7.แปรงฟันลูก15พื้นที่ 27-1 1-2555

Download Report

Transcript 7.แปรงฟันลูก15พื้นที่ 27-1 1-2555

ประสบการณ์เครื อข่าย
ลูกรักฟันดี
ในการพัฒนาพื้นที่ให้มีทกั ษะการจัดกิจกรรมพัฒนาผูป้ กครอง
ทพ. วุฒกิ ุล ธนากาญจนภักดี
รศ.ทพญ.ชุตมิ า ไตรรั ตน์ วรกุล
ผู้ปกครองเด็กอายุ 9 – 18 เดือน
ในเขต อ.นา้ พอง จ.ขอนแก่ น
แบบสอบถาม + ตรวจฟั นผุ, Random
Test 4 ตาบล
Control 4 ตาบล
Interventions
1การสอนแปรงฟั น
2การออกเยี่ยมบ้ าน
4เดือน
เยี่ยมบ้ าน + ประชุมกลุ่ม
4เดือน
เยี่ยมบ้ าน + ประชุมกลุ่ม
4เดือน
แบบสอบถาม + ตรวจฟั นผุ
กิจกรรมในงานวิจยั
•การฝึ กอบรม อสม. แปรงฟัน เพือ่ เป็ นพีเ่ ลีย้ งและเยี่ยมบ้ าน
•การสร้ างแรงจูงใจให้ ดูแลลูกไม่ ให้ ฟันผุ
•การฝึ กผู้ปกครองแปรงฟัน
การฝึ กอบรม อสม.
การฝึ กอบรม อสม.
• เน้นความสาคัญของบทบาท อสม.
• โรคฟันผุ ฟันผุระยะเริ่ มต้น  ระยะเป็ นรู
• ผลเสี ย ของการมีฟันผุ
• การแปรงฟัน และการทดลองปฎิบตั ิจริ ง
• การออกเยีย่ มบ้านเพื่อเป็ นการสร้างเสริ มแรงจูงใจและทักษะให้กบั
ผูป้ กครอง
การสร้างแรงจูงใจให้ดูแลลูกไม่ให้ฟันผุ
การสร้างแรงจูงใจให้ดูแลลูกไม่ให้ฟันผุ
•
•
•
•
แลกเปลี่ยนเรื่ องราวสุ ขภาพเด็กในชุมชน
เข้าสู่ ฟันน้ านมผุ
ให้แสดงข้อคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบของฟันน้ านมผุ
ให้ขอ้ มูล
• เด็กไม่สูง
• ผอม
• ศีรษะเล็ก
หัวข้อหลักในการสอนแปรงฟัน
1. เหตุใดจึงต้องแปรงฟัน
2. เราแปรงอะไรออกจากฟัน
3. ทราบได้อย่างไรว่าแปรงสะอาดแล้ว
4. หากฟันเริ่ มผุจะสังเกตได้อย่างไร
ฟันผุเกิดได้ อย่ างไร??
เชื้อโรคในปาก (คราบเหนียวติดฟัน)
+
น้ าตาล (จากนมที่คาปากเด็ก)
กรด
ฟันเสี ยแร่ ธาตุ
รอยขาวขุ่น
หากแปรงฟันด้วยยาสีฟันฟลูออไรด์ก็
จะยับยัง้ รอยขุ่นขาวได้
หากไม่ได้แปรงจะลุกลามต่อไปเป็ นรู
ใหญ่ขึน้ จนเหลือแต่ตอในที่สดุ
ให้ผปู้ กครองร่ วมแสดงความคิดเห็นว่า
ถ้าอยากให้ลูกหลานฉลาด
โตไว แข็งแรง
จะช่วยกันป้ องกันฟันผุอย่างไร??
ต้องการให้ลูกมีฟันแบบไหน??
การฝึ กผูป้ กครองแปรงฟัน
ผลของการศึกษา
ตารางแสดงค่ าเฉลีย่ ผุถอนอุดทีเ่ พิม่ ขึน้ ในกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง
หลังการสอนแปรงฟัน
กลุ่มควบคุม
กลุ่มศึกษา
p-value
ค่าเฉลี่ยผุถอนอุด (ซี่)
7.4
1.3
< .001
ค่าเฉลี่ยผุถอนอุด (ด้ าน)
18.9
3.3
< .001
* แตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (p< .05)
ตารางแสดงค่ าร้ อยละของเด็กทีป่ ราศจากฟันผุ
ร้ อยละของเด็กทีป่ ราศจากฟันผุ
กลุ่มควบคุม
(46 คน)
กลุ่มศึกษา
(56 คน)
p-value
ก่ อนศึกษา
80.43
89.29
0.144
หลังศึกษา
6.5
64.29
<0.001*
* แตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (p< .05)
ข้อเสนอแนะ
• การติดตามผล การเดินทาง
• จานวนครั้ง/การให้ความสาคัญ
• ช่วงเวลาในการจัดกิจกรรม ภูมิอากาศ วิถีชีวติ การเดินทางมาร่ วมกิจกรรม
ช่วงเวลานอนของเด็ก
• การดาเนินการโดย อสม.
