ภาวะโล - โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม

Download Report

Transcript ภาวะโล - โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม

ภาวะโลกร้ อน
จัดทาโดย
นางสาวสิ ริขวัญ ศิริเมืองจันทร์ เลขที่ 5
นางสาวธนพร คาน้ อย เลขที่ 9
ชั้น ม.6.9
เสนอ
อาจารย์ ทวี คาวัง
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2551
โรงเรียนสามัคคีวทิ ยาคม เชียงราย
เป็ นเรื่องทีน่ ่ าเป็ นห่ วงว่ าเราคงไม่ อาจหยุดยั้งสภาวะโลกร้ อนทีก่ าลังจะ
เกิดขึน้ ในอนาคตได้ ถึงแม้ ว่าเราจะหยุดผลิตแก๊ สเรือนกระจกโดยสิ้นเชิงตั้งแต่ บัดนี้
เพราะโลกเปรียบเสมือนเครื่องจักรขนาดใหญ่ ทมี่ ีกลไกเล็ก ๆ จานวนมากทางาน
ประสานกัน การตอบสนองทีม่ ีต่อการกระตุ้นต่ าง ๆ จะต้ องใช้ เวลานานกว่ าจะกลับ
เข้ าสู่ สภาวะสมดุล และแน่ นอนว่ า สภาวะสมดุลอันใหม่ ทจี่ ะเกิดขึน้ ย่ อมจะแตกต่ างจาก
สภาวะปัจจุบันอย่ างมาก แต่ เราก็ยงั สามารถบรรเทาผลอันร้ ายแรงที่อาจจะเกิดขึน้ ใน
อนาคตเพือ่ ให้ ความรุ นแรงลดลงอยู่ในระดับทีพ่ อจะรับมือได้ และอาจจะชะลอ
ปรากฏการณ์ โลกร้ อนให้ ช้าลง กินเวลานานขึน้ สิ่ งทีเ่ ราพอจะทาได้ ตอนนี้คือพยายาม
ลดการผลิตแก๊สเรือนกระจกลง และเนื่องจากเราทราบว่ าแก๊สดังกล่ าวมาจาก
กระบวนการใช้ พลังงาน การประหยัดพลังงานจึงเป็ นแนวทางหนึ่งในการลดอัตราการ
เกิดสภาวะโลกร้ อนไปในตัว
ภาวะโลกร้ อน หมายถึง การเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศทีเ่ กิดจากการ
กระทาของมนุษย์ ทีท่ าให้ อุณหภูมิเฉลีย่ ของโลกเพิม่ สู งขึน้ เราจึงเรียกว่ า ภาวะ
โลกร้ อน (Global Warming) กิจกรรมของมนุษย์ ทที่ าให้ เกิดภาวะโลกร้ อน คือ
กิจกรรมทีท่ าให้ ปริมาณก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศเพิม่ มากขึน้ ได้ แก่ การ
เพิม่ ปริมาณก๊าซเรือนกระจกโดยตรง เช่ น การเผาไหม้ เชื้อเพลิง และ การเพิม่
ปริมาณก๊าซเรือนกระจกโดยทางอ้อม คือ การตัดไม้ ทาลายป่ า
ปรากฏการณ์ เรือนกระจก หมายถึง การทีช่ ้ันบรรยากาศของโลกกระทา
ตัวเสมือนกระจกทีย่ อมให้ รังสี คลืน่ สั้ นจากดวงอาทิตย์ ผ่านทะลุลงมายังผิวพืน้
โลกได้ แต่ จะดูดกลืนรังสี คลืน่ ยาวทีโ่ ลกคายออกไปไม่ ให้ หลุดออกนอก
บรรยากาศ ทาให้ โลกไม่ เย็นจัดในเวลากลางคืน บรรยากาศเปรียบเสมือนผ้ าห่ ม
ผืนใหญ่ ทคี่ ลุมโลกไว้ ก๊าซทีย่ อมให้ รังสี คลืน่ สั้ นจากดวงอาทิตย์ ผ่านทะลุลงมาได้
