Powerpoint โครงการ - สถาบันวิจัยและพัฒนา

Download Report

Transcript Powerpoint โครงการ - สถาบันวิจัยและพัฒนา

โครงการ “ร่ วมสร้ างชุมชน
และท้
อ
งถิ
น
่
ให้
น
่
า
อย
่
”
ู
สำนักงำนกองทุนสนับสนุ นกำรสรำง
้
ความเป็ นมา
• ชุมชน/ท้ องถิ่นเป็ นฐานหลักของสั งคม
• แนวคิ ด การพั ฒ นาระดั บ ชุ ม ชนและท้ อ งถิ่ น ให้ เข้ ม แข็ ง น่ าอยู่
ปลอดภัย
• มี พัฒ นาการพึ่ง พาตนเองได้ อ ย่ า งยั่ง ยืน ทั้ ง ด้ า นสั ง คม การศึ ก ษา
สุ ขภาพ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สิ่ งแวดล้ อม
• จะส่ งผลให้ ประชาชนในชุมชนมีสุขภาวะทีด่ ี
• และหากทุกชุ มชน/ท้ องถิ่นมุ่งมั่นดาเนินการอย่ างกว้ างขวาง ประเทศ
ไทยก็จะพัฒนาอย่ างมีทศิ ทาง เป็ นประเทศทีน่ ่ าอยู่ทสี่ ุ ด
ความเป็ นมา
• ชุมชนจะเข้ มแข็ง น่ าอยู่ และพึง่ ตนเองได้ ต้ องอาศัยความรับผิดชอบ
การเรียนรู้ ร่ วมคิดร่ วมทา
• อาศัยความร่ วมมือและข้ อมูลทางวิชาการจากหน่ วยงานในท้ องถิ่นไม่
ว่ าจะเป็ นหน่ วยงานภาครัฐหรือเอกชน
• เพือ่ ปรับเปลีย่ นวิธีคดิ ปรับพฤติกรรมการผลิตและการบริ โภคโดยยึด
หลักปรั ชญาเศรษฐกิจพอเพียง รั กษาสิ่ งแวดล้ อม เน้ นการพึ่ งตนเอง
เป็ นสั งคมเอือ้ อาทร พึง่ พาอาศัยกันได้ และไม่ ทอดทิง้ กัน
ความเป็ นมา
• การสนั บสนุนโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้ องถิ่นให้
น่ าอยู่ ตัง้ แต่ปี 2553 เป็ นต้นมา ส่งผลให้เกิดแนวคิดใน
การพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่
– การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน การพัฒนาผูน้ าและส่งเสริมการ
รวมกลุ่มของชุมชน โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนให้
น่ าอยู่
– การส่งเสริมและปรับใช้ภมู ิ ปัญญาท้องถิ่น พัฒนาต่อยอดให้เกิดนวัตกรรมที่
เหมาะสม เพื่อนามาปรับใช้กบั วิถีชีวิตความเป็ นอยู่ของชุมชนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
– มุ่งเน้ น“การปรับทัศนคติ”และ“เสริมพลังชุมชน” พร้อมทัง้ เปิดโอกาสใน
การเรียนรู้และการเข้าถึงองค์ความรู้ของชุมชน
ความเป็ นมา
• โดย 4 ปี ที่ผา่ นมาสนับสนุนโครงการไปทัง้ สิ้นกว่า 1,100
โครงการ กระจาย 66 จังหวัดทัวประเทศ
่
• ผลการดาเนินงานพบว่า เกิดรูปแบบ “สภาผู้นาชุมชน”
ซึ่งเป็ นกลไกที่สาคัญในการขับเคลื่อนโครงการ
• ส่ ง ผลให้ เ กิ ด การมี ส่ ว นร่ ว มของคนในชุ ม ชนอย่ า ง
แท้ จริงในการจัดการปั ญหาด้ วยชุมชนและเพื่อชุมชน
ได้อย่างต่อเนื่ อง
ความเป็ นมา
• จนส่ งผลให้ การบริหารจัดการโครงการมีระบบและมีการประชุ มสภาผู้นาอย่ าง
สม่าเสมอ เกิด “ชุ มชนน่ าอยู่ด้วยการจัดการสิ่ งแวดล้อม”
– เช่ น การจัดการขยะด้ วยการเลีย้ งไส้ เดือนดิน
– จัดทาแผนทีช่ ุ มชนเพือ่ แสดงตาแหน่ งครัวเรือนทีป่ ลูกผัก
