้ มการส่ องสว่างตามสถานที่ใช้ งาน
3. เลือกชนิดของหลอดและดวงโคม
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
เนือ้ หาสาระ
การส่ องสว่ างภายในอาคารสานักงาน
บ้ านอยู่อาศัย โรงแรม โรงพยาบาล โรงเรียน
สามารถประหยัดพลังงานแสงสว่ างได้ มาก
เมื่อเทียบกับการส่ องสว่ างภายในอย่ างอืน่ การ
ส่ องสว่ างภายในอาคารมีความสาคัญมาก
เพราะ มีผลต่ อประสิ ทธิภาพของงาน และ
สุ ขภาพ ของผลใช้ งาน หรือผู้ปฏิบัตงิ านนายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
เนือ้ หาสาระ
การส่ องสว่ างภายในอาคารมีความสาคัญ
สองประการ คือ การให้ แสงสว่ างเพือ่ ใช้ งานได้
สะดวกสบาย และ การให้ แสงเพือ่ ให้ เกิดความ
สวยงาม ไม่ ว่าจะเป็ นการส่ องสว่ างแบบใดก็
ตามก็ต้องคานึงถึงการประหยัดพลังงานแสง
สว่ างด้ วยสาหรับในยุคปัจจุบันทีพ่ ลังงาน
ไฟฟ้าเป็ นสิ่ งจาเป็ นและหายากยิง่
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
จุดประสงค์ ครั้งนี้
เพือ่ ให้ มคี วามรู้ ความเข้ าใจ และ
สามารถนาไปใช้ ได้ เกีย่ วกับ
1. บอกความหมายของการส่ องสว่างและการ
นาไปใช้ งานได้
2. บอกความเหมาะสมการส่ องสว่ างและการ
นาไปใช้ งานได้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
จุดประสงค์ ครั้งนี้
เพือ่ ให้ มคี วามรู้ ความเข้ าใจ และ
สามารถนาไปใช้ ได้ เกีย่ วกับ
3. บอก ชนิด ขนาด รู ปแบบ การส่ องสว่ าง
และการนาไปใช้ งานได้
4. หลักการการส่ องสว่ างและการนาไปใช้ งาน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
รายการสอน
1.
2.
3.
4.
5.
การส่ องสว่ างและการนาไปใช้ งาน
การคานวณกาลังไฟฟ้า
แสงสว่ างสาหรับอาคารชนิดต่ างๆ
หลักการให้ แสงสว่ างภายในอาคาร
แสงสว่ างในที่ทางาน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
รายการสอน
6. การจัดวางตาแหน่ งดวงโคม
7. การออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าใน
อาคาร
8. การส่ องสว่ างภายนอกอาคาร
9. การออกแบบไฟฟ้าสนามกีฬากลางแจ้ ง
10. ไฟส่ องป้ ายโฆษณา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สังคม/เศรษฐกิจ/วัฒนธรรม/สิง่ แวดล้อม
สมดุล/พร้อมรับต่อการเปลีย่ นแปลง
นาสู่
พอประมาณ
ทางสายกลาง
 พอเพียง
มีเหตุผล
เงือ่ นไขความรู ้
รอบรู ้ รอบคอบ ระมัดระวัง
มีภูมิคุม้ กัน
เงือ่ นไขคุณธรรม
ซื่อสัตย์สุจริต อดทน เพียร มีสติ ปั ญญา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ... วิศวกรรมการส่องสว่าง ....
ชื่อผู้แต่ ง..... มงคล ทองสงคราม .....
สานักพิมพ์ ..... ซีเอ็ดยูเคชั่น จากัด......
ปี ทีพ่ มิ พ์ ....2538........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ... วิศวกรรมการส่องสว่าง ....
ชื่อผู้แต่ ง..... ศุลี บรรจงจิตร .....
สานักพิมพ์ ..... ซีเอ็ดยูเคชั่น จากัด......
ปี ทีพ่ มิ พ์ ....2538........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ... พื้นฐานวิศวกรรมการส่องสว่าง ....
ชื่อผู้แต่ ง..... อ.ไชยะ แช่ มช้ อย .....
สานักพิมพ์ .....เอ็มแอนด์ อี จากัด........
ปี ทีพ่ มิ พ์ ....2550........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ..การส่ องสว่าง..
