ตาและการมองเห็น - eDLTV เพื่อพัฒนาอาชีพ

Download Report

Transcript ตาและการมองเห็น - eDLTV เพื่อพัฒนาอาชีพ

การส่ องสว่ าง
เสนอ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายร่ ุงโรจน์ หนูขลิบ
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาเกีย่ วกับแหล่ งกาเนิดแสง และ
การมองเห็น หน่ วยวัด คุณสมบัตขิ อง
แสง โครงสร้ างส่ วนประกอบ ของ
หลอดไฟฟ้า การนาไปใช้ งาน ลักษณะ
การให้ แสงแบบต่ าง ๆ ชนิดของโคม
ไฟฟ้า การเลือกโคมไฟฟ้า
ภายในและนอกอาคาร
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
จุดประสงค์ รายวิชา
เพือ่ ให้ มคี วามรู้ ความเข้ าใจเกีย่ วกับ
1. แหล่งกาเนิดแสง คุณสมบัตขิ องแสง
2. การเลือกใช้ หลอดไฟฟ้าและโคมไฟฟ้า
3. เพือ่ ให้ มีเจคติที่ดตี ่ ออาชีพ มีความมั่นใจ
ภาคภูมใิ จในวิชาชีพทีเ่ รียน รักงาน รัก
หน่ วยงาน และน้ อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงมาประยุกต์ ใช้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
มาตรฐานรายวิชา
1. เข้ าใจแหล่งกาเนิดแสงและคุณสมบัตขิ องแสง
2. หาความเข้ มการส่ องสว่างตามสถานที่ใช้ งาน
3. เลือกชนิดของหลอดและดวงโคม
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
เนือ้ หาสาระ
ในการดารงชีวติ แสงเป็ นปัจจัยหนึ่งที่
สาคัญมากของมนุษย์ ใช้ แสงสว่ างจากดวง
อาทิตย์ เพือ่ ช่ วยให้ มองเห็นได้ ในเวลากลางวัน
ส่ วนเวลากลางคืนใช้ แสงจากแหล่งอืน่ ๆ ช่ วย
ให้ สามารถทากิจกรรมต่ างๆ ได้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
เนือ้ หาสาระ
การทีม่ นุษย์ จะมองเห็นได้ ดจี ะต้ องมี
ปัจจัยประกอบกันอย่ างเหมาะสม ทั้งที่ดวงตา
ทีส่ มบูรณ์ และแสงทีม่ คี ุณสมบัตชิ ่ วงความยาว
คลืน่ ที่เหมาะสม ในด้ านแสงเงา ที่เรียกว่ าการ
ส่ องสว่ าง ให้ มคี วามรู้ ความเข้ าใจก่อนศึกษาใน
ขั้นตอนต่ อไป
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
จุดประสงค์ ครั้งนี้
เพือ่ ให้ มคี วามรู้ ความเข้ าใจ และ
สามารถนาไปใช้ ได้ เกีย่ วกับ
1. ส่ วนประกอบของตา
2. หลักการมองเห็น
3. ชนิดของดวงตา
4. การผิดปกติของดวงตา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
เนือ้ หาที่นาเสนอครั้งนี้
1. ส่ วนประกอบของตา
2. หลักการมองเห็น
3. ชนิดของดวงตา
4. การผิดปกติของดวงตา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ... วิศวกรรมการส่องสว่าง ....
ชื่อผู้แต่ ง..... มงคล ทองสงคราม .....
สานักพิมพ์ ..... ซีเอ็ดยูเคชั่น จากัด......
ปี ทีพ่ มิ พ์ ....2538........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ... วิศวกรรมการส่องสว่าง ....
ชื่อผู้แต่ ง..... ศุลี บรรจงจิตร .....
สานักพิมพ์ ..... ซีเอ็ดยูเคชั่น จากัด......
ปี ทีพ่ มิ พ์ ....2538........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ... พื้นฐานวิศวกรรมการส่องสว่าง ....
ชื่อผู้แต่ ง..... อ.ไชยะ แช่ มช้ อย .....
สานักพิมพ์ .....เอ็มแอนด์ อี จากัด........
ปี ทีพ่ มิ พ์ ....2550........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ..การส่ องสว่าง..
ชื่อผู้แต่ ง.....วิทย์ อ้นจร และคณะ.....
สานักพิมพ์ ..... ศูนย์ ส่งเสริมวิชาการ........
