ไฟล์เอกสารแนบ

Download Report

Transcript ไฟล์เอกสารแนบ

Motor Development
Lect. Onchuma Meungsorn
 พัฒนาการปกติข้ น
ึ อยู่กบั
 พัฒนาการของระบบประสาท
 พันธุกรรม
 การเลี้ยงดู
 ประสบการณ์และสภาพแวดล้ อม
 พัฒนาการเคลื่อนไหว = พัฒนาการความรู้สกึ และการเคลื่อนไหว
Sensory
•Tactile
•Proprioception
•Kinesthetic
•Vision
•Vestibular
เรียนรู้ซา้ ๆ/ทาการเคลื่อนไหวซา้ ๆ
พัฒนาการเคลื่อนไหว
 ลักษณะเฉพาะของพัฒนาการ
 เป็ นกระบวนการที่ต่อเนื่องกัน
 ลาดับของพัฒนาการจะเหมือนกันในเด็กทุกคน
 พัฒนาการจะสัมพันธ์กบ
ั ขั้นการเจริญของสมอง
 พัฒนาการจะดาเนินไปในทิศทางจากศีรษะสู่ปลายเท้ า
 การตอบสนองต่อสิ่งเร้ าทางร่างกายจะค่อยๆพัฒนาไปเป็ นการสนองตอบที่แสดงออก
โดยมีความจาเพาะ
พัฒนาการของเด็กปกติ
 แบ่งออกเป็ น 4 ลักษณะ
 พฤติกรรมทางการเคลื่อนไหว
 พฤติกรรมทางด้ านการปรับตัว เช่น การประสานระหว่างตากับมือ
 พฤติกรรมทางด้ านการสื่อสาร
 พฤติกรรมทางด้ านอารมณ์และสังคม
1 เดือน
2 เดือน
3 เดือน
4 เดือน
5 เดือน
6เดือน
7
8
9
10
11
12
2 ปี
3 ปี
4 ปี
5 ปี
Muscle testing in pediatric
 Muscle power สัมพันธ์กบ
ั พัฒนาการการเคลื่อนไหว
 การแบ่งเกรดของ muscle power มีดงั นี้
 F,WF, NF, 0
 Functional (F)
Normal for age or only impairment delay
 Weak functional (WF)
Moderate impairment or delay that affects activity
pattern, base of support, or control against gravity, or
decreases functional exploration
 Nonfunctional (NF)
Severe impairment or delay; activity pattern has only
element of correct muscular activity
 No function (0)
Cannot do activity
Reflexes in child
Lect. Onchuma Meungsorn
พัฒนาการด้านปฏิกริ ยิ าอัตโนมัต ิ
 การพัฒนาการด้ าน reflex ของทารกเป็ นไปตามลาดับขั้น คือ
Spinal cord  brain stem  mid brain  cortical
 การเคลื่อนไหวของทารกเปลี่ยนแปลงไปตามลาดับพัฒนาการของสมอง
 เมื่อระบบประสาทระดับสูงถูกพัฒนาขึ้น การควบคุมการเคลื่อนไหวที่เกิดจาก
reflex ระดับต่ากว่าจะหมดไป ก่อให้ เกิดการเคลื่อนไหวใหม่ท่จี าเป็ นต้ องมี
ขึ้น
 ถ้ ามี Lesion ที่ CNS  reflex ในระดับต่าปรากฎออกมา
พัฒนาด้าน reflex สามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 แบบ
1.
ตามลาดับการพัฒนาของระบบประสาทส่วนกลาง
2.
ตามการปรากฏขึ้นและหายไปของปฏิกริ ิยานั้น
ลาดับการพัฒนาของระบบประสาทส่วนกลาง
มี 5 ระดับ
1.Spinal
2. Brainstem
3. Midbrain
4. Autonomic Movement Reaction
5. Cortical
1. ระดับ spinal
 เป็ น apedal reflex ชนิด phasic
 เกิดขึ้นที่แขนขาในลักษณะ flexion หรือ
extension เท่านั้น
Eg. Flexor withdrawal, Extensor thrust,
Crossed extension
2. ระดับ brainstem
 เป็ น apedal reflex ชนิด static postural reflex
 เป็ น reflex ที่เปลี่ยนแปลง tone ของกล้ ามเนื้อในร่ างกาย
เมื่อมีการเปลี่ยนตาแหน่งศีรษะและร่างกายในอากาศ หรือ
เมื่อมีการเคลื่อนไหวของศีรษะ
Eg. ATNR, STNR, TLP, TLS, Positive/Negative
supporting reaction
3. ระดับ mid brain
เป็ น quadrupedal reflex
 ใช้ ขาและมือทั้งสองข้ างในการเคลื่อนไหว  พัฒนาการด้ านพลิกตะแคงขึ้นนั่ง
คลานและนั่ง
Eg. Neck righting, Body righting acting on the body, Labyrinthine
righting acting on the head, Optical righting acting on the
head และ Amphibian