แต่ ไม่ ยอมให้ รังสี คลืน่ ยาวทีโ่ ลกคายออกไปหลุดออกนอกบรรยากาศ เรียกว่ า
ก๊าซเรือนกระจก
ทีม่ า
สภาวะโลกร้ อน (Global Warming)
เป็ นปรากฏการณ์ สืบเนื่องจากการทีโ่ ลกไม่ สามารถ
ระบายความร้ อนที่ได้ รับจากดวงอาทิตย์ออกไปได้ อย่ างที่เคยเป็ น
ทาให้ อุณหภูมิเฉลีย่ ของโลกเพิม่ สู งขึน้ แม้ ว่าในช่ วงศตวรรษที่
ผ่ านมาอุณหภูมิดังกล่าวสู งขึน้ เพียงไม่ กอี่ งศา แต่ กท็ าให้ สภาพ
อากาศของโลกเปลีย่ นแปลงไปอย่ างมาก และส่ งผลกระทบต่ อ
สิ่ งมีชีวติ บนโลกอย่ างรุนแรง สภาวะดังกล่าวเรียกว่ าการ
เปลีย่ นแปลงสภาพอากาศ (climate change)
บรรยากาศของโลกประกอบด้ วย ก๊าซไนโตรเจน 78% ก๊าซออกซิเจน
21% ก๊าซอาร์ กอน 0.9% นอกจากนั้นเป็ น ไอนา้ ก๊าซ
คาร์ บอนไดออกไซด์ จานวนเล็กน้ อย แม้ ว่าไนโตรเจน ออกซิเจน และ
อาร์ กอน จะเป็ นองค์ ประกอบหลักของบรรยากาศ แต่ กม็ ิได้ มีอทิ ธิพลต่ อ
อุณหภูมิของโลก ในทางตรงกันข้ ามก๊าซโมเลกุลใหญ่ เช่ น ไอนา้
คาร์ บอนไดออกไซด์ มีเทน ไนตรัสออกไซด์ และโอโซน แม้ จะมีอยู่ใน
บรรยากาศเพียงเล็กน้ อยแต่ มีความสามารถในการดูดกลืนรังสี อนิ ฟราเรด
ทาให้ อุณหภูมิพนื้ ผิวโลกอบอุ่น เหมาะแก่การดารงชีวติ เราเรียกก๊าซ
จาพวกนีว้ ่ า “ก๊าซเรือนกระจก” (Greenhouse gas)
เนื่องจากคุณสมบัติในการเก็บกักความร้ อน หากปราศจากก๊าซเรือนกระจก
แล้ว พืน้ ผิวโลกจะมีอุณหภูมิเพียง -18?C ซึ่งนั่นก็หมายความว่ า นา้
ทั้งหมดบนโลกนีจ้ ะกลายเป็ นนา้ แข็ง
ตลอดระยะเวลาทีผ่ ่ านมาได้ มีการถกเถียงกันในหมู่นักวิทยาศาสตร์ ว่า
ปรากฏการณ์ ดังกล่าวเป็ นปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติ หรือเกิดจาก
การกระทาของมนุษย์ เนื่องจากโลกได้ มีการเปลีย่ นสภาพอากาศ
มาแล้วนับไม่ ถ้วน ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาหลายแสนปี แต่ ใน
ปัจจุบัน นักวิทยาศาสตร์ แทบทั้งหมดเชื่อว่ า มนุษย์ มีส่วนทาให้ เกิด
ปรากฏการณ์ ดังกล่าวขึน้ และเป็ นทีแ่ น่ ชัดว่ ากิจกรรมของมนุษย์ มี
ส่ วนเร่ งให้ เกิดปรากฎการณ์ ดังกล่าวให้ มีความรุนแรงกว่ าทีค่ วรจะ
เป็ นตามธรรมชาติ
สาเหตุของภาวะโลกร้ อน
ก๊าซเรือนกระจกคืออะไร
ก๊าซเรื อนกระจก (Greenhouse Gas) เป็ นก๊าซที่มีคุณสมบัติใน
การดูดซับคลื่นรังสี ความร้อน หรื อรังสี อินฟาเรตได้ดี ก๊าซเหล่านี้มีความจาเป็ น
ต่อการรักษาอุณหภูมิในบรรยากาศของโลกให้คงที่ ซึ่ งหากบรรยากาศโลกไม่มีก๊าซ