ปี ที่พมิ พ์ ....2549........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ..การส่ องสว่ าง..
ชื่อผู้แต่ ง.....วัฒนา ถาวร .....
สานักพิมพ์ ... สมาคมส่ งเสริมเทคโนโลยี่
(ไทยญี่ปุ่น)....
ปี ที่พมิ พ์ ....2536........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ทบทวน
ความหมายของแสง
ประวัติและการค้ นพบแสง
แหล่ งกาเนิดแสง
แสงเปลีย่ นเป็ นพลังงานรูปอืน่
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ความหมายของแสง
แสง คือ พลังงานที่ทาให้ ประสาทนัยน์ ตา
ของคนปกติ เกิดความรู้ สึกในการมองเห็นและ
สามารถเปลีย่ นเป็ นพลังงานรู ปแบบอืน่ ได้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ความหมายของแสง
แสง คือ เป็ นพลังงานรู ปหนึ่งทีเ่ คลือ่ นที่
ได้ การเคลือ่ นทีข่ องพลังงานแสงจะอยู่ในรู ป
ของคลืน่ ซึ่งมีช่วงความยาวคลืน่ อยู่ระหว่ าง
380-760 นาโนเมตร (nanometres) ช่ วงความ
ยาวคลืน่ ของพลังงานแสงดังกล่าวช่ วยทาให้
เกิดการเห็น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ความยาวคลืน่ ที่มองเห็น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ความยาวคลืน่ ที่มองเห็น
ช่ วงความยาวคลืน่ อยู่ระหว่ าง 380-760 นาโนเมตร
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ความยาวคลืน่ ที่มองไม่ เห็น
ช่ วงความยาวคลืน่ น้ อยหรือมากกว่ า 380-760 นาโนเมตร
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประวัติและการค้ นพบแสง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประวัติและการค้ นพบแสง
แสงสว่ างจากดวงอาทิตย์ เป็ นแหล่ งกาเนิดแสง
ทีใ่ หญ่ ทสี่ ุ ด และสาคัญทีส่ ุ ด ใช้ พลังงานความร้ อน
และพลังงานแสงมา ตั้งแต่ อดีตกาล เพือ่ ใช้ ในการ
มองเห็นและทามาหากิน แต่ แสงสว่ างจาก ดวง
อาทิตย์ มีเฉพาะกลางวันเท่ านั้น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประวัติและการค้ นพบแสง
ซึ่งทาให้ ยากลาบาก ในการทากิจกรรมต่ างๆ ในเวลา
กลางคืน มนุษย์ จึงต้ องดิน้ รน และแสวงหาแสงสว่ าง
เพือ่ มาใช้ เวลากลางคืนซึ่งจะเห็นได้ จากวิวฒ
ั นาการ
ต่ อไปนี้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประวัติและการค้ นพบแสง
- 250,000 ปี ก่อนคริสตกาลมนุษย์ ได้ ค้นพบ
แสงสว่ างจากไฟที่เกิดจากการเผาไหม้ ไม้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประวัติและการค้ นพบแสง
- 3,000 ปี ก่อนคริสตกาลมนุษย์ ได้ ค้นพบ
หินนา้ มัน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประวัติและการค้ นพบแสง
- 500 ปี ก่อนคริสตกาล มนุษย์ ได้ ค้นพบ
ตะเกียงไส้ โดยใช้ นา้ มันจากพืชและไขมันจาก
สั ตว์ เป็ นเชื้อเพลิง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประวัติและการค้ นพบแสง
- ค.ศ. 400 มนุษย์ ได้ ค้นพบตะเกียงโลหะ
โดยใช้ ไส้ ตะเกียงที่มีนา้ มันพืชและไขสั ตว์ เป็ น
เชื้อเพลิง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประวัติและการค้ นพบแสง
- ค.ศ. 1779 ได้ ค้นพบแก๊สธรรมชาติและได้
แสงสว่ างจากการตะเกียงแก๊สธรรมชาติ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประวัติและการค้ นพบแสง