4. ระดับ Autonomic movement reaction
 เป็ น reflex ที่พบในทารกและเด็กเล็ก
 เกิดเมื่อมีการเปลี่ยนท่าของศีรษะ
 กระตุ้นที่ semicircular canal, labyrinths, หรือ neck proprioceptor
Eg. Moro, Landau, Protective extensor thrust (Parachute reaction,
Protective extension of the arms, Falling reaction)
5. ระดับ cortical
 เป็ น bipedal reflex
 ใช้ ขาทั้งสองข้ างในการเคลื่อนไหว
 จะมีการพัฒนาในเรื่อง equilibrium reaction พัฒนาการท่านั่งยืนและเดิน
Eg. Equilibrium reaction ในท่านอนหงาย นอนคว่า ตั้งคลาน นั่ง ยืน
แบ่งตามการปรากฏขึน้ และหายไปของ reflex
1.
Primitive reflexes

เป็ นปฏิกริ ิยาพื้นฐาน
 พบตั้งแต่แรกเกิด ลดลงในช่วงอายุหนึ่ง (ภายใน 1 ปี )
Eg.ส่วนใหญ่เป็ น reflex กลุ่ม spinal และ brain stem นอกจากนั้นยังมีกลุ่มอื่นๆ
Palmar grasp, Galant และ Primary walking
2. Autonomic reactions/ Postural reactions
 เป็ นปฏิกริ ิยาอัตโนมัติท่เี กิดขึ้นภายหลังและมีอยู่ตลอดชีวิต
 ทาให้ เกิดการทรงท่าและป้ องกันการล้ ม
Eg. Amphibian, Head righting, Equilibrium และ Protective
extension of arms
หลักการตรวจประเมินพัฒนาการของ reflex
 ไม่เปลี่ยนท่าทางบ่อยๆเลือกตรวจ reflex ที่อยู่ในท่าเดียวกันจนหมดแล้ วจึง
เปลี่ยน
 Reflex ที่ทาให้ กลัวตกใจ หรือบังคับควรเก็บไว้ ตรวจในตอนท้ าย
 การตรวจแต่ละครั้งหากมีการตอบสนองไม่คงที่ให้ ตรวจซา้ จนกว่าจะแสดงผลซา้
เหมือนกันสามครั้ง
 Reflex ใดที่สามารถตรวจแยกข้ าง ขวา ซ้ ายได้ ควรตรวจทั้งสองข้ างเปรียบเทียบ
กัน
การรายงานผลแบ่งออกเป็ น 3 ระดับคือ
 Complete response (C) = การตอบสนองเป็ นไปตามแบบของ reflex นั้นทุก
ประการ
 Incomplete response (I) = มีการตอบสนองเป็ นบางส่วน
 Absent (A) = มีการเคลื่อนไหวอื่น หรือไม่ตอบสนองตามแบบแผนของ reflex
 ในกรณีท่ตี รวจไม่ได้ จากทุกสาเหตุให้ บันทึก Not test (NT)