หลอดฟลูออเรสเซนต์2 - eDLTV เพื่อพัฒนาอาชีพ

Download Report

Transcript หลอดฟลูออเรสเซนต์2 - eDLTV เพื่อพัฒนาอาชีพ

การส่ องสว่ าง
เสนอ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายร่ ุงโรจน์ หนูขลิบ
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
มาตรฐานรายวิชา
1. เข้ าใจแหล่งกาเนิดแสงและคุณสมบัตขิ องแสง
2. หาความเข้ มการส่ องสว่างตามสถานที่ใช้ งาน
3. เลือกชนิดของหลอดและดวงโคม
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
เนือ้ หาสาระ
หลอดฟลูออเรสเซนต์ เป็ นต้ นกาเนิดแสง
สว่ างที่ได้ รับความนิยมแพร่ หลายมากที่สุด มี
ประสิ ทธิภาพในการให้ แสงสว่ างสู ง ใช้ ทดแทน
หลอดไส้ ยกเว้ นกรณี ใช้ ประดับเน้ นการจัดแสง
เงา หลอดฟลูออเรสเซนต์ มคี ุณภาพแสงเป็ น
แสงสี ขาวนวล ซึ่งเหมาะสาหรับการให้ แสง
สว่ างทั่วๆ ไป
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
จุดประสงค์ ครั้งนี้
เพือ่ ให้ มคี วามรู้ ความเข้ าใจ และ
สามารถนาไปใช้ ได้ เกีย่ วกับ
1. บอกความหมายของหลอดฟลูออเรสเซนต์ ได้
2. บอกความเป็ นมาหลอดฟลูออเรสเซนต์ ได้
3. บอกชนิด ขนาดและรูปร่ างหลอดฟลูออเรสเซนต์ ได้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
รายการสอน
1. หลอดฟลูออเรสเซนต์
2. ประวัติของหลอดฟลูออเรสเซนต์
3. ส่ วนประกอบของหลอดฟลูออเรสเซนต์
4. การแบ่ งชนิดของสตาร์ ทเตอร์
5. การแบ่ งชนิดของหลอดฟลูออเรสเซนต์
6. คุณสมบัตขิ องหลอดฟลูออเรสเซนต์
7. อายุการใช้ งานของหลอดฟลูออเรสเซนต์
8. เพาเวอร์ แฟคเตอร์ ของหลอดฟลูออเรสเซนต์
9. ข้ อดี – ข้ อเสี ย ของหลอดฟลูออเรสเซนต์
10. ข้ อขัดข้ องและวิธีแก้ ไขวงจรหลอดฟลูออเรสเซนต์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สังคม/เศรษฐกิจ/วัฒนธรรม/สิง่ แวดล้อม
สมดุล/พร้อมรับต่อการเปลีย่ นแปลง
นาสู่
พอประมาณ
ทางสายกลาง
 พอเพียง
มีเหตุผล
เงือ่ นไขความรู ้
รอบรู ้ รอบคอบ ระมัดระวัง
มีภูมิคุม้ กัน
เงือ่ นไขคุณธรรม
ซื่อสัตย์สุจริต อดทน เพียร มีสติ ปั ญญา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ความพอประมาณ
ความหมาย อย่ างง่ าย ๆ คือ เรื่องของ
ปริมาณที่ ไม่ น้อยเกินไป และ ไม่ มากเกินไป
....หรือพอเหมาะ..... โดยไม่ เบียดเบียน
ตนเอง และผู้อนื่ ร่ วมถึงกาลเวลาและ
สถานที่
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
มีเหตุผล
มี = ปรากฏขึน้ เกิดขึน้ เป็ นขึน้ ดารงอยู่ และ
เคลือ่ นไปได้
เหตุ = สิ่ งที่ก่อให้ เกิดผล, ปัจจัยจาเพาะที่
ก่อให้ เกิดผลนั้น ๆ
ผล = สิ่ งทีเ่ กิดจากเหตุ, สิ่ งที่มีเหตุเกิด
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
มีภูมิคุม้ กัน
คือการมีภูมริ ู้ ภูมปิ ัญญา ภูมธิ รรม และ
ความไม่ ประมาท
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การมีภูมริ ู้
ภูมริ ู้ เกิดได้ โดยการแสวงหา และใช้
เครื่องมือทีเ่ ป็ นทุนธรรมชาติทตี่ วั เราทั้งส่ วน
กาย คือ ตา หู จมูก ลิน้ กาย และส่ วนจิตใจ ซึ่ง
คอยทาหน้ าทีเ่ ป็ นผู้สั่งการจัดหาและจัดเก็บ
รวมทั้งจัดการความรู้ ให้ เป็ นระบบ ระเบียบ
เพือ่ สะดวกใช้ เมื่อยามจาเป็ นต่ อไป
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ภูมปิ ัญญา
คือ ความรู้ แจ้ ง รู้ ชัด รู้ ลกึ รู้กว้ าง รู้ เหตุร้ ู
ผล รู้ ต้น รู้ ปลาย รู้ ย่อ รู้ ขยาย เป็ นต้ น
การสร้ างภูมปิ ัญญา ว่ าโดยหลักก็สร้ างได้ 3
ทาง หรือ 3 วิธี โดยใช้ กลไกและศักยภาพ ของ
กลไกทีต่ วั เรา นั่นเอง คือ ให้ ใช้ หู ใช้ ตา เป็ นต้ น
คือ ให้ ใช้ ตา ดู หูฟัง ให้ เป็ น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ภูมปิ ัญญา
แต่ การจะใช้ เป็ นต้ องอาศัยผู้อนื่ (ครู ) เป็ น
ผู้บอกเป็ นเบือ้ งต้ น และตนเองก็ต้องมีเครื่องรับ
รู้ ทมี่ คี ุณภาพดีพอควรจึงจะรู้ จริง และรู้ แจ้ ง ได้
เร็ว ช้ า ตามศักยภาพทุนและความต่ อเนื่องใน
การฝึ กฝนอบรม เมื่อรับเข้ ามาได้ แล้วก็ต้อง
นามาคิด ตาม คิดต่ อจนเกิดความคิดแตก หรือ
แตกฉานในเรื่องนั้น ๆ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ภูมปิ ัญญา
คือ เห็นเหตุ เห็นผลของสิ่ งนั้นว่ าคือ
อะไร มีความจริง มีพฤติกรรม บทบาท หน้ าที่
อยู่อย่ างไร และส่ งผลลัพธ์ ออกมาอย่ างไรบ้ าง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ภูมธิ รรม
คือ ภาวะแห่ งธรรม 4 ความหมาย คือ
สภาวธรรม สั จธรรม ปฏิบัติธรรม และปฏิเวธ
ธรรม ได้ แก่ ปรากฏการณ์ ความจริง บทบาท
หน้ าที่และผลแห่ งบทบาทหน้ าที่ของสรรพสิ่ ง
การทีม่ นุษย์ ได้ รับรู้ ภูมธิ รรมทีว่ ่ านี้ เรียนรู้
เข้ าใจ และเข้ าถึงธรรมทั้ง 4 นี้ เรียกว่ า มีภูมิ
ธรรม สมบูรณ์ เข้ าถึงได้ มากเท่ าใด ก็จดั ว่ ามี
มากเท่ านั้น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ... วิศวกรรมการส่องสว่าง ....