- ค.ศ. 1801 ค้ นพบการอาร์ คของประกาย
ไฟฟ้าจากขั้วอิเล็กโทรด 2 ขั้ว
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประวัติและการค้ นพบแสง
- ค.ศ. 1827 ได้ มีการผลิตไม้ ขีดไฟขึน้ ใช้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประวัติและการค้ นพบแสง
- ค.ศ. 1853 ได้ ผลิตเทียนไขขึน้ จาก
พาราฟิ นและไขมันสั ตว์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประวัติและการค้ นพบแสง
- ค.ศ. 1853 อับราอัม เกสเนอร์ ได้ ผลิต
ตะเกียงนา้ มันก๊าด สามารถปรับความสว่ าง
ของแสงได้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประวัติและการค้ นพบแสง
- ค.ศ. 1879 โทมัส อัลวา เอดิสัน ได้ ประดิษฐ์
หลอดไฟฟ้าแบบมีไส้ ขนึ้ ใช้ เป็ นครั้งแรก
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แหล่ งกาเนิดแสง
คือ วัตถุทเี่ ป็ นต้ นตอของแสง หรือทาให้ เกิด
แสง เราสามารถจาแนกประเภทของแสง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แหล่ งกาเนิดแสง
1. แสงที่เกิดจากธรรมชาติ เช่ น แสงจากดวง
อาทิตย์ ดวงดาว ฟ้ าแลบ ฟ้ าผ่ า แสงจากสั ตว์ บาง
ชนิดที่มีแสงใน ตัวเอง เช่ น หิ่งห้ อย แมงคาเรือง
เป็ นต้ น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แหล่ งกาเนิดแสง
2. แสงทีม่ นุษย์ ประดิษฐ์ ขนึ้ เช่ น แสงจากไฟฉาย
หลอดไฟฟ้ า ตะเกียง เทียนไข และการเผาไหม้
เชื้อเพลิงต่ าง ๆ เช่ น ไม้ กระดาษ ถ่ าน ถ่ านหิน
เป็ นต้ น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แหล่ งกาเนิดแสงธรรมชาติ
1. ดวงอาทิตย์
2. ดาวฤกษ์
3. พลังงานต่ าง ๆ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์ เป็ นกลุ่มก๊ าซทีร่ ้ อนจัด ประกอบ
ด้ วยไฮโดรเจน 73.5% ฮีเลียม 25% ส่ วนที่เหลืออีก
ประมาณ 1.5% นั้น ประกอบด้ วยธาตุหนักจานวน
เล็กๆ น้ อยๆ เช่ น ออกซิเจน เหล็ก และคาร์ บอน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ดาวฤกษ์
ดาวทีม่ องเห็นเป็ นจุดสว่ างบนท้ องฟ้ าเวลา
กลางคืน เป็ นแสงของกลุ่มแก๊ สทีก่ ระจายแสงออกสู่
อวกาศ ลักษณะที่เด่ นชัดของดาวฤกษ์ คือ การ
กระพริบแสงของดวงดาวที่เกิดจากบรรยากาศของ
โลกเรา มีดาวฤกษ์ เพียง 6,000 ดวงเท่ านั้น ที่มีความ
สว่ างพอที่จะมองเห็นได้ ด้วยตาเปล่า
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ดาวเคราะห์
คือ ดาวทีไ่ ม่ มแี สงสว่ างในตัวเอง เช่น ดวง
จันทร์ และ ดาวเคราะห์ที่เป็ นบริ วารของดวงอาทิตย์
ทั้ง 8 ดวง รวมทั้งโลกเราด้วย
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ดาวเคราะห์
ลาดับนับจากดวงอาทิตย์ น้ัน ได้ แก่
ดาวพุธ (Mercury) ดาวศุกร์ (Venus) โลก (Earth)
ดาวอังคาร (Mars)
ดาวพฤหัสบดี (Jupiter)
ดาวเสาร์ (Saturn)
ดาวยูเรนัส (Uranus)
ดาวเนปจูน (Neptune)
และดาวพลูโต (Pluto)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ระบบสุริยะจักรวาล
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ร้ ุงกินนา้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หิ่งห้ อย
ซึ่งเป็ นแมลงด้ วงปี กแข็งชนิดหนึ่ง ชอบ
อาศัยอยู่ตามทุ่งนา หรือในป่ าทีช่ ่ ุมชื้น หิ่งห้ อย
มีอวัยวะทาแสงอยู่ทปี่ ล้ องปลายท้ องซึ่งมีอยู่ 2