ชื่อผู้แต่ ง.....วิทย์ อ้นจร และคณะ.....
สานักพิมพ์ ..... ศูนย์ ส่งเสริมวิชาการ........
ปี ที่พมิ พ์ ....2549........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ..การส่ องสว่ าง..
ชื่อผู้แต่ ง.....วัฒนา ถาวร .....
สานักพิมพ์ ... สมาคมส่ งเสริมเทคโนโลยี่
(ไทยญี่ปุ่น)....
ปี ที่พมิ พ์ ....2536........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การออกแบบระบบแสงสว่ าง
ในการออกแบบระบบไฟฟ้ าภายในอาคาร
การออกแบบระบบแสงสว่ างมักจะถูกออกแบบ
เป็ นลาดับแรกเสมอก่อนที่จะไปออกแบบระบบ
ไฟฟ้าในส่ วนอืน่ ต่ อไป โดยการออกแบบระบบ
แสงสว่ างนั้นจะต้ องเอาภาระโหลดของโคม
ไฟฟ้าไปรวมอยู่ในตารางโหลดด้ วยในการ
ออกแบบระบบแสงสว่ างสามารถ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การออกแบบระบบแสงสว่ าง
แบ่ งออกได้ เป็ น 2 แบบ คือ
1. การออกแบบระบบแสงสว่ างภายในอาคาร
2. การออกแบบระบบแสงสว่ างภายนอกอาคาร
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การออกแบบระบบแสงสว่ างภายในอาคาร
การออกแบบระบบแสงสว่ างภายใน
อาคาร ยังสามารถแยกแยะตามลักษณะของ
อาคารว่ าเป็ นอาคารที่ใช้ งานในลักษณะใด เช่ น
อาคารทีอ่ ยู่อาศัย , อาคารสานักงาน , อาคาร
พาณิชย์ หรือ อาคารอุตสาหกรรม ซึ่งจะมีผลต่ อ
การออกแบบ และการเลือกใช้ โคมไฟฟ้าให้
เหมาะสมกับลักษณะอาคารที่ใช้ งานนั้น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ผลของการออกแบบระบบแสงสว่ าง
1. ทางานได้ รวดเร็วขึน้
2. ลดข้ อบกพร่ องของงานให้ น้อยลง
3. ลดอุบัตเิ หตุในการทางานให้ น้อยลง
4. ระบบการทางานของกล้ามเนือ้ ตาดีขนึ้
5. ประหยัดค่ าไฟฟ้า
6. ลดความเครียดอันเกิดจากการเพ่งสายตา
7. ให้ ความสวยงามประทับใจผู้พบเห็น ฯลฯ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การคานวณในการออกแบบระบบแสงสว่ าง
สิ่ งที่เราต้ องการทราบคือ จานวนของดวง
โคม ที่จะติดตั้งภายในห้ องนั้น โดยชนิดของโคม
และชนิดของหลอดไฟฟ้าเราสามารถกาหนด
ชนิดได้ ด้วยตนเองตามความเหมาะสมของแต่
ละห้ องที่ต้องการออกแบบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การคานวณในการออกแบบระบบแสงสว่ าง
ซึ่งต้ องทราบค่ าของปริมาณความส่ อง
สว่ างทั้งหมดของห้ องตามมาตรฐานของ IES
เป็ นตัวกาหนดค่ ามาตรฐานของความส่ องสว่ าง
ของห้ องนั้นๆ ใน ตาราง (ในหน่ วย Lux หากใช้
ระยะเป็ น เมตร, ในหน่ วย fc หากใช้ ระยะเป็ น
ฟุต) หากต้ องการเปลีย่ นหน่ วยระหว่ าง Lux กับ
fc ก็สามารถทาได้ จากความสั มพันธ์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การเปลีย่ นหน่ วยระหว่ าง Lux กับ fc
1 Lux = 0.0929 fc
1 fc = 10.76 Lux
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วิธีการออกแบบระบบแสงสว่ างภายในอาคาร
แบ่ งได้ 2 วิธีคอื
1. คานวณวิธีลูเมนต์ (Lumen Method)
- Zonal Cavity Method
- Room Index Method (Room Ratio Method)
2. คานวณวิธีจุดต่ อจุด (Point By Point Method)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การคานวณวิธีลูเมนแบบ
Zonal Cavitity Method
ค่ าความส่ องสว่ างรวมทังหมดของห้ อง