• การทากิจกรรมในวันที่มีการฉี ดวัคซี น
ข้อเสนอแนะ
• การหายไปของกลุ่มตัวอย่าง
• แรงจูงใจในการมาเข้าร่ วมกิจกรรม
• แรงจูงใจการในการเลี้ยงลูกไม่ให้ฟันผุ
• การเห็นความสาคัญของคนในชุมชน
• การเข้ากันได้กบั วิถีชีวิต
ข้อเสนอแนะ
• การให้ความสาคัญคนในพื้นที่/นอกพื้นที่
• การแปรงฟันโดยผูส้ ู งอายุ
บทสรุป
จุดที่สาคัญที่เน้นในการแปรงฟั น
• มือข้างที่ไม่จบั แปรงต้องแหวกริ มฝี ปากและแก้ม
• บอกผูป้ กครองล่วงหน้าว่าเด็กจะร้องไห้
• เด็กร้องไห้, ไม่ร่วมมือ  เป็ นธรรมดา
• อาจมีเลือดออกที่เหงือก
• ต้องมีการปฏิบตั ิในเด็กจริ งอย่างถูกวิธี
• ให้เด็กนอนในตาแหน่งที่ถูกต้อง 12 นาฬิกา
• แปรงจนเกิดความชานาญ
จุดที่สาคัญที่เน้นในการแปรงฟั น
• ใช้ขาพาด หากต่อต้าน
• แปรงก่อนอาบน้ า เพื่อให้จาง่าย
• แปรง 2 ครั้ง/วัน
• แปรงที่ไหน??  ตามบริ บทของชุมชนและครอบครัว
• ย่า,ยาย เก่งมากๆ  ทาได้
• ชุมชนแออัด  ทาในพื้นห้อง (แฟลต) ไม่จาเป็ นต้องเป็ นห้องน้ า  เปี ยก
การแปรงฟันให้ลูก
วิธีแปรงฟันเด็ก
• นอนตาแหน่ง 12 นาฬิกา
ขนาดยาสี ฟัน
ทราบได้อย่างไรว่าแปรงสะอาดแล้ว ??
ขูดด้ วยหลอด
พบคราบเหนียว
ไม่ มคี ราบเหนียว
•ไม่ใช่การสอนทันตสุ ขศึกษาแบบทัว่ ไป
•ไม่ใช่การให้คาแนะนาเป็ นรายบุคคล
•ไม่ได้ทาที่ Well Baby Clinic
•แต่ทาในชุมชนซึ่ ง ผูป้ กครองและ อสม.มีส่วนร่ วม
แรงจูงใจทีส่ าคัญ  ผู้ปกครองเปลีย่ นพฤติกรรม
• การตระหนักถึงผลกระทบและความรุนแรงของโรคฟันผุในเด็ก
ปฐมวัย
• นา้ หนัก ส่ วนสู ง และขนาดของศีรษะของเด็กทีม่ ีฟันผุต่ากว่ าเด็กที่ไม่
มีฟันผุ
• ตระหนักว่ าลูกหลานมีความเสี่ ยงโดย แสดงให้ เห็นถึงคราบจุลนิ ทรีย์
(ความเสี่ ยงระดับที่ 1) และรอยผุจุดขาว (ความเสี่ ยงระดับที่ 2)
แรงจูงใจที่สาคัญ  ผูป้ กครองเปลี่ยนพฤติกรรม
พบคราบเหนียว
หากพบคราบเหนียว  เสี่ยงระดับ 1
รอยขาวขุ่น
รอยขุ่นขาว (รอยผุระยะแรก)  เสี่ยงระดับ 2
คราบจุลนิ ทรีย์  รอยผุจุดขาว  รู ผุ
แต่ สามารถยับยั้งกระบวนการผุ โดยแปรงฟันให้ ลูกหลานด้ วยยาสี ฟันผสมฟลูออไรด์
ผู้ปกครองที่พบว่ าลูกมีคราบเหนียว และรอยผุระยะแรก  จะตื่นตัว
การทางานในลักษณะผ่านชุมชน ได้ผลเพราะทุกคนมีส่วนร่ วม เกิด
แรงขับเคลื่อน
• ถ้ าแม่ คนอืน่ ทาได้ ฉันควรทาได้ เหมือนกัน
• ถ้ าฉันทาไม่ ได้ ฉันจะเรียนรู้ ได้ จากแม่ คนอืน่ ๆ หรือ อสม.