ปล้ องในเพศผู้ และ 1 ปล้ องในเพศเมีย แสงของ
หิ่งห้ อยเกิดจากกระบวนการทางเคมีภายใน
ร่ างกาย ทาให้ เกิดแสงที่เรามองเห็นได้ ในเวลา
กลางคืน หิ่งห้ อยกระพริบแสงเพือ่ เป็ นสื่ อให้ คู่
ของมันมาผสมพันธุ์ และวางไข่ เปล่ งแสง
ระยิบระยับสวยงาม
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แมงคาเรือง
เป็ นตะเข็บชนิดหนึ่ง ขนาดเล็กเท่ าก้าน
ไม้ ขีด ยาว 3.5-4.5 เซนติเมตร มีจานวน
ปล้อง 30-66 ปล้อง หรือมากกว่ า ขา
ยาว ลาตัวเรืองแสงเมือ่ อยู่ในทีม่ ดื อาศัยอยู่
ตามทีร่ กรุ งรัง เช่ น ตามกองขยะมูลฝอย
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แหล่ งกาเนิดแสงประดิษฐ์
แบ่ งตามการเกิด 4 จาพวกใหญ่ ๆ คือ
1 โดยการเผาไหม้ เช่ น ตะเกียง เทียนไข
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แหล่ งกาเนิดแสงประดิษฐ์
แบ่ งตามการเกิด 4 จาพวกใหญ่ ๆ คือ
2 โดยการเผาให้ ร้อน เช่ น หลอดไฟ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แหล่ งกาเนิดแสงประดิษฐ์
แบ่ งตามการเกิด 4 จาพวกใหญ่ ๆ คือ
3 โดยการให้ ไฟอาร์ ค เช่ น คาร์ บอนอาร์ ค
การเชื่อมโลหะโดยใช้ ไฟฟ้า
การเชื่อมโลหะโดยใช้ แก๊ ส
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แหล่ งกาเนิดแสงประดิษฐ์
แบ่ งตามการเกิด 4 จาพวกใหญ่ ๆ คือ
4 โดยการผ่ านกระแสไฟฟ้าไปในไอปรอท
หรือก๊าซเฉื่อย
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
อุณหภูมสิ ี
หมายถึงสี ที่เกิดจากการเผาไหม้ วสั ดุสีดา
ซึ่งมีการดูดซับความร้ อนได้ สมบูรณ์ ด้วย
อุณหภูมทิ กี่ าหนด ใช้ การบอกสี ทางด้ านการส่ อง
สว่ าง เรียกว่ า อุณหภูมสิ ี
เช่ น หลอดฟลูออเรสเซนต์ คูลไวท์
มีอณ
ุ หภูมสิ ี 6500 องศาเคลวิน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
อุณหภูมสิ ี
หลอดฟลูออเรสเซนต์ คูลไวท์ มอี ณ
ุ หภูมิสี
6500 องศาเคลวิน
หมายถึง เมือ่ เผาวัตถุสีดาให้ ร้อนถึงอุณหภูมิ
6500 เคลวิน วัตถุน้ันจะเปล่งแสงออกมาเป็ นสี
คูลไวท์ หรือขาวปนนา้ เงิน เป็ นต้ น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตัวอย่ างอุณหภูมสิ ี ของหลอดต่ างๆเป็ นดังนี้
เทียนไข 1900 เคลวิน
หลอดอินแคนเดสเซนต์ 2800 เคลวิน
หลอดฟลูออเรสเซนต์
- เดย์ ไลท์ (Daylight ) 6500 เคลวิน
- คูลไวท์ (Cool White ) 4500 เคลวิน
- วอร์ มไวท์ (Warm White ) 3500 เคลวิน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
อุณหภูมขิ องแหล่ งกาเนิดแสงบางชนิด
แห ล่ งกา เนิ ด แส ง
อุ ณ ห ภู มิ สี (K )
เที ยน ม าตรฐาน
1930
พ ระอาทิ ตย์ รุ่ งอรุ ณ
2000
V acuum tungsten lam p
2400
W arm w hite fluorescent lam p
3000
Photo flood lam p
3400
D aylight fluorescent lam p
4500
E ectronic flash tube
6000
A verage day light
6500นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แสงเปลีย่ นเป็ นพลังงานรูปอืน่
1. พลังงานไฟฟ้า
2. พลังงานกล
3. พลังงานเคมี
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แสงเปลีย่ นเป็ นพลังงานรูปอืน่
1. พลังงานไฟฟ้า
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แสงเปลีย่ นเป็ นพลังงานรูปอืน่
1. พลังงานไฟฟ้า
