Transcript 8.DHF

อัตราส่ วนจานวนภาชนะเก็บกักนา้ ภายใน
ครัวเรือนที่ไม่ มีการป้องกันลูกนา้ มี
ความสัมพันธ์ กับอุบัตกิ ารณ์ การเกิดโรค
ไข้ เลือดออกในชุมชนหรือไม่
นสพ.นิติพฒั น์ วัฒนจิตศิริ
นสพ.เจษฎา พิมพ์รัตน์
หลักการและเหตุผล
มีการระบาดของไข้เลือดออกในจังหวัดพิษณุโลกทุกปี
แม้วา่ จะมีการประชาสัมพันธ์ให้มีการป้ องกันการเกิด
โรคด้วยวิธีการต่างๆ ให้ประชากรในชุมชนทราบแล้ว
ก็ตาม
็ อ้ งมีการ
 การป้ องกันการระบาดของไข้เลือดออกที่ดีกต
กาจัดยุงลายที่มีประสิ ทธิ ภาพทาให้ลดอุบตั ิการณ์การ
เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชนได้

ทบทวนวรรณกรรม

จากการสารวจของกรมควบคุมโรคติดต่อที่ได้สารวจ
แหล่งเพาะพันธุ์ยงุ ลายในภาคต่างๆ ปี 2533 พบว่า
แหล่งเพาะพันธุ์ยงุ ลายร้อยละ 70.82 เป็ นแหล่งเก็บกัก
น้ าภายในเขตครัวเรื อน ทั้งที่เป็ นน้ าดื่มและน้ าใช้ ร้อย
ละ 15.68 เป็ นแหล่งน้ าจานรองขาตูก้ นั มด ที่เหลือเป็ น
แหล่งอื่นๆที่มีน้ าขังได้ในชุมชน เช่น ยางรถยนต์
คาถามหลัก

จานวนภาชนะเก็บกักนา้ ภายในครัวเรือนทีไ่ ม่ มกี าร
ป้องกันลูกนา้ มีความสั มพันธ์ กบั จานวนผู้ป่วยด้ วยโรค
ไข้ เลือดออกในชุมชนหรือไม่
คาถามรอง

จานวนภาชนะเก็บกักนา้ ภายในครัวเรือนทีไ่ ม่ มกี าร
ป้องกันลูกนา้ เป็ นปัจจัยเสี่ ยงทีท่ าให้ เกิดโรค
ไข้ เลือดออกในชุมชนหรือไม่
วัตถุประสงค์ การวิจัย

เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของจานวนแหล่งเก็บกัก
น้ าในเขตครัวเรื อน ที่ไม่มีการป้ องกันลูกน้ ากับ
จานวนผูป้ ่ วยโรคไข้เลือดออกภายในชุมชน
ผลที่คาดว่ าจะได้ รับ
ส่ งเสริ มการป้ องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกใน
ชุมชน โดยการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยงุ ลายในเขต
ครัวเรื อน
 ทราบถึงอัตราความเสี่ ยงของประชากรในชุมชนที่มี
ภาชนะเก็บกักน้ าที่ไม่มีการป้ องกันลูกน้ าที่จะป่ วยเป็ น
โรคไข้เลือดออก

ระเบียบวิธีการวิจัย


รูปแบบการวิจัย
Cross Sectional Analytic Study
กลุ่มประชากรทีท่ าการศึกษา
ศึกษาเปรี ยบเทียบในชุมชน 2 ชุมชนที่มีอุบตั ิการณ์ของโรค
ไข้เลือดออกในชุมชน โดยสารวจประชากรเป็ นหลังคาเรื อน เพื่อ
เก็บข้อมูลการเกิดโรคไข้เลือดออกภายในครอบครัวนั้นๆภายในปี
พ.ศ.2545 และข้อมูลจานวนแหล่งเก็บกักน้ าในเขตครัวเรื อน
ขนาดประชากร

กำหนดกำรสำรวจและสอบถำมภำยในชุมชน หมูท่ ี่ 1
และหมูท่ ี่ 2 หมูบ่ ้ ำนวังส้ มซ่ำ ตำบลท่ำโพธิ์ อำเภอ
เมือง จังหวัดพิษณุโลก โดยใช้ กลุม่ ตัวอย่ำงในกำร
สำรวจและสอบถำม จำนวนชุมชนละ 25 หลังคำเรื อน
การคัดเลือกกลุ่มประชากร