– ลดการใช้ สารเคมีในการทานา ค่ าใช้ จ่ายในการทาเกษตรลดลง
– รวมถึงมาตรการลดการเผาฟางข้ าวและซังข้ าวโพดเพือ่ ลดปัญหาหมอกควัน
– เกิด “ชุ มชนลดปัจจัยเสี่ ยงต่ อสุ ขภาพ”
• เช่ น การทานา้ ดืม่ สมุนไพรทดแทนการเลีย้ งสุ ราในงานศพ ใช้ ”รถเร่ เลิกเหล้ า”
• เป็ นกลยุทธ์ ในการเข้ าถึงพืน้ ที่ปลอดแอลกอฮอล์ มีการกาหนดกติกา ข้ อตกลง และมาตรการ
ของหมู่บ้านในการลดละเลิกเหล้ าในงานบุญประเพณีต่าง ๆ มีร้านค้ า/ผู้จาหน่ ายบุหรี่ประกาศ
เป็ นร้ านค้ าสี ขาว ประชาชนลด ละ เลิกเหล้ า จนทาให้ ปัญหาต่ าง ๆ ที่มีอยู่ในชุ มชนมีแนวโน้ ม
ลดลงอย่ างเห็นได้ ชัดเจน
วัตถุประสงค์
• เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาไปสู่ชุมชนและ
ท้องถิ่นที่น่าอยู่โดยชุมชนผ่านกระบวนการมีส่วน
ร่วมอย่างเป็ นระบบ ที่ครอบคลุมทัง้ 4 มิติ กาย
ใจ สังคม และ ปัญญา หรือในมิติใดมิติหนึ่ ง
คุณสมบัตขิ องผู้เสนอโครงการ
• ระดับหมู่บา้ น มีผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการอย่ างน้ อย 3-5 คน ประกอบด้ วย
ผู้ ใ หญ่ บ้ า นหรื อ ประธานชุ ม ชน สมาชิ ก อบต. เจ้ า หน้ า ที่ ส าธารณสุ ข
ข้ าราชการที่อยู่ในชุ มชน หรื อตัวแทนกลุ่มต่ างๆ ในชุ มชนที่ มีอยู่เดิ ม เช่ น
กลุ่มออมทรัพย์ ชมรมผูส้ ูงอายุ หรื อกลุ่มอื่นๆ เป็ นองค์ประกอบหลักในการ
ดาเนินโครงการ
• คณะผูร้ ับผิดชอบโครงการต้องมีภูมิลาเนาอยูใ่ นหมู่บา้ น หรื อตาบลนั้นๆ มี
ความตั้งใจในการศึกษาดูงาน ความมุ่งมัน่ อดทนในการพัฒนาโครงการ มี
ศัก ยภาพที่ จะบริ หารจัดการโครงการให้สาเร็ จได้ และมี โครงสร้ า งการ
บริ หารจัดการโครงการที่ชดั เจน
คุณสมบัตขิ องผู้เสนอโครงการ
• ชุมชนทีเ่ ข้ าร่ วมโครงการต้ องมีคุณสมบัติ หรือองค์ ประกอบดังนี้
– เป็ นชุ มชนทีม่ คี วามสนใจและมุ่งมัน่ ทีจ่ ะพัฒนาชุ มชนและท้ องถิ่นของตนเองให้ น่าอยู่
– เป็ นชุ มชนทีม่ แี นวโน้ มจะเกิดสภาผู้นาชุ มชนทีเ่ ข้ มแข็งและมีแกนนากลุ่มต่ างๆ ในหมู่บ้าน โดยมี
การบริหารจัดการด้ วย 8 ก. ซึ่งเป็ นองค์ ประกอบสาคัญในการขับเคลือ่ นงานในชุ มชน ได้ แก่
•
•
•
•
•
•
•
•
แกนนา กลุ่ม/องค์กร
กัลยาณมิตร
กองทุน
การจัดการ
การเรียนรู้
การสื่อสารเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์
กระบวนการพัฒนา
กฎกติกา/กฎระเบียบชุมชน
คุณสมบัตขิ องผู้เสนอโครงการ
• เป็ นชุมชนทีม่ ีการประชุมหมู่บ้านอย่ างสม่าเสมอ อย่ างน้ อยเดือน
ละครั้ง และมีการสารวจข้ อมูลพืน้ ฐานชุมชน เพือ่ การจัดทาแผน
ชุมชน
• แสดงให้ เห็นทุนเดิมของชุมชน เช่ น การทาประชาคมในชุมชน
การรวมกลุ่มในชุมชน กองทุนหมู่บ้าน สวัสดิการชุมชน แหล่ ง
เรียนรู้ ศูนย์ เรียนรู้ ชุมชน เป็ นต้ น
• เป็ นชุมชนในพืน้ ทีห่ ่ างไกล ด้ อยโอกาส หรือยังไม่ เคยได้ รับทุนจาก
สสส.