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แสงเปลีย่ นเป็ นพลังงานรูปอืน่
2. พลังงานกล
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แสงเปลีย่ นเป็ นพลังงานรูปอืน่
3. พลังงานเคมี
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แสงเปลีย่ นเป็ นพลังงานรูปอืน่
3. พลังงานเคมี
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ส่ วนประกอบของดวงตา
ดวงตาเป็ นสิ่ งสาคัญของมนุษย์ ด้านการ
มองเห็น มีเซลล์ ทาหน้ าที่รับแสงสว่ างที่
สะท้ อน ทาให้ สามารถมองเห็นสิ่ งต่ างได้ และ
สามารถบอกสี ของ วัตถุน้ัน ๆ ได้ แบ่ ง
ออกเป็ นส่ วนประกอบต่ าง ๆ ได้ ดงั นี้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ส่ วนประกอบของดวงตา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ส่ วนประกอบของดวงตา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
กระจกตา (Cornea)
เป็ นเนือ้ เยือ่ โปร่ งใสอยู่ด้านหน้ าสุ ดของ
ดวงตา กระจกตาทาหน้ าที่รับ และให้ แสงผ่ าน
เข้ าสู่ ภายใน สามารถเปลีย่ นกระจกตาได้
โดยนากระจกตาของ
ผู้บริจาคทีเ่ สี ยชีวติ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
กระจกตา (Cornea)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ม่ านตา (Iris)
ส่ วนที่เป็ นสี ของดวงตา ซึ่งอาจมีสีดา สี
นา้ ตาลหรือสี ฟ้าตามเชื้อชาติ ม่ านตาทาหน้ าที่
ควบคุม การขยายของรู ม่านตา เพือ่ ให้ ปริมาณ
แสงทีผ่ ่ านเข้ าไปสู่ เลนส์ ตา อยู่ในระดับพอเหมาะ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ม่ านตา (Iris)
เมือ่ แสงสว่ างมากม่ านตาจะควบคุม ให้ รู
ม่ านตาเปิ ดน้ อย และเมื่อแสงสว่ างน้ อยก็จะ
ควบคุมให้ รูม่านตาเปิ ด
กว้ าง อย่ างเหมาะสม
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
รูม่านตา (Pupil)
เป็ นสี ดาอยู่ตรงกลางม่ านตา ทาหน้ าที่
เป็ นช่ องทาให้ แสงผ่ านไปสู่ เลนส์ ตา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
เลนส์ ตา (Lens)
เป็ นเลนส์ นูนทีส่ ามารถยืดหยุ่นได้
เนื่องจากการหดตัวและคลายตัวของกล้ามเนือ้
ยึดเลนส์ ตา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
เลนส์ ตา (Lens)
เลนส์ ตาทาหน้ าที่โฟกัสภาพให้ ไปตกบน
จอตา(เรตินา) การทางานของเซลล์ รูปแท่ ง
เซลล์รูปแท่ ง
ทาหน้ าที่รับแสง
ทาให้ มองเห็น
รู ปร่ างของวัตถุ
ต่ าง ๆ ได้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
โฟเวีย (Fovea)
จุดดวงเหลือง เป็ นแอ่ งเล็กๆ บริเวณ
จอตาเป็ นบริเวณทีม่ เี ซลล์ รูปกรวยอยู่
หนาแน่ นทีส่ ุ ด
จึงเป็ นบริเวณ
ทีเ่ ห็นภาพชัด
เจนทีส่ ุ ด
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
จุดบอดแสง (Blind spot)
เป็ นบริเวณที่เส้ นประสาทและเส้ นเส้ น
เลือดผ่ านเข้ าสู่ ในตา ไม่ มี
เซลล์รูปแท่ ง หรือเซลล์รูป
กรวยเลย ดังนั้น ถ้ าแสงตก
บริเวณนีเ้ ราจะมองไม่ เห็น
วัตถุน้ันเลย
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
จุดบอดแสง (Blind spot)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
เปลือกตา (Rid)
เป็ นส่ วนที่ปิดเลนส์ ในตา ป้ องกันสิ่ ง