ชื่อผู้แต่ ง..... มงคล ทองสงคราม .....
สานักพิมพ์ ..... ซีเอ็ดยูเคชั่น จากัด......
ปี ทีพ่ มิ พ์ ....2538........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ... วิศวกรรมการส่องสว่าง ....
ชื่อผู้แต่ ง..... ศุลี บรรจงจิตร .....
สานักพิมพ์ ..... ซีเอ็ดยูเคชั่น จากัด......
ปี ทีพ่ มิ พ์ ....2538........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ... พื้นฐานวิศวกรรมการส่องสว่าง ....
ชื่อผู้แต่ ง..... อ.ไชยะ แช่ มช้ อย .....
สานักพิมพ์ .....เอ็มแอนด์ อี จากัด........
ปี ทีพ่ มิ พ์ ....2550........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ..การส่ องสว่าง..
ชื่อผู้แต่ ง.....วิทย์ อ้นจร และคณะ.....
สานักพิมพ์ ..... ศูนย์ ส่งเสริมวิชาการ........
ปี ที่พมิ พ์ ....2549........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ..การส่ องสว่ าง..
ชื่อผู้แต่ ง.....วัฒนา ถาวร .....
สานักพิมพ์ ... สมาคมส่ งเสริมเทคโนโลยี่
(ไทยญี่ปุ่น)....
ปี ที่พมิ พ์ ....2536........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หลอดฟลูออเรสเซนต์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หลอดฟลูออเรสเซนต์
$$
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หลอดฟลูออเรสเซนต์
เป็ นหลอดไฟฟ้าที่นิยมใช้ กนั ทั่วไป
เพราะว่ าให้ แสงสว่ างนวลสบายตา และมีอายุการ
ใช้ งานที่ยาวนานกว่ าหลอดไส้ ถงึ 6 - 8 เท่ า
ลักษณะของหลอดเป็ นรู ปทรงกระบอก รู ป
วงกลมและตัวยู มีขนาดอัตราทนกาลัง 10 วัตต์ ,
20 วัตต์ , 32 วัตต์ , และ 40 วัตต์ เป็ นต้ น ขนาด 40
วัตต์ มอี ายุการใช้ งาน 8,000 ถึง 12,000 ชั่วโมง
ให้ ความสว่ างของแสงประมาณ 3,100 ลูเมน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หลอดฟูลออเรสเซนต์
หลอดเรืองแสง มีลกั ษณะเป็ นทรง กระบอก
เรียวยาว หรือดัดเป็ นวงกลม การทางาน ของ
หลอดอาศัยหลักการปล่อยประจุก๊าซผ่ านขั้ว
อิเล็กโทรด ทาให้ เกิดแสงอัลตราไวโอเลตได้ มา
กระทบเข้ ากับผิวในหลอดแก้วที่ฉาบไว้ ด้วยสาร
เรืองแสงที่เรียกว่ า ฟอสฟอร์ (Phosphor) หรือ
Fluorescent Material
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หลอดฟูลออเรสเซนต์
สารเรืองแสงนีจ้ ะทาหน้ าที่เปลีย่ นแสง
อัลตราไวโอเลตซึ่งไม่ สามารถมองเห็นด้ วยตา
เปล่าได้ ให้ กลายมาเป็ นแสงสว่ างที่ปรากฏแก่
สายตาของ มนุษย์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อดีของหลอดเรืองแสง
1. เมื่อให้ พลังงานไฟฟ้าเท่ ากันจะให้ แสง
สว่ างมากกว่ าหลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา
ประมาณ 4 เท่ า และมีอายุการใช้ งานนานกว่ า
หลอดไฟฟ้าธรรมดาประมาณ 8 เท่ า
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อดีของหลอดเรืองแสง
2. อุณหภูมขิ องหลอดไม่ สูงเท่ ากับหลอด
ไฟฟ้าแบบธรรมดา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อดีของหลอดเรืองแสง
3. ถ้ าต้ องการแสงสว่ างเท่ ากับหลอด
ไฟฟ้าธรรมดา จะใช้ วตั ต์ ที่ตา่ กว่ า จึงเสี ยค่ า
ไฟฟ้าน้ อยกว่ า
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อเสี ยของหลอดเรืองแสง
1. เมือ่ ติดตั้งจะเสี ยค่ าใช้ จ่ายสู งกว่ าหลอด
ไฟฟ้าแบบธรรมดา เพราะต้ องใช้ บัลลาสต์ และ
สตาร์ ตเตอร์ เสมอ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อเสี ยของหลอดเรืองแสง
2. หลอดเรืองแสงมักระพริบเล็กน้ อยไม่
เหมาะในการใช้ อ่าน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
โครงสร้ างหลอดฟลูออเรสเซนต์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
โครงสร้ างหลอดฟลูออเรสเซนต์
1. หลอดแก้ว (Lamp Tube) มีลกั ษณะ
เป็ นกระบอกเรียวกลม หรือดัดเป็ นวงกลม
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
โครงสร้ างหลอดฟลูออเรสเซนต์
2. ขั้วหลอด (Base Pins) เป็ นฐานยึด