สามารถหาได้ จากสมการ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การคานวณวิธีลูเมนแบบ
Zonal Cavitity Method
จานวนดวงโคมที่ต้องการใช้ ภายในห้ อง สามารถ
หาได้ จากสมการ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
CU = ค่ าสั มประสิ ทธิ์การใช้ ประโยชน์
(Coefficient of Utilization)
ดูตารางที่ 3 หรือ กาหนดค่ าโดยการประมาณค่ า
LLD = ค่ าความเสื่ อมของหลอดไฟ (Lamp
Lumen Depreciation)
ดูคู่มอื ของหลอดไฟฟ้าจากโรงงานผู้ผลิต
สมการที่ 1
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
TL = ค่ าฟลักซ์ ส่องสว่ างรวมของห้ อง
(Lumen) (TL=Total Luminaire)
E = ค่ าปริมาณความส่ องสว่างตามมาตรฐาน
IES (Lux ; fc) Ilumination Engineering Society
ดูตารางที่ 1
A = พืน้ ที่ของห้ องที่ออกแบบ กว้ าง x ยาว
(ตารางเมตร ; ตารางฟุต)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ค่ าปริมาณความส่ องสว่ าง (E)
เป็ นค่ าที่แสดงค่ าความส่ องสว่ างที่เป็ น
มาตรฐานของห้ องที่ต้องการออกแบบระบบแสง
สว่ างนั้น โดยจะต้ องพิจารณาการใช้ งานของ
ห้ องนั้นว่ ามีลกั ษณะการใช้ งานในลักษณะใด แล้ว
เปิ ด ตารางที่ 1
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ชนิดพืน้ ที่
Em LUX UGRL Ra(min)
1. พืน้ ที่ภายในอาคารทั่วไป
โถงทางเข้าอาคาร
100
22
60
โถงนัง่ พัก
200
22
80
พื้นที่ทางเดินภายในอาคาร100
28
40
บันได บันไดเลื่อน ทางเลื่อน 150
25
40
Unified Glare Rating(UGR)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตารางแสดงความสว่ างที่เหมาะสมในสถานที่ต่างๆ
สถานที่
ความสว่ าง (ลักซ์ )
บ้ าน
ห้ องนั่งเล่ น ห้ องครัว ห้ องอาหาร
ห้ องอ่ านหนังสื อ ห้ องทางาน
150 - 300
500 - 1,000
โรงเรียน
โรงพลศึกษา หอประชุม
ห้ องเรียน
ห้ องสมุด ห้ องปฏิบัตกิ าร ห้ องเขียนแบบ
75 - 300
300 - 750
750 - นายรุ
1,500
่ งโรจน์ หนูขลิบ
ตารางแสดงความสว่ างที่เหมาะสมในสถานที่ต่างๆ
สถานที่
โรงพยาบาล
ห้ องตรวจโรค
ห้ องผ่ าตัด
สานักงาน
บันไดฉุกเฉิน
ทางเดินในอาคาร
ห้ องประชุม ห้ องรับรอง
ความสว่ าง (ลักซ์ )
200 - 750
5,000 - 10,000
30 - 75
75 - 200
200 - 750
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตาราง ความส่ องสว่ างในพืน้ ทีใ่ ช้ งานต่ างๆในบ้ านอยู่อาศัย
พืน้ ที่ต่างๆ
ความส่ องสว่ าง ความส่ องสว่ าง
ที่พนื้ ที่(ลักซ์ ) รอบข้ าง(ลักซ์ )
150/500 60/100
ทางเข้ า
500/750 250/350
ห้ องครัว
100
ห้ องรับประทานอาหาร 300
60/300
60
ห้ องนั่งเล่ น
300
150
ห้ องทางาน
500
200
ห้ องน้า
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตาราง ความส่ องสว่ างในพืน้ ทีใ่ ช้ งานต่ างๆในบ้ านอยู่อาศัย
พืน้ ที่ต่างๆ
ห้ องน้าแขก
ห้ องเปลีย่ นเสื้อผ้ า
ห้ องนอนใหญ่
ห้ องนอนเด็ก
ทางเดิน
บันได
ถนนทางเข้ าบ้ าน
ความส่ องสว่ าง ความส่ องสว่ าง
ที่พนื้ ที่(ลักซ์ ) รอบข้ าง(ลักซ์ )
250
100
500
200
300/500 100/150
300
150
150
50
200
60
300
100
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตาราง ความสมดุลระหว่ างความส่ องสว่ าง