คัดเลือกบ้ ำนที่จะทำกำรสำรวจโดยวิธีกำรสุม่ เลือก
บ้ ำนที่อยูต่ ิดกันภำยในรัศมี 50 เมตรจำกจุดเริ่ มต้ นใน
กำรสำรวจ เนื่องจำกมีกำรศึกษำพบว่ำยุงลำยจะหำ
กินภำยในเขตรัศมี 50 เมตรเท่ำนัน้
อคติการวิจัย
ยุงลายที่แพร่ กระจายมาจากแหล่งอื่นนอกชุมชน เช่น
ทางรถยนต์
 ผลกระทบจากปั จจัยอื่น เช่น การพ่นยาฆ่าแมลง,การ
นอนกางมุง้ ,การเลี้ยงปลากินลูกน้ า เป็ นต้น ชึ่งจะมีผล
ต่อการเพาะพันธุ์ยงุ ลาย
 ผลกระทบจากค่าลูกน้ ายุงลาย BI ,CI และ HI

เครื่องมือการวิจัย
การสัมภาษณ์เก็บข้อมูลชุมชนตามแบบสอบถาม
 ผูท
้ าการวิจยั เก็บข้อมูลบันทึกข้อมูลเพิ่มเติมจากการ
เดินสารวจภายในบริ เวณบ้าน

ตัวอย่างแบบสอบถาม
แบบสอบถามการวิจัย : ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกำรเกิดโรคไข้ เลือดออกและ
แหล่งเก็บกักน ้ำที่ไม่มีฝำปิ ดในเขตครัวเรื อนภำยในชุมชน
 บ้ ำนเลขที่...........................................
 จำนวนผู้อยูอ่ ำศัย................................คน
 จำนวนสมำชิกในครอบครัวที่ได้ รับกำรวินิจฉัยว่ำเป็ นโรค
ไข้ เลือดออกภำยใน ปี 2545 มี.......คน
 จำนวนแหล่งเก็บกักน ้ำในเขตครัวเรื อน
 1.
ภำชนะเก็บกักน ้ำที่มีฝำปิ ด มีจำนวน ......................
 2.
ภำชนะเก็บกักน ้ำที่ไม่มีฝำปิ ด (ใส่ทรำยอะเบท) มีจำนวน .........
 3.
ภำชนะเก็บกักน ้ำที่ไม่มีฝำปิ ด (ไม่ใช้ ทรำยอะเบท) มีจำนวน ......
การวิเคราะห์ ข้อมูล