อุปกรณ์ ต่างๆ ขั้วหลอด มีด้านละ 1 ขา หรือ 2 ขา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ขั้วหลอดฟลูออเรสเซนต์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
โครงสร้ างหลอดฟลูออเรสเซนต์
3. แก้วยึดลวดตัวนากระแส (Stem Press)
แก้วทาเพือ่ หุ้มลวดตัวนาป้ องกันไม่ ให้ อากาศเข้ า
สู่ หลอด
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
โครงสร้ างหลอดฟลูออเรสเซนต์
4. ลวดตัวนากระแส (Lead Wire)
ลวดทองแดงที่ต่อจากไส้ หลอดถึงขั้วหลอดไฟ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
โครงสร้ างหลอดฟลูออเรสเซนต์
5. ท่ อดูดอากาศ (Exhaust Tube) คือท่ อ
สาหรับไล่อากาศออกตอนผลิต และบรรจุก๊าซ
เข้ าแทนทีแ่ ล้วปิ ดรู
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
โครงสร้ างหลอดฟลูออเรสเซนต์
6. อิเล็คโทรด (Electrode ) คือไส้ หลอดที่
ทาจากลวดทังสเตนทาให้ เกิดการเคลือ่ นที่ของ
อิเล็คตรอนระหว่ างหัวท้ ายเพราะมีก๊าซตัวนา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
โครงสร้ างหลอดฟลูออเรสเซนต์
7. สารเรืองแสง (Phosphor)สารเคมีที่
เคลือบด้ านในของหลอดเพือ่ ให้ เกิดสี ต่าง ๆ
เช่ นสารแคลเซียม ฮาโลฟอสเฟส จะเป็ นสี ขาว
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สารฟอสฟอร์ ที่ใช้ และสี ที่ได้ จากหลอด
1. แคดเมียมบอเรต (Cadmium Borate) ชมพู
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สารฟอสฟอร์ ที่ใช้ และสี ที่ได้ จากหลอด
2. แคลเซียมฮาโลฟอสเฟต (Calcium
Halophosphate) ขาว
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สารฟอสฟอร์ ที่ใช้ และสี ที่ได้ จากหลอด
3. แคลเซียมซิลเิ กต (Calcium Silicate) ส้ ม
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สารฟอสฟอร์ ที่ใช้ และสี ที่ได้ จากหลอด
4. แคลเซียมทังสเตต (Calcium Tungstate)
นา้ เงิน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สารฟอสฟอร์ ที่ใช้ และสี ที่ได้ จากหลอด
5. แมกนีเซียมเจอมาเนท (Magnesium
Germanate) แดง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สารฟอสฟอร์ ที่ใช้ และสี ที่ได้ จากหลอด
6. แมกนีเซียมทังสเตต (Magnesium
Tungstate) ขาวนา้ เงิน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สารฟอสฟอร์ ที่ใช้ และสี ที่ได้ จากหลอด
7. สตรอนเทียมแฮโลฟอสเฟต (Strontium
Halophosphate) เขียวอ่อน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สารฟอสฟอร์ ที่ใช้ และสี ที่ได้ จากหลอด
8. ซิงก์ซิลเิ กท (Zinc Silicate) เขียว
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
โครงสร้ างหลอดฟลูออเรสเซนต์
8. ก๊าซบรรจุ (Gas) คือ สารทีอ่ ยู่ภายใน
หลอด เช่ นไอปรอท ก๊าซเฉื่อย และอาร์ กอน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
โครงสร้ างหลอดฟลูออเรสเซนต์
ภายในหลอดจะบรรจุด้วยก๊าซเฉื่อย
ประเภทอาร์ กอนและไอปรอท บริเวณ
หลอดแก้วด้ านในเคลือบด้ วยสารเรืองแสง ก๊ าช
ทีบ่ รรจุอยู่ภายในหลอดจะแตกตัวเป็ นไอออน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
โครงสร้ างหลอดฟลูออเรสเซนต์
เมื่อแรงดันที่ข้วั แคโถดทั้งสองข้ างของ
หลอดมีค่าสู งพอ ความต้ านทานภายในหลอด
ก็จะต่าลงทันที ทาให้ กระแสไฟฟ้าหลผ่ าน
หลอดแก้วไปกระทบไอปรอท ทาให้ ไอปรอท
เปล่งรังสี อลั ตราไวโอเลตออกมาและจะ
กระทบกับสารเรืองแสงที่เคลือบผิวด้ านใน
ของหลอดแก้ว หลอดจึงสว่ างขึน้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วงจรหลอดฟลูออเรสเซนต์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วงจรหลอดฟลูออเรสเซนต์
การต่ อวงจรใช้ งานเริ่มจากต่ อสายไฟ 220
VAC เส้ นหนึ่งต่ อเข้ ากับบาลาสต์ จากบาลาสต์
ต่ อไปยังขั้วหลอดหนึ่ง ขั้วหลอดสองต่ อไปยัง
สตาร์ ทเตอร์ และต่ อเข้ าขั้วหลอดอีกด้ านหนึ่ง
จากขั้วหลอดจะต่ อเข้ าไฟ AC อีกเส้ นหนึ่งจน
ครบวงจร
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วงจรหลอดฟลูออเรสเซนต์