ของพืน้ ที่ใช้ งานและข้ างเคียง
รายการ
ค่ าที่ต้องการ ค่ าต่าสุ ด
พืน้ ที่ตดิ กับพืน้ ใช้ ทางาน 1/3
พืน้ ที่รอบข้ าง
1/5
1/5
1/10
ของพืน้ ที่ใช้ งาน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตาราง กาลังไฟฟ้ าสาหรับความสู งฝ้ า 4 เมตร ที่ 500 ลักซ์
แสงสว่ างเนื่องจากชนิดหลอดต่ างๆ วัตต์ ต่อตารางเมตร
อินแคนเดสเซนต์ - ไฟส่ องโดยตรง
55
- ไฟส่ องโดย
110
ทางอ้ อม
ฟลูออเรสเซนต์ - ไฟส่ องโดยตรง
- ไฟส่ องโดยทางอ้ อม
เมททัลฮาไลด์
- ไฟส่ องโดยตรง
-
ไฟส่ องโดย
18
36
13
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
26
ตาราง ความส่ องสว่ าง(ลักซ์ )ทีต่ ้ ูแสดงเทียบ
กับสภาพถนนด้ านหน้ า
ชนิดถนน ใจกลางเมือง ตัวเมือง ต่ างจังหวัด
ถนนย่ อย
ถนนสาคัญ
ถนนใหญ่
300/700
200/500
150/300
700/1000
500/750
400/600
1000/7000
750/5000
600/1000
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตาราง ความส่ องสว่ างทั่วไปใน
ห้ างสรรพสินค้ า
รายละเอียด
ความส่ องสว่ าง ความส่ อง
สว่ าง(ลักซ์ )
(ลักซ์ )
500-1000
300-500
แสงสว่ างทั่วไปใน
ร้ านค้ า
ส่ องเน้ นในร้ านค้ า 1500-3000
แสงสว่ างทั่วไปในตู้ 1000-2000
กระจก
ส่ องเน้ นในตู้กระจก 5000-10000
750-1500
500-1000
3000-5000
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตาราง ความส่ องสว่ างสาหรับสิ นค้ า
ในห้ างสรรพสิ นค้ าสั มพันธ์ กบั คุณภาพแสง
รายละเอียด
อาหารกระป๋ อง
เนือ้
ปลา
ขนม
ผลไม้
ลักซ์
500
300
500
500
500
องศาเคลวิน
3000/5000
3000
4000
3000/3300
3000
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตาราง ความส่ องสว่ างสาหรับสิ นค้ า
ในห้ างสรรพสิ นค้ าสั มพันธ์ กบั คุณภาพแสง
รายละเอียด
ดอกไม้
เครื่องเขียน
เฟอร์ นิเจอร์
เครื่องครัว
เครื่องกีฬา
ลักซ์
องศาเคลวิน
750
4000
500
3000
500
3000
500
3000/5000
600
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
3000/4000
ตาราง ความส่ องสว่ างสาหรับสิ นค้ า
ในห้ างสรรพสิ นค้ าสั มพันธ์ กบั คุณภาพแสง
รายละเอียด
ของเล่ น
ยา
เครื่องสาอาง
ซุปเปอร์ มาร์ เก็ต
พรม
ลักซ์
องศาเคลวิน
500
3000/4000
300/500 3000/4000
500
3000/4000
500
3000
700
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
3000
ตาราง ความส่ องสว่ างสาหรับสิ นค้ า
ในห้ างสรรพสิ นค้ าสั มพันธ์ กบั คุณภาพแสง
รายละเอียด
เครื่องหนัง
ผ้ า
รถยนต์
เครื่องตกแต่ งบ้ าน
พืน้ ที่ทางเดิน
ลักซ์
องศาเคลวิน
500
3000
500
3300
1000
4000
200
2600
50
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
2600/4000
ตาราง ความส่ องสว่ างสาหรับสิ นค้ า
ในห้ างสรรพสิ นค้ าสั มพันธ์ กบั คุณภาพแสง
รายละเอียด
ที่จอดรถ
สวน
บริเวณขนถ่ ายสิ นค้ า
ลักซ์
องศาเคลวิน
50
2600
50/150
4000
150
2600/4000
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประสิ ทธิภาพของแสงโดยดูทคี่ ่ าลูเมนต่ อวัตต์
ชนิดของหลอดแสงสว่ าง
ลูเมนต่ อวัตต์
8-22
หลอดไส้
26-58
หลอดแสงจันทร์
30-83
หลอดฟลูออเรสเซนต์
67-115
หลอดเมทัลฮาไลท์