เรื อนกระจกในชั้นบรรยากาศ ดังเช่นดาวเคราะห์ดวงอื่นๆในระบบสุ ริยะแล้ว จะทา
ให้อุณหภูมิในตอนกลางวันนั้นร้อนจัด และในตอนกลางคืนนั้นหนาวจัด เนื่องจาก
ก๊าซเหล่านี้ดูดคลื่นรังสี ความร้อนไว้ในเวลากลางวัน แล้วค่อยๆ แผ่รังสี ความร้อน
ออกมาในเวลากลางคืน ทาให้อุณหภูมิในบรรยากาศโลกไม่เปลี่ยนแปลงอย่าง
ฉับพลัน
มีก๊าซจานวนมากทีม่ ีคุณสมบัติในการดูดซับคลืน่ รังสีความร้ อน และถูก
จัดอยู่ในกลุ่มก๊าซเรือนกระจก ซึ่งมีท้งั ก๊าซทีเ่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติและเกิด
จากกิจกรรมของมนุษย์ ก๊าซเรือนกระจกที่สาคัญคือ ไอนา้ ก๊าซ
คาร์ บอนไดออกไซด์ โอโซน มีเทนและไนตรัสออกไซด์ สารซีเอฟซี เป็ นต้ น แต่
ก๊าซเรือนกระจกทีถ่ ูกควบคุมโดยพิธีสารเกียวโต มีเพียง 6 ชนิด โดยจะต้ อง
เป็ นก๊าซทีเ่ กิดจากกิจกรรมของมนุษย์ (anthropogenic greenhouse gas
emission) เท่ านั้น ได้ แก่ ก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ (CO2) ก๊ าซมีเทน (CH4)
ก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N20) ก๊าซไฮโดรฟลูออโรคาร์ บอน (HFC) ก๊าซเพอร์
ฟลูออโรคาร์ บอน(PFC) และก๊าซซัลเฟอร์ เฮกซะฟลูออไรด์ (SF6) ทั้งนี้ ยังมี
ก๊าซเรือนกระจกทีเ่ กิดจากกิจกรรมของมนุษย์ ทสี่ าคัญอีกชนิดหนึ่ง คือ สารซี
เอฟซี (CFC หรือChlorofluorocarbon) ซึ่งใช้ เป็ นสารทาความเย็นและใช้ ใน
การผลิตโฟม แต่ ไม่ ถูกกาหนดในพิธีสารเกียวโต เนื่องจากเป็ นสารทีถ่ ูกจากัด
การใช้ ในพิธีสารมอนทรีออลแล้ว
กิจกรรมต่ าง ๆ ของมนุษย์ กาลังเพิม่ ปริมาณก๊ าซเรือนกระจกเหล่ านี้ (อาจ
ยกเว้ นไอนา้ ) การเผาไหม้ เชื้อเพลิงจากถ่ านหิน นา้ มันและก๊าซธรรมชาติรวมทั้งการตัด
ไม้ ทาลายป่ าทาให้ เกิดก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ การทาการเกษตรและการปศุสัตว์ ปล่ อย
ก๊าซมีเทนและไนตรัสออกไซด์ ควันจากท่ อไอเสี ยรถยนต์ ปล่อยก๊ าซโอโซน นอกจากนี้
กระบวนการแปรรู ปอุตสาหกรรมปล่ อยสารฮาโลคาร์ บอน(CFCs, HFCs, PFCs)
การเพิม่ ขึน้ ของก๊าซเรือนกระจกนั้น ส่ งผลให้ ช้ันบรรยากาศมีความสามารถใน
การกักเก็บรังสี ความร้ อนได้ มากขึน้ ผลทีต่ ามมาคือ อุณหภูมเิ ฉลีย่ ของชั้น
บรรยากาศทีเ่ พิม่ ขึน้ ด้ วย แต่ การเพิม่ ขึน้ ของอุณหภูมโิ ลกนั้น ไม่ ได้ เพิม่ ขึน้ เป็ นเส้ นตรง
กับปริมาณก๊าซเรือนกระจกทีเ่ พิม่ ขึน้ อีกทั้งก๊าซเรือนกระจกแต่ ละชนิดยังมีศักยภาพใน