บัลลาสต์ ทใี่ ช้ กบั หลอดฟลูออเรสเซนต์ มีหน้ าที่
อยู่หลายอย่ างคือ สร้ างแรงดันไฟฟ้าสู งใน
ขณะที่หลอดเริ่มทางาน เมื่อหลอดทางานแล้ว
จะทาหน้ าที่ลดแรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่ อมหลอด
ให้ ต่าลง และนอกจากนีย้ งั ทาหน้ าที่จากัด
กระแสไม่ ให้ ไหลผ่ านหลอดมากเกินไปใน
ขณะที่หลอดให้ แสงสว่ างออกมา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
บัลลาสต์ ทนี่ ิยมใช้ อย่ ูมี 3 ชนิดคือ
1. ชนิดขดลวด (Choke Coils Ballast)
2. ชนิดหม้ อแปลงขดลวดชุดเดียว
(Autotranformer Ballast)
3. ชนิดบัลลาสต์ อเิ ล็กทรอนิกส์
(Electronic Ballast)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
1. ชนิดขดลวด (Choke Coils Ballast)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ชนิดหม้ อแปลงขดลวดชุดเดียว
(Autotranformer Ballast)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ชนิดบัลลาสต์ อเิ ล็กทรอนิกส์
(Electronic Ballast)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สตาร์ ทเตอร์ Glow Type
สตาร์ ทเตอร์ ทีใ่ ช้ กบั หลอดฟลูออเรส
เซนต์ มีหน้ าที่เป็ นสวิตซ์ เพือ่ ช่ วยในการจุดไส้
หลอดให้ ทางานมีอยู่หลายชนิดคือ แบบมีก๊าช
บรรจุอยู่ภายใน (Glow Type), แบบใช้ ความ
ร้ อน (Thermal Starter), แบบใช้ มือในการตัด
ต่ อ (Manual Reset Cutout Starter) และ
สตาร์ ตเตอร์ แบบตัดต่ อโดยอัตโนมัติ
(Automatic Reset Cutout Starter)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สตาร์ ทเตอร์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สตาร์ ทเตอร์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แบบมีก๊าชบรรจุอยู่ภายใน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แบบใช้ ความร้ อน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สตาร์ ตเตอร์ แบบใช้ มือในการตัดต่ อ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สตาร์ ตเตอร์ แบบตัดต่ อโดยอัตโนมัติ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หลอดฟูออเรสเซ็นต์ แบ่ งออกเป็ น 4 ชนิด
1. หลอดฟูลออเรสเซ็นต์ แบบอุ่นไส้ หลอด
(Preheat Start Lamp)
2. หลอดฟูลออเรสเซนต์ แบบจุดติดทันที
(Instant Start Lamp)
3. หลอดฟูลออเรสเซนต์ แบบจุดติดเร็ว
(Repid Start Lamp)
4. หลอดฟูลออเรสเซนต์ แบบคอมแพค
(Compact Lamp)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ขนาดที่นิยมใช้ คอื
18 วัตต์ มีความยาว 60 เซนต์ ติเมตร
36 วัตต์ มีความยาว 120 เซนตฺเมตร
และแบบวงกลมมีขนาด 32 วัตต์ มี
เส้ นผ่ าศูนย์ กลาง 30.5 เซนติเมตร
มีอายุการใช้ งานประมาณ 8,000 - 15,000 ชั่วโมง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
1. หลอดฟูลออเรสเซ็นต์ แบบอุ่นไส้ หลอด
(Preheat Start Lamp)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
1. หลอดฟูลออเรสเซนต์ แบบอุ่นไส้
ใช้ ทั่วไปกันตามบ้ านเรือนที่พกั อาศัย อาคาร
สานักงานต่ างๆ จะมีส่วนประกอบดังนี้ บัลลาสต์ และ
สตาร์ ทเตอร์ เป็ นตัวช่ วยให้ หลอดติด โดยอาศัยอุ่นไส้
หลอดให้ ร้อนทาให้ อเิ ล็คตรอน ทั้งสองข้ างวิ่งหากันโดย
ผ่ านก๊ าซอาร์ กอน และไอปรอท ทาให้ เกิดแสงอัลตรา
ไวโอเลต ไปกระทบกับสารฟอสเฟอร์ ที่ฉาบด้ านใน
หลอดก็จะเปล่ งแสงสี ต่าง ๆ ออกมาหลอดนีจ้ ะมีอายุ
การใช้ งาน มากกว่ าหลอดไส้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
1. หลอดฟูลออเรสเซนต์ แบบอุ่นไส้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
2. หลอดฟูลออเรสเซนต์ แบบจุดติดทันที
(Instant Start Lamp)
เป็ นหลอดที่ไม่ ต้องใช้ สตาร์ ทเตอร์ เป็ นตัวทา
ให้ ไส้ หลอดร้ อนก่อน และไม่ กระพริบก่อนติด
แต่ ใช้ บัลลาสต์ เป็ นตัวกาหนดแรงดันขณะเริ่ม
ติดหลอดให้ สูงขณะทางานแรงดันจะลดลง
เท่ ากับ แรงดันปกติทาให้ ร้อนติดเร็วกว่ าแบบ
Preheat Start Lamp หลอดชนิดนีม้ ี 2 ขา คือ