สกปรกเศษผงต่ างๆ เข้ าตา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
กระบอกตา (Sclera)
เป็ นเยือ่ ชั้นนอกสุ ด หนาและเหนียว ทา
ให้ ลูกตาคงรู ป มีส่วนประกอบสาคัญได้ แก่
ส่ วนตาขาวและ กระจกตา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตาและการมองเห็น
ดวงตาเป็ นสิ่ งที่ทาให้ มองเห็นภาพต่ างๆ
ได้ โดยแสงจากวัตถุจะสะท้ อนเข้ าสู่ ดวงตา ซึ่ง
ดวงตามีลกั ษณะ การทางานคล้ายคลึง กับ
กล้องถ่ ายรู ป กล่าวคือ ขณะทีเ่ รากาลังมองวัตถุ
ใดๆ อยู่น้ันก็เหมือนกับเรากาลังถ่ ายภาพ สี
ธรรมชาติของวัตถุน้ันๆ อยู่
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตาและการมองเห็น
ซึ่งตาของเราคล้ายกับกล้องถ่ ายรู ปคือ มี
กระบอกตา เทียบกับเรือนกล้อง เรตินา เทียบ
กับฟิ ล์มเลนส์ ตาเทียบกับเลนส์ กล้อง เปลือกตา
เทียบกับชัต เตอร์ ของกล้อง และม่ านตาเทียบ
กับ ไดอะแฟรม ของกล้อง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ลักษณะของการมองเห็น
เมือ่ แสงสี สะท้ อนจากวัตถุหรือแสงจาก
แหล่งกาเนิดแสง ผ่ านเข้ าสู่ นัยน์ ตาม่ านตาจะ
ทาหน้ าทีป่ รับแสงให้ เข้ าสู่ นัยน์ ตา อย่ าง
อัตโนมัติเมื่อแสงเข้ าไป เลนส์ ตาจะทาหน้ าที่
ปรับโฟกัสของแสง เพือ่ ให้ ไปตกที่จอตา อย่ าง
พอเหมาะและแสงจะไปกระตุ้นเซลล์รับแสงที่
บริเวณจอตา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ลักษณะของการมองเห็น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ลักษณะของการมองเห็น
แล้วเซลล์รับแสงจะส่ งสั ญญาณกระตุ้นไป
ยังสมอง เพือ่ แปลงความหมาย ของแสงสี ที่
เข้ าสู่ นัยน์ ตา ความผิดปกติของสายตาอาจจะ
เกิดขึน้ ได้ ด้วยสาเหตุต่างๆ เช่ น สายตาสั้ น
สายตายาวและสายตาเอียง ความผิดปกติ
เหล่านี้ สามารถแก้ไขได้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ลักษณะของการมองเห็น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ลักษณะของการมองเห็น
โดยใช้ เลนส์ เว้ าหรือเลนส์ นูนเข้ าช่ วยใน
การมองเห็นการเห็นภาพลวงตาที่มองเห็นผิด
ไปจากสภาพความเป็ นจริง สามารถนาไปใช้
ประโยชน์ ในชีวติ ประจาวันได้ เช่ น คนสู งต้ อง
ใส่ เสื้อลายขวาง คนเตีย้ ต้ องใส่ เสื้อลายตั้ง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
องค์ ประกอบของวัตถุในการมองเห็น
การทีเ่ ราจะมองเห็นวัตถุได้ ชัดเจนหรือ
มองไม่ เห็น จะต้ องขึน้ อยู่องค์ ประกอบต่ อไปนี้
1. ขนาดของวัตถุ
2. ความเข้ มของแสงทีส่ ่ องวัตถุ
3. ความเข้ มของฉากอ้างอิง
4. เวลาในการมองเห็น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ขนาดของวัตถุ
ขนาดของวัตถุมคี วามสาคัญมากในการ
มองเห็นในความเป็ นจริงวัตถุทมี่ ขี นาดใหญ่
จะต้ องมองเห็นได้ ชัดกว่ าวัตถุขนาดเล็ก
โดยเฉพาะในระยะทางทีย่ งิ่ ไกลวัตถุขนาดเล็ก
ยิง่ มองเห็นได้ ยากกว่ าวัตถุขนาดใหญ่
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ความเข้ มของแสงทีก่ ล่ องวัตถุ
ในการมองเห็นวัตถุจะต้ องอาศัยแสงสว่ าง
ทีส่ ่ องไปยังวัตถุสัตถุทมี่ กี ารสะท้ อนแสงได้ ดกี ็
จะเห็นชัดเจนกว่ าวัตถุทไี่ ม่ สะท้ อนแสง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ความเข้ มของแสงทีก่ ล่ องวัตถุ