• มีการแบ่ งปันปัญหาและประสบการณ์
• การสร้ างพลังในตนเอง (empowerment) ว่ าสามารถจัดการกับปัญหา
โรคฟันผุของลูกได้
• ถ้ าทุกคนในชุ มชนมีส่วนร่ วม จะมีโอกาสเกิดความยัง่ ยืนในการปฏิบตั ิ
การเยีย่ มเยียนและส่ งเสริมพฤติกรรม
• การรับฟังปัญหาและแนะวิธีแก้ไข
• การแบ่ งปันโดยชุ มชนเอง
• การเยี่ยมเยียนโดย อสม.
• ผู้วจิ ัยทาการส่ งเสริมพฤติกรรมโดยพบปะกับ ผู้ปกครอง 4 เดือนครั้ง
(รวมเป็ นจานวน 2 ครั้งใน 1 ปี )
THANK YOU
สั งคมไทยขับเคลือ่ นได้ ดที สี่ ุ ด
ด้ วยความสั มพันธ์
กระบวนการศึกษา
• การสุ่ มกลุ่มศึกษาและกลุ่มควบคุม
• สุ่ มชุมชน เศรษฐานะ ความเป็ นอยูท่ ี่ใกล้เคียงกัน  กลุ่มควบคุม/กลุ่มศึกษา
• ไม่ควรอยูช่ ิดกันมาก  สิ่ งที่กลุ่มศึกษารับรู ้อาจปนเปื้ อนกลุ่มควบคุม
• เด็กอายุ 9-18 เดือน จานวนใกล้เคียงกัน
การตรวจที่ไม่มีอคติ
• ผูต้ รวจผ่านการฝึ กฝนจนได้เกณฑ์ค่าร้อยละของความแม่นยาสู ง
• ไม่ทราบว่าเด็กที่ตรวจเป็ นกลุ่มศึกษาหรื อควบคุม
ความแม่นยาในการตรวจ
• ในเบื้องต้นมีการร่ วมกันตรวจเด็กจานวนหนึ่ ง
• สร้างมาตรฐานร่ วมกัน  white lesion, non-cavitated,
cavitated
• ใช้แสงธรรมชาติ หรื อ LED light ตกลงกันให้เป็ นมาตรฐาน
• สุ่ ม 20% ของเด็กที่ตรวจทุกครั้งมาตรวจซ้ า
• นาผลบันทึกการตรวจ 2 ครั้งมาคานวณค่าความตรงกัน (เป็ นค่าร้อยละ)
วิธีบนั ทึกการตรวจ
• นับซี่ ฟัน บันทึกว่ามีซี่ใดบ้าง กี่ซี่ที่ฟันหายไปตามธรรมชาติ, ซี่ ไหนบ้างที่
ถอน
• บันทึกด้านที่ผุ  เป็ นรู / ไม่เป็ นรู (รอยผุจุดขาว)
Calibration
• รอยผุจุดขาวมีลกั ษณะต่างจาก Enamel hypoplasia
อย่างไร
• รอยผุ : ใกล้ขอบเหงือก เป็ นรู ปร่ างตามขอบเหงือก
• Enamel hypoplasia: รอยขาวกลม รู ปร่ างไม่ชดั เจน มักอยู่
เดี่ยวๆ อยูใ่ นตาแหน่งอื่น เช่น กึ่งกลางฟัน และมักพบทั้งซ้าย-ขวา
Calibration
• หากมีท้ งั ผุชนิดเป็ นรู และไม่เป็ นรู ที่ดา้ นเดียวกัน  บันทึกว่าเป็ นรู
• รอยผุที่ไม่เป็ นรู เมื่อเด็กโตขึ้นจะเคลื่อนมาอยูบ่ ริ เวณกึ่งกลางฟั นมากขึ้น และ
จะมีลกั ษณะมันเงา
Non-cavitated
Cavitated
Cavitated
Non-cavitated
Cavitated
Cavitated
Non-cavitated lesion
แบบสอบถาม
• ควรใช้ผสู ้ ัมภาษณ์คนเดียวกัน ฝึ กสัมภาษณ์จนเป็ นมาตรฐาน และไม่ถามนา
• ใช้ภาษาท้องถิ่น ต้องปรับให้เข้าใจความหมาย
• บันทึกก่อนและหลังการศึกษา เพื่อทราบถึงพฤติกรรมที่เปลี่ยนไป
Question ???