ขั้วละขา(Single pin)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วงจร หลอดฟูลออเรสเซนต์ แบบจุดติดทันที
(Instant Start Lamp)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
3. หลอดฟูลออเรสเซนต์ แบบจุดติดเร็ว
(Rapid Start Lamp)
หลอดที่รวมเอาข้ อดีของหลอดทั้งสอง
แบบแรกเข้ าด้ วยกันทาให้ หลอดติดเร็วภายใน
เวลา 2 นาที ไม่ ต้องใช้ สตาร์ ทเตอร์ โดยอาศัย
การสร้ างขดลวดความร้ อน (Heating Coil)
ขึน้ ใน บัลลาสต์ เพือ่ ให้ หลอดติดง่ าย
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
3. หลอดฟูลออเรสเซนต์ แบบจุดติดเร็ว
(Rapid Start Lamp)
มักจะมีคาปาซิสเตอร์ ในตัวเพือ่ แก้
เพาเวอร์ แฟคเตอร์ หลอดมีอายุการใช้ งาน
ประมาณ2,000 ชั่วโมง ซึ่งมากว่ าหลอด
Preheat Start ถึง 2 เท่ า เหมาะสมกับงานที่
ต้ องการใช้ งานของหลอดมาก ๆ เช่ น เพดาน
สู ง ๆ หรือโคมไฟถนน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วงจรแบบจุดติดเร็ว
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
4. หลอดฟูลออเรสเซนต์ แบบคอมแพค
(Compact Lamp)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หลอด Compact Fluorescent
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
4. หลอดฟูลออเรสเซนต์ แบบคอมแพค
หลอดฟูลออเรสเซนต์ แบบคอมแพคเป็ น
หลอดขนาดเล็กที่ได้ มีการพัฒนาขึน้ มาเพือ่
ประหยัด พลังงานและเพือ่ แทนหลอดไส้ มี
ขนาดเล็กแต่ มกี าลัง การส่ องสว่ างสู ง มี
สตาร์ ทเตอร์ อยู่ภายในหลอด มีท้งั แบบบัล
ลาสต์ ภายใน และภายนอกหลอด
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
4. หลอดฟูลออเรสเซนต์ แบบคอมแพค
ตัวบัลลาสต์ มีท้งั แบบแกนเหล็ก และแบบ
อิเล็คทรอนิกส์ ขั้วหลอดเป็ นแบบเกลียว
สามารถสวม กับขั้วไส้ ได้ ทันที ส่ วนแบบขั้ว
เสี ยบจะใช้ งานกับบัลลาสต์ ที่แยกออก หรือขา
เสี ยบทีม่ บี ัลลาสต์ รวมอยู่ด้วย หลอดชนิดนีม้ ี
อายุ การใช้ งานประมาณ 8,000 ชั่วโมง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
4. หลอดฟูลออเรสเซนต์ แบบคอมแพค
ปัจจุบันมีอยู่ 2 ชนิด คือหลอด คอมแพค
บัลลาสต์ ภายใน เช่ น หลอด SL หลอด PL-E
และหลอดคอมแพคบัลลาสต์ ภายนอก เช่ น
หลอด Pl
หลอด SL
หลอด PL-E
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หลอด SL
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หลอด SL
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หลอด PL-E
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หลอดฟลูออเรสเซนต์ แบบคอมแพค
หลอดคอมแพคทีม่ บี ัลาสอิเล็คทรอนนิกส์ อยู่ภายใน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หลอดฟลูออเรสเซนต์ แบบคอมแพค
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หลอดฟลูออเรสเซนต์ แบบคอมแพค
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
คุณสมบัตแิ ละการนาไปใช้ งานของหลอดฟูลออเรสเซนต์
1. ถ้ าเป็ นหลอดให้ แสงเหมือนกลางวัน
(Day Light) จะมีแสงสี ขาวนวล ให้ คุณสมบัติ
การมองเห็นได้ ดกี ว่ าหลอดไส้ อินแคนเดสเซนต์
6-8 เท่ า ในขณะที่หลอดมีกาลังไฟฟ้ าเท่ ากัน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
คุณสมบัตแิ ละการนาไปใช้ งานของหลอดฟูลออเรสเซนต์
2. ขนาดของกาลังไฟฟ้ามีต้งั แต่ 4,6,8,10,15
,18,32,36,60,70,85,110,160, และ 225 วัตต์ มี
ทั้งแบบกระบอก ยาว และวงกลมอายุใช้ งาน
ประมาณ 8,000 - 15,000 ชั่วโมง สาหรับหลอด
แบบอุ่นไส้ หลอด
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
คุณสมบัตแิ ละการนาไปใช้ งานของหลอดฟูลออเรสเซนต์
3. ค่ าใช้ จ่ายค่ อนข้ างสู ง เพราะมีอปุ กรณ์
ประกอบหลายอย่ าง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
คุณสมบัตแิ ละการนาไปใช้ งานของหลอดฟูลออเรสเซนต์
4. เหมาะสาหรับนาไปใช้ งานที่ต้องการแสง
สว่ างมากเห็นได้ ชัดเจน เช่ น ห้ องเรียน ห้ อง
ทางาน และห้ องปฏิบัติการต่ าง ๆ รวมทั้งทางเดิน