หลอดโซเดียมความดันสู ง 74-132
ถ้ ายิง่ มากยิง่ ดีและมี ประสิ ทธิภาพสู ง ( ลูเมน คือ ปริมาณแสงทีป่ ล่ อยออกมาจากหลอดแสง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สว่ าง ส่ วนวัตต์ คือพลังงานไฟฟ้ าทีใ่ ช้ ในการกาเนิดแสง)
ตารางมาตรฐานการออกแบบกาลังไฟฟ้ า
ประเภท
วัตต์ /ตารางเมตร
สานักงาน โรงแรม
สถานศึกษาและโรงพยาบาล
ร้ านขายของ ศูนย์ การค้ า
16
23
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตารางมาตรฐานความสว่ าง (มาตรฐาน IES)
ความสว่ าง (ลักซ์ )
ลักษณะพืน้ ที่ใช้ งาน
300-700
พืน้ ที่ทางานทั่วไป
100-200
พืน้ ที่ส่วนกลาง ทางเดิน
300-500
ห้ องเรียน
300-750
ร้ านค้ า / ศูนย์ การค้ า
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตารางมาตรฐานความสว่ าง (มาตรฐาน IES)
โรงแรม :
บริเวณทางเดิน 300
500
ห้ องครัว
ห้ องพัก ห้ องน้า 100-300
100-300
โรงพยาบาล : บริเวณทั่วไป
ห้ องตรวจรักษา 500-1,000
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตารางมาตรฐานความสว่ าง (มาตรฐาน IES)
50
บ้ านทีอ่ ยู่อาศัย : ห้ องนอน
200
หัวเตียง
100-500
ห้ องน้า
100-500
ห้ องนั่งเล่ น
บริเวณบันได 100
300-500
ห้ องครัว
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ค่ าสั มประสิ ทธิ์การใช้ ประโยชน์
(Coefficient of Utilization : CU)
เป็ นค่ าที่มีข้นั ตอนในการหาที่ย่ งุ ยาก
มากทีส่ ุ ด ซึ่งหาได้ โดยการเปิ ด ตารางที่ 3 ใน
การหาค่ าจะต้ องทราบค่ าอืน่ ๆ มาประกอบใน
การหาค่ า CU ก่อน ได้ แก่
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ค่ าสั มประสิ ทธิ์การใช้ ประโยชน์
(Coefficient of Utilization : CU)
-ขนาดของห้ องที่แบ่ งเป็ นส่ วน
(Zonal Cavity,Zone Cavity)
- ค่ าอัตราส่ วนโพรง (Cavity Ratio)
-ค่ าความสามารถในการสะท้ อนแสงของ
เพดาน ผนัง และพืน้
(Effective Cavity Reflectance)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
พืน้ ที่ของห้ องที่ออกแบบ เป็ นพืน้ ที่ท้งั หมด
โดยมีท้งั ที่เป็ น หน่ วยตารางเมตร และหน่ วย
ตารางฟุต
L
W
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตัวอย่ าง ห้ องทางานทั่วๆ ไป ขนาด กว้ าง 3.5
เมตร ยาว 4 เมตร สู ง 2.70 เมตร ใช้ โคมฟลูออ
เรสเซนต์ ชนิดติดซ่ อนบนทีบาร์ ขนาดโคม
60x120 เซนติเมตร เลือกใช้ โคมในตาราง ที่ 4
เบอร์ แคตาล็อคเบอร์ 6 หลอด 36 วัตต์ สี เดย์
ไลด์ เบอร์ 54 ฟลักซ์ แสงสว่ าง 2600 ลูเมนต่ อ
หลอด จานวน 3 หลอดต่ อโคม และห้ องมีการ
บารุงรักษาดี
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
จงคานวณหาจานวนดวงโคมที่ใช้ ในการ
ออกแบบระบบแสงสว่ างโดยวิธี Room Index
เมื่อกาหนดค่ า CU = 0.5
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตัวอย่ าง ห้ องทางานทั่วๆ ไป ขนาด กว้ าง 3.5
เมตร ยาว 4 เมตร สู ง 2.70 เมตร ใช้ โคมฟลูออ
เรสเซนต์ ชนิดติดซ่ อนบนทีบาร์ ขนาดโคม
60x120 เซนติเมตร เลือกใช้ โคมในตาราง ที่ 4
เบอร์ แคตาล็อคเบอร์ 6 หลอด 36 วัตต์ สี เดย์
ไลด์ เบอร์ 54 ฟลักซ์ แสงสว่ าง 2600 ลูเมนต่ อ