เป็ นการศึกษาวิจยั ในรู ปแบบ Cross Sectional Analytic Study โดย
นาข้อมูลที่เก็บมาได้จะมี 2 ตอน คือ
ตอนที่1 : ควำมสัมพันธ์ของจำนวนภำชนะเก็บกักน ้ำที่ไม่มีฝำปิ ด
และไม่มีกำรป้องกันลูกน ้ำยุงลำยมีผลต่อจำนวนผู้ป่วยโรค
ไข้ เลือดออกในชุมชนหรื อไม่
ข้ อมูล : ข้ อมูลเชิงคุณภำพ (ได้ ข้อมูลจำกกำรนับ)
การวิเคราะห์ ข้อมูล : Pearson Chi-Square
การวิเคราะห์ ข้อมูล
ตอนที่ 2 : กำรศึกษำจำนวนภำชนะเก็บกักน ้ำภำยในครัวเรื อนที่
ไม่มีกำรป้องกันลูกน ้ำเป็ นปั จจัยเสีย่ งที่ทำให้ เกิดโรคไข้ เลือดออก
ในชุมชนหรื อไม่
ข้ อมูล : ข้ อมูลเชิงคุณภำพ (ได้ ข้อมูลจำกกำรนับ)
การวิเคราะห์ ข้อมูล : Case-Control เพื่อหำค่ำ Relative
Risk และ Odds ratio
กรอบความคิด
ปั จจัยทีก
่ ระทบ
้
-การใชสารเคมี
กาจัดยุง
-การป้ องกันยุงกัด
-แหล่งเพาะพันธุย
์ งุ อืน
่ ๆ
ชุมชนที1
่
มีการระบาดของไข ้เลือดออกมาก
ชุมชนที่ 2
มีการระบาดของไข ้เลือดออกน ้อย
ความแตกต่างของแหล่งเก็บกัก
น้ าภายในครัวเรือนของทัง้ 2ชุมชน
ผลการศึกษา
ตอนที่1 : ควำมสัมพันธ์ของอัตรำส่วนจำนวนภำชนะเก็บกัก
น ้ำที่ไม่มีกำรป้องกันลูกน ้ำยุงลำยมีผลต่อจำนวนผู้ป่วยโรค
ไข้ เลือดออกในชุมชนหรื อไม่
ตาราง : แสดงจำนวนจำนวนภำชนะเก็บกักน ้ำภำยในครัวเรื อนที่มีกำรป้องกัน
ลูกน ้ำ กับจำนวนภำชนะเก็บกักน ้ำภำยในครัวเรื อนที่ไม่มีกำรป้องกันลูกน ้ำชุมชน
หมูท่ ี่ 1 และหมูท่ ี่ 2 บ้ ำนวังส้ มซ่ำ ตำบลท่ำโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
หมู่ที่
ภาชนะที่ไม่มี
ภาชนะที่มีการ
รวม
(อุบตั ิการณ์
การป้ องกัน
ป้ องกันลูกน้ า
ไข้เลือดออก)
ลูกน้ ายุงลาย
ยุงลาย
2(อุบตั ิการณ์
สูง)
38
161
199
1(อุบตั ิการณ์ต่า)
11
125
136
รวม
49
289
335
Chi-square


Chi-square
=
335*((38*125)-(161*11))2/(49*286*199*136)
=
7.84
อัตราส่ วนจานวนภาชนะที่ไม่ มีการป้องกันลูกนา้
มีผลทาให้ อุบัตกิ ารณการเกิดโรคไข้ เลือดออกใน
ชุมชนเพิ่มขึน้ อย่ างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ่ รี ะดับ
ความเชื่อมั่น > 99% (p<0.01)
ตอนที่ 2 : กำรศึกษำจำนวนภำชนะเก็บกักน ้ำภำยในครัวเรื อนที่ไม่มี
กำรป้องกันลูกน ้ำเป็ นปั จจัยเสี่ยงที่ทำให้ เกิดโรคไข้ เลือดออกในชุมชน
หรื อไม่
ตาราง แสดงจำนวนผู้ป่วยด้ วยไข้ เลือดออกภำยใน ปี พ.ศ.2545 ของชุมชนหมูท่ ี่ 1
และชุมชนหมูท่ ี่ 2 บ้ ำนวังส้ มซ่ำ ตำบลท่ำโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
หมูท่ ี่
จำนวนผู้ป่วยโรค
ไข้ เลือดออก
จำนวนประชำกรที่ทำกำร
สำรวจ
รวม
2
8
105
113
1
3
86
89
รวม
11
191
202
ตอนที่ 2(ต่อ)

Odds ratio
= 2.18
จริยธรรมในการวิจัย

เนื่องจากการศึกษานี้เป็ นการศึกษาเกี่ยวกับจานวนภาชนะเก็บกักน้ า
ที่ไม่มีฝาปิ ดในครัวเรื อนว่ามีความสัมพันธ์กบั การเกิดโรค
ไข้เลือดออกในชุมชนหรื อไม่ โดยทาการเก็บข้อมูลจากการ
สัมภาษณ์ ตามแบบสอบถามที่ได้จดั ทาขึ้น ซึ่งจะทาการสัมภาษณ์
โดยผูท้ าการวิจยั ไม่มีการบันทึกชื่อผูถ้ ูกสัมภาษณ์ และไม่มีการ
นาเสนอข้อมูลที่จะส่ งผลกระทบต่อผูถ้ ูกสัมภาษณ์ แต่อย่างใด จึง
เชื่อได้วา่ จะไม่มีผลกระทบต่อจริ ยธรรมการวิจยั ทางการแพทย์