หรือถนน เป็ นต้ น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
คุณสมบัตแิ ละการนาไปใช้ งานของหลอดฟูลออเรสเซนต์
5. หลอดมีประสิ ทธิภาพสู ง ให้ แสงสว่ าง
ประมาณ 3,000 ลูเมน มีให้ เลือกหลายชนิด
ปัจจุบันชนิดคอมแพคเพือ่ เป็ นการประหยัด
พลังงานอีกด้ วย
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
มีให้ เลือกทั้งแบบหลอดแก้วใส
(Prismatic) และขาวขุ่น (Opal) รู ปร่ างอาจ
แตกต่ างกัน ขึน้ อยู่กบั รุ่ นและยีห่ ้ อที่ใช้ ทั้งนี้
สามารถหาข้ อมูลเพิม่ เติมได้ จาก catalog ของ
แต่ ละบริษัท
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อควรรู้ เกีย่ วกับการใช้ หลอด
ทีม่ ีบัลลาสต์ แยกกับหลอด
1. บัลลาสต์ ทใี่ ช้ กบั หลอดฟลูออเรสเซนต์ แบบ
ตรง ไม่ ควรนามาใช้ กบั หลอดคอมแพกต์ ฟลูออ
เรสเซนต์ เพราะจะทาให้ อายุการใช้ งานสั้ นลง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อควรรู้ เกีย่ วกับการใช้ หลอด
ทีม่ ีบัลลาสต์ แยกกับหลอด
2. บัลลาสต์ ที่ใช้ กบั หลอดแต่ ละขนาดต้ อง
เป็ นไปตามคาแนะนาของผู้ผลิต มิฉะนั้นจะทา
ให้ หลอดอายุส้ั น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อควรรู้ เกีย่ วกับการใช้ หลอด
ทีม่ ีบัลลาสต์ แยกกับหลอด
3. เมื่อบัลลาสต์ เสี ย สามารถเปลีย่ นเฉพาะบัล
ลาสต์ ได้
4. ราคาถูกกว่ าแบบมีบัลลาสต์ ในตัว
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
1. outer bulb 2. Discharge tube
3. Phosphor 4. Ballast
5. Electrode 6. Bi-metallic strip
7. Starter
8. Mounting plate
9. Housing
10. Thermal cut-out
11. Capacitor
12. Lamp cap
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
1. outer bulb 2. Discharge tube
3. Phosphor 4. Ballast
5. Electrode 6. Bi-metallic strip
7. Starter
8. Mounting plate
9. Housing
10. Thermal cut-out
11. Capacitor
12. Lamp cap
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การนาหลอดคอมแพกต์ ไปใช้ งาน
การใช้ งานหลอดคอมแพกต์ ฟลูออเรส
เซนต์ จะมีลกั ษณะการวางหลอด 2 แบบ คือการ
วางหลอดในแนวตั้งและการวางหลอดใน
แนวนอน การวางหลอดในแนวตั้งนั้นเมื่อเปิ ดใช้
งานปริมาณแสงจากหลอด จะลดลงอยู่ในช่ วง 510 เปอร์ เซนต์ เพราะอากาศร้ อน จะถูกพัดขึน้ ไป
ด้ านบน และออกจากโคมไป
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การนาหลอดคอมแพกต์ ไปใช้ งาน
แต่ ถ้าเป็ นหลอดที่วาง ในแนวนอนนั้น
ปริมาณแสงจะลดลงถึง 40 เปอร์ เซนต์ ขึน้ อยู่กบั
ระยะห่ างระหว่ างตาแหน่ งติดตั้งหลอด และผนัง
ด้ านบนของโคม ว่ ามีค่ามากน้ อยเพียงใด ยิ่ง
ระยะห่ างน้ อยปริมาณแสงยิง่ ลดลงมาก สาหรับ
การใช้ งานหลอดคอมแพกต์ ฟลูออเรสเซนต์ ทีม่ ี
บัลลาสต์ อเิ ลคทรอนิกส์ ภายในตัวนั้น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การนาหลอดคอมแพกต์ ไปใช้ งาน
ในการทดสอบได้ ใช้ หลอดคอมแพกต์
ฟลูออเรสเซนต์ ในโคมสาหรับหลอด GLS 100
วัตต์ ซึ่งผลที่ได้ ไม่ ต่างจาก การใช้ หลอดคอม
แพกต์ ฟลูออเรสเซนต์ วางในแนวตั้งเท่ าใดนัก
โดยปริมาณแสงทีล่ ดลงจะอยู่ในช่ วง 5-10
เปอร์ เซนต์ เท่ านั้น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การนาหลอดคอมแพกต์ ไปใช้ งาน
แต่ ถ้าเปรียบเทียบระหว่ างโคมสาหรั บ
หลอด GLS 100 วัตต์ ที่มีช่องระบายอากาศ
ด้ านบนกับโคม สาหรับหลอด GLS ที่ปิดช่ อง
ระบายอากาศทั้งหมดแล้วจะพบว่ า โคมที่ปิด
ช่ องระบายอากาศทั้งหมดจะมีปริมาณแสงลดลง
มากกว่ า ซึ่งบางครั้งอาจมีค่าลดลงมากกว่ าโคมที่
ไม่ ปิดช่ องระบายอากาศถึง 6 เปอร์ เซนต์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อดีของหลอดคอมแพค
1. หลอดคอมแพคกินไฟเพียง 20% หรือน้ อย
กว่ า 4 เท่ า เมื่อเทียบกับหลอดไส้ โดยที่ให้ แสง
สว่ างเท่ ากัน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อดีของหลอดคอมแพค
2. อายุการใช้ งานนานกว่ าหลอดไส้ 3-10 เท่ า
หรือประมาณ 3,000-10,000 ชม.