เช่ นก้อนหินสี ดา กับก้อนหินสี ขาว เมื่อใช้
แสงส่ องเข้ าไปโดยมีปริมาณแสงเท่ ากัน หรือ
นาไปวางไว้ ที่มืดๆ ก้อนหินสี ขาวจะต้ องเห็นชัด
กว่ าก้อนหินสี ดา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ความเข้ มของแสงทีก่ ล่ องวัตถุ
เช่ นก้อนหินสี ดา กับก้อนหินสี ขาว เมื่อใช้
แสงส่ องเข้ าไปโดยมีปริมาณแสงเท่ ากัน หรือ
นาไปวางไว้ ที่มืดๆ ก้อนหินสี ขาวจะต้ องเห็นชัด
กว่ าก้อนหินสี ดา อีกลักษณะหนึ่งคือในวัตถุชนิด
เดียวกันแต่ ใช้ แสงส่ องต่ างกัน วัตถุทแี่ สงส่ อง
มากมากจะต้ องเห็นชัดเจนมากกว่ า
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ความเข้ มของฉากอ้ างอิง
ลักษณะของฉากอ้างอิงทาให้ มีผลต่ อการ
มองเห็นด้ วยเหมือนกันวัตถุทสี่ ี เดียวกันกับฉาก
จะทาให้ การมองเห็นยากกว่ า วัตถุทสี่ ี ตัดกัน เช่ น
ฉากสี ขาว วัตถุสีดา ก็จะทาให้ เห็นวัตถุง่ายขึน้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
เวลาในการมองเห็น
ในการมองเห็นจะต้ องเป็ นกระบวนการที่
ต่ อเนื่องและต้ องใช่ เวลาเพือ่ ให้ เกิดลักษณะการ
มองเห็น เพราะฉะนั้น เมือ่ วัตถุทกี่ าร
เคลือ่ นไหวรวดเร็วก็ทายากต่ อการมองเห็นกว่ า
วัตถุทนี่ ิ่งอยู่กบั ที่ เวลาจึงมีความสาคัญต่ อ
การมองเห็นมาก
ช้ า
เร็ว
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ลักษณะความผิดปกติของสายตา
ลักษณะความผิดปกติของสายตาคือ การ
มองภาพทีอ่ ยู่ใกล้หรือไกลไม่ ชัดเจน เนื่องจาก
ความผิดปกติเกีย่ วกับสายตาที่ผดิ ปกติไป เช่ น
สายตาสั้ น สายตายาว สายตาเอียงเป็ นต้ น ซึ่ง
ปัจจุบันสามารถแก้ไขความผิดปกติโดยการใช้
เลนส์ ชนิดต่ าง ๆ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ลักษณะความผิดปกติของสายตา
เพือ่ ช่ วยให้ มองเห็นภาพได้ ชัดเจน คน
สายตาปกติมองดูวตั ถุได้ ชัดในระยะทีใ่ กล้ สุด
ประมาณ 25 เซนติเมตร และระยะไกลสุ ดที่
สามารถเห็นได้ ชัด คือระยะอนันต์ การมอง
ท้ องฟ้าไกล ๆเรารู้ สึกสบายตา เนื่องจาก
กล้ามเนือ้ ตาได้ พกั ไม่ ต้องทางานเพือ่ ปรับเลนส์
ตาเหมือนขณะทีม่ องวัตถุในระยะใกล้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
คนสายตาปกติ
- สาหรับคนทีสายตาปกติจุดใกล้ ทอี่ ยู่
ระยะ 25 เซนติเมตรจากตา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
คนสายตาสั้ น (Short sight)
คือ คนทีม่ องเห็นวัตถุได้ ชัดเจนใน
ระยะใกล้กว่ า 25 เซนติเมตร
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สาเหตุของสายตาสั้ น เกิดเนื่องจาก
1. กระบอกตายาวเกินไป ทาให้ ภาพที่
ตกจะตกก่อนถึงเรตินา (จอตา)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สาเหตุของสายตาสั้ น เกิดเนื่องจาก
2. เลนส์ ตานูนเกินไปหรือกระจกตา
โค้ งมากเกินไป ทาให้ ภาพของวัตถุทไี่ ปตกจะ
ตกก่อนถึงเรตินา (จอตา)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สาเหตุของสายตาสั้ น เกิดเนื่องจาก
วิธีแก้คนสายตาสั้ น ให้ ใช้ แว่ นที่ทาด้ วย
เลนส์ เว้ า
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
คนสายตายาว (Long sight)
คือ คนทีม่ องวัตถุได้ ชัดเจนในระยะไกล
กว่ า 25 เซนติเมตร
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สาเหตุของสายตายาว เกิดเนื่องจาก