คุณสมบัตขิ องผู้เสนอโครงการ
• เป็ นชุมชนทีม่ ีการประชุมหมู่บ้านอย่ างสม่าเสมอ อย่ างน้ อยเดือน
ละครั้ง และมีการสารวจข้ อมูลพืน้ ฐานชุมชน เพือ่ การจัดทาแผน
ชุมชน
• แสดงให้ เห็นทุนเดิมของชุมชน เช่ น การทาประชาคมในชุมชน
การรวมกลุ่มในชุมชน กองทุนหมู่บ้าน สวัสดิการชุมชน แหล่ ง
เรียนรู้ ศูนย์ เรียนรู้ ชุมชน เป็ นต้ น
• เป็ นชุมชนในพืน้ ทีห่ ่ างไกล ด้ อยโอกาส หรือยังไม่ เคยได้ รับทุนจาก
สสส.
ทุนสนับสนุน
• ขัน้ ตอนการพิจารณาโครงการและการสนับสนุนโครงการ
• ผูส้ นใจเสนอโครงการตามแบบฟอร์ม “ข้อเสนอแนวคิดโครงการ” โดยขอให้แสดงรายละเอียด
ให้ชดั เจน และกิจกรรมต้องเชื่อมโยงกับการสร้างเสริมสุขภาพ โดยมุ่งที่จะทาให้เกิดผลลัพธ์ตาม
เป้ าหมายที่กาหนด
• สสส. พิจารณาคัดเลือกข้อเสนอแนวคิดโครงการที่เข้าข่ายการสนับสนุนตามแนวทางที่กาหนด
• ผูร้ บั ผิดชอบโครงการพัฒนาข้อเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ให้ชดั เจนและ
สมบูรณ์ โดย สสส. สนับสนุนทุน
– ในภูมิภาคเหนื อ ตะวันออกเฉี ยงเหนื อ (เน้ นจังหวัดหนองบัวลาภู มุกดาหาร บึงกาฬ) กลาง
ตะวันตก และตะวันออก (เน้ นจังหวัดชลบุรี อุทยั ธานี อ่างทอง สระบุรี พระนครศรีอยุธยา
สมุทรปราการ และนนทบุรี
– สนับสนุนทุนชุมชนละ 1 โครงการ ๆ ละไม่เกิน 200,000 บาท ระยะเวลา 12-15 เดือน
ระยะเวลาดาเนินการ
กิจกรรม
สสส. เปิดรับ
โครงการ
สสส. พิจารณา
อนุมตั ิ โครงการ
ช่วงเวลาเริ่มต้น
โครงการ
ระยะเวลา
ตัง้ แต่วนั ที่ 15 กุมภาพันธ์ – 31
มีนาคม 2557
ภายในเดือน พฤษภาคม 2557
ตัง้ แต่วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2557 เป็ นต้น
ไป
- เกิดการมีส่วนร่ วม
เกิดผู้นาแกนนาเข้ มแข็ง
- เกิดสภาพผู้นาชุ มชน
- เกิดกิจกรรมและทาร่ วมกันใน
ชุ มชน
- เกิดกลุ่มองค์ กรร่ วมพัฒนาใน
ชุ มชน
- ปลอดอุบัติเหตุ/ปลอด
อบายมุข (เหล้ า บุหรี่ การพนัน
ยาเสพย์ติด)
- ไม่ มีขโมย
- มีกลุ่มเครือข่ ายเฝ้ าระวังภัยใน
ชุ มชน
แนวทางประเด็นที่ควรจัดทา
โครงการชุมชนน่ าอยู่
ความสามัคคี
ชุ มชน
ปลอดภัย
อาหารปลอดภัย
- ปลูกผักปลอดสารเคมี/ทานา
อินทรีย์
- ประชาชนมีพฤติกรรมบริโภค
อาหารทีป่ ลอดภัย
แหล่ งเรียนรู้
ชุ มชน
น่ าอยู่
สิ่ งแวดล้อม
- ชุ มชนตระหนักเรื่องสิ่ งแวดล้อม
- กลุ่มอนุรักษ์ ดุแลสิ่ งแวดล้อม
- ขยะในชุ มชนลดลง
- เกิดกิจกรรมสร้ างสรรค์ /อนุรักษ์
ดูแลรักษาสิ่ งแวดล้ อม
- บ้ านสะอาด ถนนน่ ามอง น่ าดู
คลองสะอาด
