˹èÇ·Õè3

Download Report

Transcript ˹èÇ·Õè3

หน่ วยการเรียนที่ 3
หลักนิ เวศวิทยา และ
สมดุลธรรมชาติ
หลักนิ เวศวิทยา
นิ เวศวิทยา (Ecology) มาจากภาษากรีก 2 คา คือ
Oikos=บ้าน (House) และ Logos = การศึกษา (Study)
ห ม า ย ถึ ง กา ร ศึ ก ษ า เ กี่ ย ว กับ บ้ า น ข อ ง สิ่ ง มี ช ี ว ิ ต แ ล ะ
่
่
สิงไม่
ม ีช ว
ี ต
ิ ต่ า งๆ ทีอาศ
ย
ั อยู ่ ใ นบ้า นหลัง เดีย วกัน นั้นเอง
่ ยกว่า ระบบนิ เวศ (Ecosystem)
ซึงเรี
่ ชว
ระบบนิ เ วศวิท ยา (Ecosystem) หมายถึง กลุ่ ม สิงมี
ี ต
ิ
ต่ า งๆ (Community) กับ สิ่งแวดล้อ ม (Environment) ที่อาศ ย
ั อยู ่
ร่วมกันในบริเวณเดียวกัน (Habitat) สามารถถ่ายทอดสารอาหาร
่
่
่
่
องค ์ประกอบของระบบนิ เวศหรือโครงสร ้างของ
ระบบนิ เวศ (Components of Ecosystem or
้
Structure of Ecosystem) ในชีวมณฑลทังระบบ
้ น และพืนน
้ ้ า สามารถจาแนกองค ์ประกอบ
นิ เวศพืนดิ
ได้ 2 ส่วน คือ
่ มช
• สิงไม่
ี วี ต
ิ (A biotic
or Nonliving)
่ ชวี ต
• สิงมี
ิ (Biotic or
Living)
ประเภทระบบชีว
มณฑล
้ นหรือทวีป สามารถ
ระบบนิ เวศภาคพื
นดิ
จาแนกเป็ นระบบต่างๆ โดยใช้ลก
ั ษณะทางกายภาพ
่ ชวี ต
้ นหรือ
และชนิ ดของสิงมี
ิ โดยแบ่งระบบภาคพืนดิ
ทวีป ออกได้
7เระบบ
ดับ
งนี
้ (Tropical Rain
• ระบบนิ
วศป่ าดิ
ชื้ น
Forest Ecosystem)
อุณหภู มม
ิ ค
ี วามแปร
ผันเล็กน้อยระหว่าง 65-95 ํ
่
F ปริมาณน้ าฝนเฉลีย
้ อปี
ประมาณ 50-500 นิ วต่
มักพบในแถบแนวศู นย ์สู ตร
ของโลก
• ระบบนิ เวศป่ าผลัดใบ (Deciduous
Forest Ecosystem)
ระบบนิ เวศป่ าผลัดใบ หรือ ที่
เรียกว่าป่ าเบญจพรรณ หรือป่ าเต็ง
ร งั มีป ริม าณน้ าฝนเฉลี่ย 30 นิ ้ ว
ต่ อ ปี พ บ บ ริ เ ว ณ เ ข ต อ บ อุ่ น
(Temperate Zone)
• ระบบนิ เวศทุ่งหญ้าอบอุน
่ (Temperate
Grassland Ecosystem)
ทุ่ ง หญ้า อบอุ่น มัก พบบริเ วณ
ถัดจากด้านเหนื อและใต้ของระบบ
นิ เ ว ศ ป่ า ด ง ดิ บ บ ริ เ ว ณ เ ข ต
Tropics แ ล ะ Subtropics มี
่ 10-30 นิ วต่
้ อ
ปริมาณน้ าฝนเฉลีย
• ระบบนิ เวศทุ่งหญ้าเขตร ้อน (Tropical
Grassland Ecosystem)
พบในเขตภู มอ
ิ ากาศรอ้ น
บ ริ เ ว ณ ป ร ะ เ ท ศ จี น ป ร ะ เ ท ศ
อินเดียบางส่วน และ ตอนกลาง
แอ ฟ ริก า มี ฤ ดู แล้ง ยาวนาน
่ 40-60 นิ ว
้
ปริมาณน้ าฝนเฉลีย
• ระบบนิ เวศทะเลทราย (Desert
Ecosystem)
พ บใ น บ ริ เ ว ณ ป ร ะ เ ท ศ
เม็ ก ซิโ ก บริเ วณตีน เขา Andes
ในแอฟริกา บริเ วณเขต Sahara
ทะเลทราย Gobi ปริมาณน้ าฝน
่
้ อปี
เฉลียตลอดปี
ไม่เกิน 10 นิ วต่
• ระบบนิ เวศทุนดรา (Tundra
Ecosystem)
พ บ บ ริ เ ว ณ เ ทื อ ก เ ข า ทิ เ บ ต
้
เทื อ กเขาร็อ กกี ้ บริเ วณทางขัว
โลกเหนื อ อุ ณ หภู มิ เ ย็ น จัด ฤดู
รอ
้ นได้ร บ
ั แสงอาทิต ย ต
์ ลอด 24
่ั
ช วโมง
ป ริม าณน้ าฝนประมาณ
้ อปี
4-20 นิ วต่
• ระบบนิ เวศไทกาหรือป่ าสน (Taiga or
Coniferous Forest Ecosystem)
พ บ บ ริ เ ว ณ ซี กโ ล ก เ ห นื อ
ด้านเหนื อของแคนาดา และด้าน
เหนื อ กลุ่มประเทศสแกนดิเ นเวีย
่ 25 นิ วต่
้ อปี