1. กระบอกตาสั้ นเกินไป ทาให้ ภาพที่ไป
ตกจะตกก่อนเรตินา (จอภาพ)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สาเหตุของสายตายาว เกิดเนื่องจาก
2. เลนส์ ตาแฟบเกินไป หรือกระจกตาโค้ ง
น้ อยเกินไป ทาให้ ภาพวัตถุทไี่ ปตกจะตกเลย
เรตินา (จอตา) ออกไป
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สาเหตุของสายตายาว เกิดเนื่องจาก
วิธีแก้คนสายตายาว ให้ ใช้ แว่ น ที่ทาด้ วย
เลนส์ นูน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สายตาของคนสูงอายุ
มองระยะใกล้ชัดที่ระยะมากกว่ า 25
เซนติเมตรมองไกลไม่ ถงึ ระยะอนันต์ แว่ น
สาหรับ คนสู งอายุจะใช้ แว่ นทีใ่ ช้ ดูได้ ทั้ง
ระยะใกล้และระยะไกลซึ่งประกอบด้ วยเลนส์
สองชนิดที่มีความยาวโฟกัส ต่ างกัน คือแว่ นที่
ทาด้ วยเลนส์ ชนิดไบโฟคัสเลนส์ (Bifocal lens)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สายตาของคนสูงอายุ
ไบโฟคัสเลนส์ หมายถึงเลนส์ ที่มีความ
ยาวโฟกัส 2 ชนิดประกอบกัน ใช้ สาหรับดู
วัตถุในระยะใกล้และระยะไกล สายตาเอียง
(Astigmatism) เกิดจากความโค้ ง ของ
กระจกตาหรือเลนส์ ไม่ เป็ นผิวของทรงกลม
ทาให้ มองเห็นวัตถุชัดเพียงแนวเดียวซึ่ง
อาจจะเห็นชัดในแนวดิง่
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สายตาของคนสูงอายุ
แต่ ไม่ เห็นไม่ ชัดในแนวระดับ หรือชัดใน
แนวระดับแต่ เห็นไม่ ชัดในแนวดิ่ง วิธีสายตา
เอียงให้ ใช้ มือปิ ดตาข้ างหนึ่งแล้วมองรู ปโดย
ทาทีละข้ าง ถ้ าเห็นเส้ นทีอ่ ยู่ระหว่ างแนว
ระดับกับแนวดิง่ เป็ นสี ดาเท่ ากันแสดงว่ า
สายตาปกติ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สายตาของคนสูงอายุ
ถ้ าเห็นเป็ นสี เทาความเข้ มไม่ เท่ ากัน
แสดงว่ าสายตาเอียงวิธีแก้สายตาเอียงคือ ใช้
แว่ นที่ทาด้ วยเลนส์ กาบกล้วยชนิดเว้ าและ
ชนิดนูน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สายตาเอียง (Astigmatism)
เกิดจากความโค้ งของกระจกตาหรือ
เลนส์ ไม่ เป็ นผิวของทรงกลม ทาให้ มองเห็น
วัตถุชัดเพียงแนวเดียว ซึ่งอาจจะเห็นชัดใน
แนวดิ่งแต่ ไม่ เห็นไม่ ชัดในแนวระดับ หรือชัด
ในแนวระดับแต่ เห็นไม่ ชัดในแนวดิ่ง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สายตาเอียง (Astigmatism)
วิธีสายตาเอียง ให้ ใช้ มือปิ ดตาข้ างหนึ่ง
แล้วมองรู ป โดยทาทีละข้ าง ถ้ าเห็นเส้ นทีอ่ ยู่
ระหว่ างแนวระดับกับแนวดิ่ง เป็ นสี ดาเท่ ากัน
แสดงว่ าสายตาปกติถ้าเห็นเป็ นสี เทาความเข้ ม
ไม่ เท่ ากันแสดงว่ าสายตาเอียงวิธีแก้สายตา
เอียงคือใช้ แว่ นที่ทาด้ วยเลนส์ กาบกล้วยชนิด
เว้ าและชนิดนูน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สอบถามข้ อสงสั ยได้ ที่
แผนกช่ างไฟฟ้า
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
ถนนเลียบวัง อาเภอหัวหิน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77110
โทร.(032)520500 , 520481
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
ถนนเลียบวัง ตาบลหัวหิน
อาเภอหัวหิน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
77110
โทรศัพท์ 520500-520481(032)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