เศรษฐกิจ
พอเพียง
- อนุรักษ์ ภูมิปัญญาท้ องถิ่น
- กลุ่มเครือข่ ายปราชญ์ ชุมชน
- มีการถ่ ายทอดองค์ ความรู้
- เกิดคลังความรู้ วัฒนธรรม
ภูมิปัญญา
- มีกจิ กรรมสื บทอดงานบุญ
ประเพณี
- มีการรวบรวมข้ อมูล
- กลุ่มอาชี พ, กลุ่มออมทรัพย์
- มีการผลิตของใช้ ในครัวเรือน
- ลดต้ นทุนการผลิตการทา
เกษตร
- กลุ่มเศรษฐกิจพอเพียง (ปลูก
ข้ าว เลีย้ งสั ตว์ ผลิตภัณฑ์ )
ครอบครัวอบอุ่น
- ไม่ มีการทะเลาะวิวาท
- ดูแลผู้สูงอายุ
- ปลูกฝังค่ านิยมเด็กและเยาวชน
- มีกจิ กรรมร่ วมกันในครอบครั ว
- กติกาครัวเรือน
- ครอบครัวปลอดเหล้ า ปลอดบุหรี่
ชุมชนน่าอยู่
ยึดแนวคิด 3 ประการ
 เป็ นเรื่องที่ชาวบ้ านอยากทา
หรือสอดคล้ องกับปั ญหาของชุมชน
 เวลาทาคนในชุมชนต้ องมีส่วนร่ วม
 ผลที่เกิดต้ องเป็ นประโยชน์ กับประชาชน ทัง้ ชุมชน
ความใฝ่ ฝั น /เป้าหมาย
๘
๗
๖
สถานการณ์ ปัจจุบัน
โครงการ
หลักในการเขียน
• ต้องมาจากสถานการณ์ปัญหา หรือสิ่งดีๆในพืน้ ที่
• กระบวนการดาเนินงานก่อน ระหว่าง หลัง โครงการต้อง
แสดงถึง การร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมวางแผน ร่วมทา
ร่วมติดตามประเมินผล และร่วมแก้ปัญหาของชุมชน
• แสดงให้เห็นถึงผูร้ บั ประโยชน์ จากผลที่เกิดขึน้ อย่าง
ชัดเจน
• ผลสาเร็จของโครงการแสดงให้เห็นเป็ นรูปธรรมและมี
หลักฐานเชิงประจักษ์
ข้ อควรระวัง
• คิดแทน ครอบงา ทาให้
• เกิดจาก คน ๆ เดียว หรือ คนนอกชุมชน
• ไม่ มคี วามสั มพันธ์ กนั ระหว่ าง ปัญหา สาเหตุ วัตถุประสงค์ การ
ดาเนินงาน
• บอกไม่ ได้ ว่า อะไรคือความสาเร็จ
• และความสาเร็จนั้นเกิดประโยชน์ อะไรกับชุมชน
• สุ ดท้ าย ความสาเร็จทีเ่ กิดช่ วยแก้ ปัญหาทีม่ ีอยู่ของชุมชนได้
หรือไม่
โครงการชุมชนน่าอยู่
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
[email protected]
0815922444
[email protected]
0810747037
นายพีรวัฒน์ คิดกล้ าโครงการชุมชนน่าอยู่
ที่อยู่ 88 หมู่ 3 ตาบลท่าสว่าง
อาเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
นายสุวฒ
ั น์ คุรุวาสี
31 หมู่ 11 บ้ านปากปวน ตาบลปากปวน
อ.วังสะพุง จ. เลย
42130
โครงการชุมชนน่าอยู่
สานักสร้ างสรรค์นวัตกรรมและโอกาส ( สานัก6 )
99/8ซอยงามดูพลี อาคารศูนย์เรี ยนรู้สสู่ ขุ ภาวะ
การส่ งโครงการ
•
•
•
•
•
•
โครงการเปิ ดรับทัว่ ไป
สานักสร้างสรรค์นวัตกรรมและโอกาส ( สานัก6 )
99/8 ซอยงามดูพลี อาคารศูนย์เรี ยนรู ้สู่ สุขภสวะ
เขตสาทร
กทม
10120