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อดีของหลอดคอมแพค
3. ขณะให้ งานหลอดมีความร้ อนน้ อย จึงช่ วยลด
ภาระของเครื่องปรับอากาศ ทาให้
เครื่องปรับอากาศทางานน้ อยลง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อดีของหลอดคอมแพค
4. การติดตั้งทาได้ หลายทิศทาง และใช้ งานได้ ท้งั
ภายใน - นอกอาคาร (หลอดควรอยู่ในโคมเพราะ
หลอดไม่ กนั นา้ )
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อดีของหลอดคอมแพค
5. ให้ แสงสี เหลือง (WARM WHITE) แบบ
หลอดไส้ แสงสี ขาว (DAYLIGHT) เหมือน
ฟลูออเรสเซนต์ และแสงสี ธรรมชาติ (COOL
WHITE)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อดีของหลอดคอมแพค
6. ขั้วหลอดมาตรฐานติดตั้งแทนหลอดไส้ ชนิด
เกลียวได้ ทันที (หลอดคอมแพค บัลลาสต์
ภายใน)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อเสี ยของหลอดคอมแพค
1. มีราคาแพงกว่ าหลอดไส้ หลอด
คอมแพคบัลลาสต์ ภายในชนิดอิเลคทรอนิค
ราคาตา่ สุ ดประมาณ 120 บาท หลอดคอมแพค
บัลลาสต์ ภายในชนิดแกนเหล็ก ราคาประมาณ
285 บาท ชนิดบัลลาสต์ ภายนอก (หลอด
ตะเกียบ) ราคาหลอด 90 - 120 บาท
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อเสี ยของหลอดคอมแพค
2. หลอดคอมแพคบัลลาสต์ ภายในบัล
ลาสต์ และสตาร์ ทเตอร์ ปิดผนึกรวมอยู่เป็ นชุด
เดียวกัน ถ้ าชารุดต้ องเปลีย่ นใหม่ ท้งั ชุด ยกเว้ น
ชนิดบัลลาสต์ ภายนอก (หลอดตะเกียบ) เปลีย่ น
เฉพาะตัวที่เสี ยได้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อแนะนาใช้ หลอดคอมแพกต์
1. ใช้ กบั โคมไฟส่ องลงในกรณีให้ แสงทั่วไปถือ
ว่ าประหยัดพลังงานแสงสว่ างได้ มาก เมื่อ
เทียบกับการใช้ หลอด อินแคนเดสเซนต์ ใน
โคมไฟส่ องลง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อแนะนาใช้ หลอดคอมแพกต์
2. ใช้ แทนหลอดอินแคนเดสเซนต์ และฮาโลเจน
ได้ กรณีที่เป็ นทางด้ านการส่ องสว่ างทั่วไป
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อแนะนาใช้ หลอดคอมแพกต์
3. การเลือกใช้ ชนิดสี ของหลอดมีความสาคัญ
สาหรั บงานแต่ ละชนิด ถ้ าเป็ นความส่ องสว่ าง
ต่าก็ควรใช้ หลอดที่มีอุณหภูมิสีต่า คือสี เหลือง
หรื อหลอดวอร์ มไวท์ ถ้ าเป็ นความส่ องสว่ าง
สู งก็ควรใช้ หลอดที่มีอุณหภูมิสีสูง เช่ นหลอด
คูลไวท์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อแนะนาใช้ หลอดคอมแพกต์
4. การเปลี่ยนหลอดคอมแพกต์ฟลูออเรสเซนต์
แทนที่หลอดอินแคนเดสเซนต์ในโคมไฟส่อง
ลง ให้ระวังเรื่ องการระบาย ความร้อนซึ่ งทา
ให้ อายุการใช้งานของหลอดสั้นลงมากและ
ระวังเรื่ องแสงบาดตา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อแนะนาใช้ หลอดคอมแพกต์
5. บริ เวณที่จาเป็ นต้องปิ ดไฟไว้นานๆ เช่น
ไฟรั้ว ไฟทางเดิน อาจใช้หลอดคอมแพกต์
ฟลูออเรสเซนต์ ซึ่งมีอายุการใช้งาน นาน
กว่าหลอดอินแคนเดสเซนต์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อแนะนาใช้ หลอดคอมแพกต์
6. แบบที่มีบลั ลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ในตัวจะ
มีฮาร์มอนิกส์สูง กรณี ที่ตอ้ งใช้หลอด
จานวนมากให้ระวังปัญหาเรื่ องฮาร์มอนิก
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อแนะนาใช้ หลอดคอมแพกต์
7. หลอดคอมแพกต์ฟลูออเรสเซนต์ที่ใช้ใน
บริ เวณที่มีอุณหภูมิสูงเกินไปหรื อต่าเกินไป
ทาให้ปริ มาณแสงสว่าง จากหลอดลดลงมาก
ดังนั้นถ้าใช้หลอดประเภทนี้ตอ้ งพิจารณา
เรื่ องนี้โดยเฉพาะโคมที่มีการระบายอากาศไม่
ดี
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การพิจารณาเลือกใช้ หลอดไฟฟ้า
1. ฟลัก๊ การส่ องสว่ าง (Luminous Flux)
หมายถึงปริมาณแสงของหลอด
หน่ วยเป็ น lumen
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การพิจารณาเลือกใช้ หลอดไฟฟ้า
2. ประสิ ทธิผล (Luminous Eficacy)
หมายถึงจานวนปริมาณแสงต่ อวัตต์
หน่ วยเป็ น lumen/watt (lm/w)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การพิจารณาเลือกใช้ หลอดไฟฟ้า
3. ความถูกต้ องของสี (Color Rendering)
หมายถึงความถูกต้ องของสี วตั ถุเมือ่
ถูกส่ องด้ วยแสงจากหลอดไฟ
ว่ ามีความถูกต้ องมากน้ อย
เพียงใด หน่ วยเป็ นเปอร์ เซนต์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การพิจารณาเลือกใช้ หลอดไฟฟ้า
4. อุณหภูมสิ ี (Color Temperature) ของหลอด
มีหน่ วยเป็ นองศาเคลวิน (Kelvin)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การพิจารณาเลือกใช้ หลอดไฟฟ้า
5. มุมองศาการใช้ งาน (Burning Position) เป็ น
องศาในการติดตั้งหลอดตามที่ ผู้ผลิตกาหนด
ซึ่งมีผลต่ อหลอดบางชนิด
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การพิจารณาเลือกใช้ หลอดไฟฟ้า
