******* KM 3 - คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน

Download Report

Transcript ******* KM 3 - คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน

โครงการ KM 3
รีไซเคิลหลอดตะเกียบ
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กาแพงแสน
คุณสมบัตขิ องหลอดตะเกียบ
• หลอดตะเกียบกินไฟเฉลี่ยเพียง 25 % หรื อกินไฟ
น้อยกว่า 4 เท่า เมื่อเทียบกับหลอดไส้ที่ให้แสง
สว่างเท่ากัน
• มีอายุการใช้งานนานกว่าหลอดไส้ถึง 8 เท่า หรื อ
8,000 ชัว่ โมง
• ขณะใช้งานจะมีความร้อนน้อยกว่าหลอดไส้มาก
จึงช่วยลดภาระการทาความเย็นของเครื่ องทา
ความเย็น หรื อเครื่ องปรับอากาศได้มาก
• สามารถนาหลอดคอมแพคบัลลาสต์ภายในไป
ใช้ติดตั้งแทนหลอดไส้ที่มีอยูเ่ ดิมได้ทนั ที
• ลดค่าใช้จ่ายในการบารุ งรักษาและเปลี่ยนหลอด
เนื่องจากมีอายุการใช้งานนานกว่าหลอดไส้
หลอดตะเกียบจาแนกตามลักษณะการติดตั้ง
บัลลาสต์ สามารถจาแนกได้ 2 ชนิด ดังรูป
ข้ อเสี ยของหลอดตะเกียบ
• มีราคาแพงกว่าหลอดไส้ (แต่ถา้ พิจารณาถึงอายุ
การใช้งานที่เท่ากันแล้วหลอดตะเกียบจะ
ประหยัดกระแสไฟฟ้ าได้มากกว่า)
• หลอดตะเกียบบัลลาสต์ภายในชนิดมีบลั ลาสต์
และสตาร์ทเตอร์ติดผนึกเป็ นชุดเดียวกัน ถ้าเกิด
การชารุ ดต้องเปลี่ยนทั้งหมด
เปรียบเทียบหลอดตะเกียบกับหลอดไส้
เปรียบเทียบหลอดตะเกียบกับหลอดไส้
วัสดุและอุปกรณ์
•
•
•
•
•
•
•
หลอดตะเกียบที่เหลือทิ้ง (เสี ย)
คีมปากยาว
ไขควงวัดไฟ
มัลติมิเตอร์
หัวแร้งบัดกรี และตะกัว่
บัลลาสต์ชนิดใช้กบั หลอด PL.LAMP.
สตาท์เตอร์
วิธีทา
• 1. ใช้ไขควงปากแบนแกะหลอดไฟ แล้วใช้หวั
แร้งบัดกรี บลั ลาสต์เก่าออก
วิธีทา
• 2. นาหลอดไฟมาวัดด้วยมัลติมิเตอร์ เพื่อเช็คไส้
หลอดว่าขาดหรื อไม่ หากเข็มมิเตอร์ข้ ึนแสดงว่า
ยังใช้ได้ แต่ถา้ เข็มไม่ขยับแสดงว่าหลอดไฟขาด
วิธีทา
• 3. ประกอบสตาท์เตอร์เข้ากับหลอดไฟและ
บัดกรี สายไฟเข้ากับขั้วหลอดทั้งสองข้าง
วิธีทา
• 4. ประกอบบัลลาสต์และขั้วหลอดแบบกลม
(E27) แล้วนาหลอดไฟที่ประกอบเสร็ จแล้วมา
ทดสอบการทางาน
ประโยชน์ ที่ได้ รับจากโครงการ KM 3
• สามารถนาหลอดตะเกียบที่รีไซเคิลแล้ว ไปทดแทน
หลอดไส้ที่ใช้อยูท่ วั่ ไป
• ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซื้อหลอดไฟใหม่มาใช้
• สามารถลดขยะพิษที่เสี ยก่อนเวลาอันควรลงได้
• สามารถนาความรู ้ที่มีอยูพ่ ฒั นาต่อยอดให้เกิดประโยชน์
ต่อบุคลากรและผูอ้ ื่นได้
• ช่วยลดสภาวะโลกร้อนลงได้
ขอบคุณครับ
ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กาแพงแสน