การทาให้ เกิดภาวะเรือนกระจก (Global Warming Potential: GWP) ทีแ่ ตกต่ าง
กัน ค่ าศักยภาพในการทาให้ เกิดภาวะโลกร้ อนนี้ ขึน้ อยู่กบั ประสิ ทธิภาพในการแผ่รังสี
ความร้ อนของโมเลกุล และขึน้ อยู่กบั อายุของก๊ าซนั้นๆ ในบรรยากาศ และจะคิดเทียบกับ
การแผ่รังสี ความร้ อนของก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ในช่ วงระยะเวลาหนึ่ง
ภาวะโลกร้ อน : ผลกระทบต่ อประเทศไทย
ภาวะโลกร้ อน ส่ งผลกระทบต่ อการอยู่รอดของสิ่ งมีชีวิต เนื่องจากอุณหภูมิ
สู งขึน้ ทาให้ ฤดูกาลเปลีย่ นแปลง สิ่ งมีชีวติ ทีไ่ ม่ สามารถปรับตัวเข้ ากับสภาพแวดล้ อมได้
ก็จะค่ อยๆ ตายลง ผลต่ อมนุษย์ เมือ่ อุณหภูมทิ สี่ ู งขึน้ ก็อาจทาให้ บางพืน้ ที่กลายเป็ น
ทะเลทราย ประชาชนขาดแคลนอาหาร และนา้ ดืม่ แต่ บางพืน้ ที่ประสบปัญหา
นา้ ท่ วมหนัก เนื่องจากฝนทีต่ กรุ นแรงมากขึน้ นา้ แข็งขั้วโลกและบนยอดเขาสู งละลาย
ทาให้ ปริมาณนา้ ทะเลเพิม่ สู งขึน้ พืน้ ทีช่ ายฝั่งทะเลได้ รับผลกระทบ บางพืน้ ที่อาจจะจม
หายไปอย่างถาวร มีงานวิจัยเนือ้ หากว่ า 1,000 หน้ า จากนักวิทยาศาสตร์
กว่ า 700 คน เกีย่ วกับกรณีภาวะโลกร้ อนจะแตกต่ างกันในแต่ ละประเทศแต่ ละส่ วน
ของโลก
1. ผลกระทบด้ านนิเวศวิทยา
อุณหภูมิจะสู งขึ้นเกิดฤดูกาลที่แห้งแล้ง มีน้ าท่วมหนัก ผลผลิตทางอาหารลดลง
ระดับน้ าทะเลเพิม่ สู งขึ้น สภาวะอากาศแปรปรวน อาจทาให้เกิดพายุต่างๆ มากมายเข้า
ไปทาลายบ้านเรื อนที่อยูอ่ าศัยของประชาชน ซึ่ งปั จจุบนั ก็เห็นผลกระทบได้ชดั มี
อุณหภูมิสูงขึ้นประมาณ 1 องศาเซลเซี ยส ในช่วง 40 ปี อย่างไรก็ตาม หาก
อุณหภูมิเพิ่มสู งขึ้น 2- 4 องศาเซลเซี ยส จะทาให้พายุไต้ฝนเปลี
ุ่
่ยนทิศทาง เกิดความ
รุ นแรงและมีจานวนเพิ่มขึ้นร้อยละ 10-20 ในอนาคต นอกจากนี้
ฤดูร้อนจะขยายเวลายาวนานขึ้น ในขณะที่ฤดูหนาวจะสั้นลง อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกที่
เพิ่มสู งขึ้น จะทาให้การระเหยของน้ าทะเล มหาสมุทร แม่น้ า ลาธาร และทะเลสาบ
เพิ่มมากขึ้น ยิง่ จะทาให้ฝนตกมากขึ้น และกระจุกตัวอยูใ่ นบางบริ เวณ ด้วย
ระบบนิเวศทางทะเล ก็เป็ นอีกระบบนิเวศหนึ่งที่จะได้รับผลกระทบจากภาวะ
โลกร้อน เนื่องจากระดับน้ าทะเลที่สูงขึ้น และอุณหภูมิผวิ น้ าที่เพิม่ ขึ้นส่ งผล
ให้พืชและสัตว์ทะเลบางชนิ ดสู ญพันธุ์ รวมถึงการเกิดปรากฏการณ์ปะการัง