หลอด จานวน 3 หลอดต่ อโคม และห้ องมีการ
บารุงรักษาดี
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
จงคานวณหาจานวนดวงโคมที่ใช้ ในการ
ออกแบบระบบแสงสว่ างโดยวิธี Room Index
เมื่อกาหนดค่ า CU = 0.5
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ความสว่ างที่โต๊ ะทางานให้ มีความส่ องสว่ างอย่ าง
น้ อยไม่ น้อยกว่ า 500 ลักซ์ เป็ นต้ น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตัวอย่ าง ห้ องทางานทั่วๆ ไป ขนาด กว้ าง 3.5
เมตร ยาว 4 เมตร สู ง 2.70 เมตร ใช้ โคมฟลูออ
เรสเซนต์ ชนิดติดซ่ อนบนทีบาร์ ขนาดโคม
60x120 เซนติเมตร เลือกใช้ โคมในตาราง ที่ 4
เบอร์ แคตาล็อคเบอร์ 6 หลอด 36 วัตต์ สี เดย์
ไลด์ เบอร์ 54 ฟลักซ์ แสงสว่ าง 2600 ลูเมนต่ อ
หลอด จานวน 3 หลอดต่ อโคม และห้ องมีการ
บารุงรักษาดี
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตัวอย่ างการออกแบบระบบแสงสว่ างภายในอาคาร
ห้ องทางานทั่วไป กว้ าง 6 เมตร ยาว 10 เมตร สู ง
3.5 เมตร แขวนต่ามาจากเพดาน 60 เซนติเมตร และ
โต๊ ะทางานอยู่สูงจากพืน้ 90 เซนติเมตร ใช้ ดวงโคม
เบอร์ ที่ 36 ซึ่งจัดอยู่ในดวงโคมชนิดที่ 5 โดยใช้ หลอด
ฟลูออเรสเซนต์ 36 วัตต์ โคมละ 2 หลอด และแต่ ละ
หลอดมีค่าปริมาณจานวนเส้ นแรงของแสงเฉลีย่ 2500
ลูเมน และค่ าปริมาณจานวนเส้ นแรงของแสงสว่ าง
เริ่มแรก 3500 ลูเมน กาหนดค่ า CU = 0.5
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตัวอย่ างการออกแบบระบบแสงสว่ างภายในอาคาร
บรรยากาศในห้ องนีจ้ ัดอยู่ในประเภททีส่ ะอาด
และดวงโคมจะถูกทาความสะอาดทุก ๆ ระยะ 24
เดือน จงหาค่ าจานวนดวงโคมที่ใช้ ในห้ องนี้ โดยวิธี
Zonal Cavity Method
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วิธีทา
ค่ า E การเปิ ดตารางที่ 1 (IES) = 500 Lux
A = กว้ าง x ความยาว = 6 x 10 = 60 ตารางเมตร
CU
=
0.5
LLD =
2500
3500
= 0.714
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
LDD = จากกราฟที่ 1 โคมประเภทที่ 5 = 0.84
E*A
แทนค่ าลงในสมการ TL  CU * L L D* L DD
TL =
5 0 0* 6 0
0 . 5* 0 . 7 1 4* 0 . 8 4
= 100,040.016 ลูเมน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หาจานวนดวงโคมทั้งหมด
N =
=
=
TL
จานวนลูเมนต่อโคม
100,040.016
2x2500
20.008 โคม
เลือกใช้ ดวงโคมทั้งสิ้น 20 ดวงโคม
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วิธีคานวณแบบจุดต่ อจุด
(Point by Point Method )
คือการคานวณหาความส่ องสว่ างทีละจุดที่
จุดทีต่ ้ องการโดยวิธีทจี่ ะใช้ ในการออกแบบที่
เฉพาะเจาะจงลงไปบริเวณจุดเล็กๆ บริเวณใด
บริเวณหนึ่งหรือจุดใดจุดหนึ่งบนพืน้ งาน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วิธีคานวณแบบจุดต่ อจุด
แบบนีจ้ าเป็ นต้ องทราบกราฟกระจายแสง
ของโคมมาประกอบในการคานวณด้ วยวิธีนี้ ซึ่ง
กราฟการกระจายแสงของโคมจะแสดงค่ า ความ
เข้ มของแสง (I) ที่กระจายในทิศทางต่ าง ๆ ของ
หลอดหรือดวงโคมนั้น ๆ (ข้ อมูลหาได้ จากบริษัท
ผู้ผลิตหลอดไฟหรือดวงโคมนั้น)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สู ตรการคานวณแบบจุดต่ อจุด