6. อายุการใช้ งาน (Life) เป็ นอายุโดยเฉลีย่ ของ
หลอด หน่ วยเป็ นชั่วโมง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การพิจารณาเลือกใช้ หลอดไฟฟ้า
7. สถานที่ โดยหลอดไฟต้ องเหมาะสมกับ
สถานที่ นั้นๆ เช่ น ห้ องเรียน และสนามกีฬา
ต้ องการใช้ หลอดไฟต่ างกัน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การพิจารณาเลือกใช้ หลอดไฟฟ้า
8. อุณหภูม(ิ Temperature) เนื่องจากหลอดบาง
ชนิดอาจทางานไม่ ได้ เลยทีอ่ ณ
ุ หภูมติ า่ มากๆ
หรือให้ ปริมาณแสงน้ อยลง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การพิจารณาเลือกใช้ หลอดไฟฟ้า
9. คุณลักษณะการทางาน (Operaing
Characteristic) ได้ แก่เวลาในการจุดหลอด
(start) , การติดใหม่ อกี ครั้ง (restart) และความ
ต้ องการในการหรี่ไฟ เนื่องจาก
หลอดต่ างชนิดกันใช้ เวลาจุด
ไส้ หลอดต่ างกัน และบางชนิด
ไม่ สามารถหรี่ได้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การพิจารณาเลือกใช้ หลอดไฟฟ้า
10. ราคา (Cost) เป็ นค่ าใช้ จ่ายที่ต้องเสี ยไปใน
การลงทุนติดตั้งครั้งแรก รวมถึงค่ าบารุงรักษา
หลังติดตั้ง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การพิจารณาใช้ งาน
1. กรณีทใี่ ช้ กบั เพดานสู งเกินกว่ า 5-7
เมตร หลอดประเภทนีไ้ ม่ เหมาะเพราะต้ องใช้
จานวนโคมมากหรืออายุการใช้ งาน ไม่ มากพอ
ทาให้ ต้องเปลีย่ นหลอดบ่ อยต้ องเสี ยค่ าใช้ จ่าย
ในเรื่องการบารุงรักษามาก
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การพิจารณาใช้ งาน
2. ถ้ าจาเป็ นต้ องใช้ หลอดประเภทนีท้ ี่
เพดานสู งเกินกว่ า 7 เมตรเช่ นที่ใช้ ในหลืบ เป็ น
ต้ น อาจใช้ หลอดและวงจรแรปิ ดสตาร์ ท(Rapid
start) ซึ่งมีอายุการใช้ งานประมาณ 20000 ชม.
เมือ่ เทียบกับหลอดอุ่นไส้ (Preheat)ทีม่ อี ายุการ
ใช้ งานโดยเฉลีย่ 8000-10000 ชม.
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การพิจารณาใช้ งาน
3. การใช้ งานของหลอดฟลูออเรสเซนต์
ควรเลือกสี หลอดใช้ ให้ ถูกต้ องจะทาให้ คุณภาพ
การให้ แสงดีขนึ้ สี ของหลอด ฟลูออเรสเซนต์ มี
ทั้งหลอด เดไลท์ (6500 K) คูลไวท์ (42004500 K) และวอร์ มไวท์ (2700-3000K)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การพิจารณาใช้ งาน
4. งานที่ต้องการความส่ องสว่ างสู งกว่ า
500 ลักซ์ ควรใช้ หลอดเดไลท์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การพิจารณาใช้ งาน
5. งานที่ต้องการความส่ องสว่ าง 300-500
ลักซ์ ควรใช้ หลอดคูลไวท์ )
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การพิจารณาใช้ งาน
6. งานที่ต้องการความส่ องสว่างต่ากว่ า
300 ลักซ์ ควรใช้ หลอดวอร์ มไวท์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การพิจารณาใช้ งาน
7. ความส่ องสว่ างกับชนิดสี ของหลอดที่
แนะนาให้ ใช้ เป็ นพืน้ ฐานเท่ านั้น บางครั้งอาจไม่
เป็ นไปตามกฎเกณฑ์ ดงั กล่ าวเช่ นพืน้ ที่ใกล้เคียง
กันควรใช้ หลอดที่มีสีเดียวกัน ตัวอย่ างได้ แก่
บริเวณงานเลีย้ งในโรงแรมที่ใช้ หลอดอินแคน
เดสเซนต์ และ เมือ่ เปิ ดประตูออกไปถึงอีกพืน้ ที่
หนึ่งก็ควรใช้ หลอดที่มีสีหลอดใกล้เคียงกัน อาจ
ใช้ หลอดวอร์ มไวท์ เป็ นต้ น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การพิจารณาใช้ งาน
8 . หลอดฟลูออเรสเซนต์ ทวั่ ไป หรือฮาโล
ฟอตเฟตเมื่อใช้ งานไปนาน จะมีปริมาณแสง
ลดลง15-20% ปัจจุบันมีหลอดฟลูออเรส
เซนต์ ฟลัก๊ การส่ องสว่ างสู งได้ แก่หลอดฟลูออ
เรสเซนต์ แบบไตรแบนด์ หรือไฟว์ แบนด์ ที่ให้
ปริมาณแสงค่ อนข้ างคงที่ และมีสเปคตรัมสี
ดีกว่ าหลอดฟลูออเรสเซนต์ ธรรมดา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประสิ ทธิภาพของหลอดฟลูออเรสเซนต์ แบบต่ างๆดังนี้
หลอดฟลูออเรสเซนต์ ธรรมดา
45-80 ลูเมนต์
ต่ อวัตต์
หลอดฟลูออเรสเซนต์ ฟลัก๊ การส่ องสว่ างสู ง 73-93 ลูเมนต์
ต่ อวัตต์
(ไตรแบนด์ หรือไฟว์ แบนด์ )
หลอดคอมแพกต์ ฟลูออเรสเซนต์
35-80 ลูเมนต์
ต่ อวัตต์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การพิจารณาใช้ งาน
9. หลอดฟลูออเรสเซนต์ มฮี าร์ มอนิกส์ มาก
น้ อยขึน้ อยู่บัลลาสต์ ทใี่ ช้ ร่วมกับหลอด
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
ถนนเลียบวัง ตาบลหัวหิน
อาเภอหัวหิน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
77110
โทรศัพท์ 520500-520481(032)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สอบถามข้ อสงสั ยได้ ที่
แผนกช่ างไฟฟ้า
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
ถนนเลียบวัง อาเภอหัวหิน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77110
โทร.(032)520500 , 520481
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