ฟอกสี ท้ งั ในอ่าวไทยและฝั่งทะเลอันดามันทาให้เกิดน้ าท่วม ส่ วนบริ เวณอื่นๆ
ก็จะเกิดปั ญหา ภัยแล้งเนื่องจากฝนตกน้อยลง กล่าวคือ พื้นที่ภาคใต้จะมีฝน
ตกชุก และเกิดอุทกภัยบ่อยครั้งขึ้น ในขณะที่ภาคเหนือและ
ตะวันออกเฉี ยงเหนือ ต้องเผชิญกับความแห้งแล้งมากขึ้น รู ปแบบของฝนและ
อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไปทาให้วฏั จักรของน้ าเปลี่ยนแปลง ลักษณะการไหล
ของระบบน้ าผิวดิน และระดับน้ าใต้ดินก็จะได้รับผลกระทบด้วย ทั้งพืชและ
สัตว์จึงต้องปรับปรุ งตัวเองเข้าสู่ ระบบนิ เวศที่เปลี่ยนไป ลักษณะความ
หลากหลายทางชีวภาพก็จะเปลี่ยนแปลงตามไป
2. ผลกระทบด้ านเศรษฐกิจ
ในเอเชียยังมีโอกาสร้อยละ 66-90 ที่อาจเกิดฝนกระหน่ าและมรสุ มอย่าง
รุ นแรง รวมถึงเกิดความแห้งแล้งในฤดูร้อนที่ยาวนาน ภาวะโลกร้อนที่เกิดจากการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศนั้น ส่ งผลกระทบทางอ้อมต่อความมัน่ คงทางสังคมและ
เศรษฐกิจของประเทศชาติ เนื่องจากความเสี ยหายต่างๆที่เกิดขึ้น ไม่วา่ จะเป็ นการสูญเสี ย
พื้นที่เกษตรกรรมที่สาคัญตามแนวชายฝั่งที่ยบุ ตัว ภัยธรรมชาติ และความเสี ยหายที่เกิดจาก
เหตุการณ์ธรรมชาติที่รุนแรง ล้วนส่ งผลให้ผลิตผลทางการเกษตร ซึ่ งเป็ นสิ นค้าออกหลัก
ของประเทศมีปริ มาณลดลง พื้นที่ที่คุม้ ค่าแก่การป้ องกันในเชิงเศรษฐกิจ และพื้นที่ที่มีการ
พัฒนาสู ง อาจได้รับการป้ องกันล่วงหน้า เช่น นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จาต้องมี
โครงสร้างป้ องกันกระแสคลื่น ซึ่ งจะรุ นแรงขึ้นเมื่อน้ าทะเลสู งขึ้น หรื อการสร้างกาแพงกั้น
น้ าทะเลหรื อเขื่อน เพื่อป้ องกันการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าทางการเกษตร และการทานาเกลือ เป็ น
ต้น ทั้งนี้ ในปี 2532-2545 ประเทศไทยเกิดความเสี ยหายจากอุทกภัย พายุ และภัย
แล้ง คิดเป็ นมูลค่าเสี ยหายทางเศรษฐกิจมากกว่า 70,000 ล้านบาท
3. ผลกระทบด้ านสุ ขภาพ
ท่ามกลางอุณหภูมิโลกร้อนขึ้น น้ าท่วม ภัยแล้ง และอุณหภูมิ
เฉลี่ยของโลกที่เพิ่มสู งขึ้นและเหตุการณ์ตามธรรมชาติที่รุนแรง
และเกิดบ่อยครั้งส่ งผลกระทบโดยตรง ต่อสุ ขภาพและอนามัย
ของคนไทย โรคระบาดที่สัมพันธ์กบั การบริ โภคอาหารและน้ าดื่ม มีแนวโน้มว่าจะ
เพิ่มสู งมากขึ้น โดยภัยธรรมชาติ เช่น ภาวะน้ าท่วมทาให้เกิดการปนเปื้ อนของเชื้อ
โรคในแหล่งน้ า ไม่วา่ จะเป็ น โรคบิด ท้องร่ วง และอหิ วาตกโรค เป็ นต้น โรคติดต่อ