แบ่ ง 2 ลักษณะคือ จุดทีอ่ ยู่ในแนวดิง่ ตั้งฉาก (E1)
กับโคมและจุดทีห่ ่ างจากจุดตั้งฉากกับโคม (E2)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สู ตรการคานวณแบบจุดต่ อจุด
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สู ตรการคานวณแบบจุดต่ อจุด
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การกระจายแสง มี 2 แบบ คือ
- บอกค่ าเป็ นแคนเดลา (cd) สามารถนาค่ าที่อ่าน
ได้ ไปใช้ งานได้ ทันที
- บอกค่ าเป็ นแคนเดลาต่ อกิโลลูเมน (cd/Klm) ซึ่ง
จะต้ องนาค่ าลูเมนของหลอดในหน่ วยกิโลมาคูณ
กับค่ าที่อ่านได้ ก่อนเพือ่ ให้ ได้ ค่า ความเข้ มของ
แสงสว่ างในหน่ วยของ แคนเดลา (cd)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แบบบอกค่ าเป็ นแคนเดลา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
บอกค่ าเป็ นแคนเดลาต่ อกิโลลูเมน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
จากรู ปโคมหลอดสปอตไลต์ 75 วัตต์ และ 100
วัตต์ ติดตั้งโคมไฟ จงหาความส่ องสว่ างทีจ่ ุด A
และจุด B ของโคมหลอด 75 วัตต์ และโคม
หลอด 100 วัตต์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
โคมไฟ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ในการกาหนดระยะห่ างระหว่ างดวงโคมนั้น
จาเป็ นจะต้ องอาศัย ค่ าระยะห่ างระหว่ างการติดตั้ง
ดวงโคมต่ อความสู งของดวงโคมเหนือพืน้ งาน
(Spacing perMounting Hight Ratio : S / MH)
S (Spacing) = อัตราระยะห่ างระหว่ างดวงโคม
MH (MountingHight) = ความสู งของดวงโคม
เหนือพืน้ งาน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
โคมมีค่า S / MH = 1.1 วางสู งจากพืน้ งาน 2
เมตร จะต้ องวางดวงโคมไฟฟ้ าอย่ างไร
จากโคมมีค่า MH = 2
ดังนั้น ค่ า S = 1.1 x 2
= 2.2 เมตร
วางห่ างผนังสู งสุ ด
S / 2 = 2.2/2
= 1.1 เมตร
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
3 2  2
หลอดไฟฟ้าฟลูออเรสเซนต์ 40 วัตต์ ที่มีฟ
ลักซ์ ส่องสว่ าง 2,700 ลูเมน ในห้ องสี่เหลี่ยม
ที่มีขนาด 3x2x2 เมตร ความสว่ างของห้ องนี้
โดยเฉลีย่ มีค่าเท่ าไร ให้ ฟลักซ์ ส่องสว่ างทีส่ ู ญเสีย
ไปเนื่องจากตัวสะท้ อนแสงเท่ ากับ 500 ลูเมน
และแสงกระทบเพดานห้ องน้ อยมาก
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ห้ องสี่ เหลีย่ มที่มีขนาด 3 x 2 x 2 เมตร
วิธีทา พืน้ ที่ห้อง= พืน้ ที่พนื้ ห้ อง + พืน้ ที่ผนังทั้งสี่
= (2  3)  (3 2)  (2  2)  (3 2)  (2  2)
= 6  (6  4  6  4)
2
= 26 m
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ฟลักซ์ ส่องสว่ างที่ตกกระทบพืน้ ทัง้ หมด

=
=
ความสว่ างเฉลี่ย
ลูเมน
ลูเมน
2,200
2,200 ลูเมน/ตารางเมตร
2,700  500
=
26
ความสว่ างโดยเฉลีย่ ของห้ องเท่ ากับ 84.6 ลักซ์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การวางดวงโคม
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การวางดวงโคม
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การจัดวางดวงโคมและความสม่าเสมอของแสงสว่ าง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การจัดวางดวงโคมและความสม่าเสมอของแสงสว่ าง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การจัดวางดวงโคมและความสม่าเสมอของแสงสว่ าง