ปริมาณน้ าฝนเฉลีย
้
ระบบนิ เวศภาคพืน
น้ าสามารถจาแนกออกได้ 3 ประเภท คือ ระบบนิ เวศ
น้ าเค็ม ระบบนิ เวศน้ ากร่อย และระบบนิ เวศน้ าจืด
• ระบบนิ เวศน้ าเค็ม (Oceanic Ecosystem)
น้ าเค็มในโลกมีป ริมาณ 360 ล้านตารางกิโลเมตร
ความเค็มของน้ ามีคา
่ สู งมากกว่า 35 ppt ระบบนิ เวศ
น้ าเค็มสามารถจาแนกตามความลึกของน้ าทะเล ได้ 2
กไม่เกิน 600
ฟุ ต แสงส่และ
องถึง Benthic
อุณหภู มอ
ิ ยู ่ Division
Division ความลึ
คือ Pelagic
Division
ระหว่าง 26-30 องศาเซลเซียส
ความลึกมากกว่า 600
ฟุ ต
แสงไม่สามารถส่องถึง
่ 10-11 องศา
อุณหภู มต
ิ า
เซลเซียส มีความกดดันสู ง
• ระบบนิ เวศน้ ากร่อย (Brackish Water)
เป็ นช่วงผสมกันระหว่าง
น้ าจืดและน้ าเค็ม ความ
เค็มอยู ่ระหว่าง 1-35 ppt
ระบบนิ เวศน้ า
กร่อยมักพบบริเวณป่ า
ชายเลนปากแม่น้ าอ่าว
กระจายอยู ่ในเขตร ้อน
แถบเส้นศู นย ์สู ตร
• ระบบนิ เวศน้ าจืด (Freswater Ecosystem )
่ ความเค็มไม่เกิน 0.5 ppt. แบ่งได้ 2
เป็ นแหล่งน้ าทีมี
ลักษณะคือ แหล่งน้ านิ่ ง
(Lentic Habitat) และแหล่ง
น้ าไหล (Lothic Habitat)
แหล่งน้ านิ่ ง
แหล่งน้ าไหล
การถ่ายทอดพลังงาน
กระบวนการ
ถ่ายทอดพลังงาน
ระบบนิ เวศมีพลังงาน
ถ่ายทอดตามห่วงโซ่
อาหาร (Food Chain)
หรือสายใยอาหาร
(Food Web) ตามกฎ
สิบเปอร ์เซ็นต ์ จะมีการ
ถ่ายทอดพลังงานไม่เกิน
้
4 – 5 ลาดับขัน
พลังงานเหลือน้อยอยู ่ท ี่
0.001%
1 % ( 100
g)
10 % ( 10
g)
10 % ( 1 g
)
10 % ( 0 g
)
ผู ย
้ ่อยสลาย
• ห่วงโซ่อาหารจับกินหรือแบบผู ล
้ ่า (Grazing
Foodเป็Chain
นการถ่) ายทอดพลังงานจากผู ผ
้ ลิตไป
ยังผู บ
้ ริโภค
• ห่วงโซ่อาหารแบบกินซาก (Detritus Food
Chain )
ซากพืชหรือ
ซากสัตว ์ (อินทรีย ์
สาร) จะถูกย่อย
สลายให้กลายเป็ น
อนิ นทรีย ์สาร (ปุ๋ ย)
่ ชสามารถดู ด
เพือพื
่ าไปใช้ในการ
เพือน
เจริญเติบโตได้อก
ี
้ั
่ง
ครงหนึ
• ห่วงโซ่อาหารแบบพาราสิต (Parasitic Food
Chain )
่ มจากผู
่
เป็ นห่วงโซ่อาหารทีเริ
ถ
้ ู กอาศ ัย(Host)
้
แต่การอาศ ัยร่วมก ันแบบนี จะท
าให้ผูถ
้ ู กอาศ ัยเกิด
เป็ นโรค
วัฏจักรและการหมุนเวียน
ของสารประกอบ
ประเภทวัฎจั
กร สามารถจาแนกโดยยึด
่
ตัวกลางทีสารประกอบหมุ
นเวียนผ่านในระบบนิ เวศ
เป็ นหลัก สามารถจาแนกได้ 3 พวก คือ การ
หมุนเวียนโดยผ่าน 1. บรรยากาศ (Atmosphere
้ น (Lithospheric Cycle)
Cycle) 2. พืนดิ
3.
้ ้ า (Hydrologic Cycle)
พืนน
ความสัมพันธ ์ของโครงสร ้าง
ในระบบนิ เวศ
่
พึงพา
( Mutualism )
( +,+ )
เห็ดโคนกับจอมปลวก
แบคทีเรีย Rhizobium
การได้ประโยชน์
ร่วมกัน
Protocooperation
ความสัมพันธ ์ของโครงสร ้างใน
ระบบนิ เวศ ( ต่อ )
้ ล
เกือกู
Commensalism
( +,0 )
ความสัมพันธ ์ของโครงสร ้างใน
ระบบนิ เวศ ( ต่อ )
ผู ล
้ ่า
( Predation )
( +,- )
ปรสิต
( Parasitism )
( +,- )
ความสัมพันธ ์ของโครงสร ้างใน
ระบบนิ เวศ ( ต่อ )
แบบไม่ได้ประโยชน์
และไม่เสียประโยชน์
(Neutralism) (0,0)
การแข่งขัน
( Competition )
( -,- )
ผักบุง้ กับผักตบชวาในคลอง