ในเขตร้อนก็มีแนวโน้มว่าจะเพิ่มขึ้น และจะคร่ าชีวติ ผูค้ นเป็ นจานวนมาก
เช่นเดียวกัน โดยเฉพาะ ไข้มาลาเรี ย ซึ่ งมียงุ ลายเป็ นพาหะ เนื่องจากการขยายพันธุ์
ของยุงจะมากขึ้นในสภาวะแวดล้อมที่ร้อนขึ้นและฤดูกาลที่ไม่แน่นอน แนวโน้ม
ของผลผลิตทางการเกษตรที่ลดลงจากภัยธรรมชาติ อาจนาไปสู่ ภาวะขาดแคลน
อาหาร และความอดอยาก ทาให้เกิดภาวะขาดสารอาหาร และภูมิตา้ นทานร่ างกาย
ต่า โดยเฉพาะในเด็กและคนชรา
แนวทางการแก้ปัญหาภาวะโลกร้ อน
1. ใช้พลังงานชีวภาพ เช่น ไบโอดีเซลล์ เอธานอล ให้มากขึ้น
2. ลดการใช้พลังงานในบ้าน (การใช้ไฟฟ้ าในที่พกั อาศัย มีส่วนทาให้เกิดก๊าซ
เรือนกระจก ถึง 16% )
3. เปลี่ยนหลอดไฟเป็ นหลอดไฟแบบขด (CFL) จะใช้ไฟเพียง 1 ใน 4 ของปกติ
4. การเปลี่ยนไปใช้ไฟแบบหลอด LED จะได้ไฟที่สว่างกว่า และประหยัดไฟฟ้ ากว่า
หลอดปกติ 40 %
5. ในอเมริ กาได้มีการรณรงค์ให้เก็บ ภาษีคาร์ บอน จากโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่ งจะช่วย
ลดปริ มาณการปล่อย CO2 ลงราว 5%
6. บ้านหลังใหญ่กินไฟกว่าการอยูบ่ า้ นหลังใหญ่เกินความจาเป็ น ส่ งผลให้มี
การใช้พลังงานมากกว่าที่ตอ้ งการได้
7. ไม่ซกั ผ้าในน้ าอุ่น ตากผ้าแทนที่จะใช้เครื่ องอบผ้า ผลการวิจยั บอกว่า ตลอด
อายุการใช้งานของเสื้ อ 1 ตัวจะปล่อย CO2 จากการซัก รี ด อบแห้ง
ประมาณตัวละ 9 ปอนด์
8. รี ไซเคิลเสื้ อ ในบางบริ ษทั มีการรับบริ จาคเสื้ อที่ใช้แล้ว จะนาไปหลอมมา
ทาเป็ นเส้นใยใหม่อีกครั้ง ซึ่ งจะช่วยลดก๊าซ เรือนกระจก ได้ถึง 71%
9. สร้างตึกสี เขียว ในการก่อสร้างบางตึกจะผสมคอนกรี ต เข้ากับ slug
(ของเสี ยที่ได้จากเหมือง) ซึ่ งจะทาให้แข็งแรงขึ้น ลดการใช้พลังงานได้มากขึ้น
ตลอดเวลาที่ผา่ นมา เราทั้งหลายใช้พลังงานความร้อนกัน
เป็ นอันมากซึ่งมีผลกระทบต่อโลกในทางที่เลวร้าย และยิง่
ทวีความรุ นแรงมากยิง่ ขึ้น ยากที่จะแก้ไขแล้วในขณะนี้
ถ้าพวกเราชาวมนุษย์โลก ไม่หยุดการใช้พลังงานความร้อน
ซะตัง่ แต่ตอนนี้ ก๊าซคาบอนไดออกไซด์ ซึ่งลอยอยูใ่ นชั้น
บรรยากาศในสภาพเรื อนกระจกนั้น จะมีอายุยนื อยูถ่ ึง 100
ปี ลูกหลานของเราจะเป็ นผูร้ ับมรดกอันเลวร้ายนี้ จากพวก
เราซึ่งเป็ นผูก้ ระทา
หนังสื ออ้างอิง
http://noon3113.multiply.com/journal/item/26
http://campus.sanook.com/u_life/knowledge_02620.
php
http://www.sawananan.ac.th/computer/new/work2/m
3/m3/1/page1.html