S
S
S
S
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การจัดวางดวงโคมและความสม่าเสมอของแสงสว่ าง
S
ค. หลอดฟลูออเรสเซนต์ ตดิ ยาวตลอด
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การจัดวางดวงโคมและความสม่าเสมอของแสงสว่ าง
S
S
ง. หลอดฟลูออเรสเซนต์ จัดเป็ นคู่ ๆ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การจัดวางดวงโคมและความสม่าเสมอของแสงสว่ าง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตัวอย่ าง โคมมีค่า S / MH = 1.1 วางสู งจากพืน้
งาน 2 เมตร จะต้ องวางดวงโคมไฟฟ้ าอย่ างไร
วิธีทา
โคมมีค่า MH
= 2
ดังนั้น ค่ า S
= 1.1 x 2
= 2.2 เมตร
วางห่ างผนังสู งสุ ด S/2
= 2.2 / 2
= 1.1 เมตร
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วิธีควบคุมภาวะแสงสว่ างไม่ เหมาะสม
- ทาความสะอาดและซ่ อมบารุงระบบ
แสงสว่ างอย่ าง สม่าเสมอ โดยการเช็ดโคมไฟ
หรือหลอดไฟให้ สะอาดอยู่เสมอ และเปลีย่ นเอา
หลอดไฟทีห่ มดอายุออกตามกาหนดเวลา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วิธีควบคุมภาวะแสงสว่ างไม่ เหมาะสม
- สี ที่ทาผนัง เพดาน และพืน้ ต้ องเป็ นสี
ด้ าน ไม่ สะท้ อนแสง
- ไม่ ควรหันโต๊ ะทางานออกไปหา
หน้ าต่ าง ประตู โคมไฟ หรือแหล่งกาเนิดแสง
จ้ าอืน่ ๆ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วิธีควบคุมภาวะแสงสว่ างไม่ เหมาะสม
- ควรใช้ ม่านหรือมู่ลบี่ ังตาชนิดทีส่ ามารถ
หมุนปรับระดับได้ ติดทีป่ ระตูหน้ าต่ าง เพือ่ ให้
สามารถปรับระดับแสงได้ ตามความต้ องการ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วิธีควบคุมภาวะแสงสว่ างไม่ เหมาะสม
- ควรใช้ ไฟเพดานชนิดดิฟฟิ วเซอร์
(Diffuser Light) ซึ่งจะปล่อยแสงสว่ างออกมา
ได้ ทุกทิศทางและยังช่ วยลดเงาตกกระทบได้ อกี
ด้ วย
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วิธีควบคุมภาวะแสงสว่ างไม่ เหมาะสม
- ติดตั้งโคมไฟสาหรับการใช้ งานเฉพาะ
อย่ าง (Task Lighting) ซึ่งผู้ใช้ สามารถปรับ
ความสว่ างให้ เหมาะสมได้ เอง ในจุดทีจ่ าเป็ น
โดยเฉพาะอย่ างยิง่ ในพืน้ ทีท่ ถี่ ูกกั้นด้ วยฉาก
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การส่ องสว่ างภายนอกอาคาร
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ไฟฟ้าสนามกีฬา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ไฟส่ องป้ ายโฆษณา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
ถนนเลียบวัง ตาบลหัวหิน
อาเภอหัวหิน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
77110
โทรศัพท์ 520500-520481(032)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สอบถามข้ อสงสั ยได้ ที่
แผนกช่ างไฟฟ้า
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
ถนนเลียบวัง อาเภอหัวหิน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77110
โทร.(032)520500 , 520481
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