Transcript ไร่

จังหวัด
จันทบุรี
สุ ราษฎร์ธานี
สงขลา
นครศรี ธรรมราช
ประจวบคีรีขนั ธ์
ตราด
สตูล
ชุมพร
พังงา
ฉะเชิงเทรา
กระบี่
ตรัง
ตัน
ตัน/ไร่
62241.72 1.18
60478.59 0.87
49954.10 1.42
37657.56 1.19
37203.42 1.26
37040.20 1.30
35865.04 1.43
30635.87 1.22
26292.59 1.32
24807.39 0.96
22997.69 1.41
21640.76 1.21
โครงการ
พืน้ ที่
โครงการ
(ไร่ )
บ้ านหน้ าโกฏิ
1,216
บ้ านท่ าพญา
1,320
บ้ านบ่ อคณฑี
2,015
บ้ านหน้ าสตน 1,030
พืน้ ที่เลีย้ ง จานวนบ่ อ
(ไร่ )
เลีย้ งกุ้ง (บ่ อ)
631.50
271.00
501.00
630.00
196
98
163
189
จานวน พืน้ ที่เฉลีย่ ต่ อ
เกษตรกร
บ่ อ (ไร่ )
(ราย)
196
3.22
52
2.76
51
3.07
82
3.33
“ เขตการผลิ ตทางการเกษตร ซึ่ งรวมทัง้ การเลี ย้ งสัตว์และการปลูกป่ า ที ก่ าหนดขึ้นให้
เหมาะสมกับภาวะตลาดและเศรษฐกิ จการเกษตรของประเทศ ”
•
•
•
•
ทำให้ เกิดกำรใช้ ทรัพยำกรธรรมชำติในกำรผลิตอย่ำงมีประสิทธิภำพและยัง่ ยนน
มีกำรผลิตที่เหมำะสมกับศักยภำพของพน ้นที่
ลดปั ญหำควำมเสน่อมโทรมของทรัพยำกรจำกกำรใช้ ที่ผิดประเภท
ทำให้ มีระบบกำรผลิตมีเสถียรภำพยิ่งขึ ้น
คณะกรรมการนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ เห็นชอบกรอบแนวทาง
การบริ หารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ (Zoning) 3 รู ปแบบ
1. โซนนิ่งเพื่อส่ งเสริ มให้เกิดการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการผลิต ลดต้นทุน ลดความเสี่ ยง
และได้สินค้าเกษตรที่มีคุณภาพ
2. โซนนิ่งเพื่อการจับคู่ความต้องการของตลาดและการผลิต เพื่อกาหนดโรงงานแปร
รู ปและเครื อข่ายเกษตรกรให้มีความเชื่อมโยงกัน
3. โซนนิ่งเพื่อการป้ องกันและไม่ทาลายทรัพยากรธรรมชาติ มุ่งสร้างความเชื่อมัน่ ใน
มาตรฐานสิ นค้าจากไทยให้กบั ผูส้ ่ งออก ผูน้ าเข้า ผูบ้ ริ โภค และลดความเสี่ ยงจาก
การส่ งออก นาไปสู่ การผลิตสิ นค้าเกษตรปลอดภัย (Food Safety)
• เขตเศรษฐกิจของการเพาะเลี้ยงกุง้ ทะเลเป็ นเขตที่มีการเลี้ยงกุง้ ทะเลและมีการ
บริ หารจัดการตลอดห่วงโซ่ การผลิต
• เพื่อให้สามารถผลิตกุง้ ได้อย่างสอดคล้องกับความต้องการของตลาดผูบ้ ริ โภค
• มีการบริ หารจัดการ ฟาร์ มเพาะเลี้ยงกุง้ โรงเพาะฟัก บริ ษทั ผลิตอาหารและ
ปั จจัยการผลิตอื่นๆ ห้องเย็น และโรงงานที่อยูใ่ นเขตพื้นที่เดียวกัน
• มีการวางแผนการผลิตและส่ งมอบสอดคล้องกันกับแผนการผลิต และ
แผนการตลาด
• มีการทาสัญญาซื้ อ-ขายกันโดยตรงภาย
• มีการลดต้นทุนการผลิต ส่ งมอบได้รวดเร็ วและมีคุณภาพ ตัดขั้นตอนต่างๆ ที่
ไม่จาเป็ นออกไป
• เพิ่มคุณภาพ และมูลค่าการส่ งออกสิ นค้ากุง้ ได้
เพื่อให้มนั่ ใจว่าอุตสาหกรรมกุง้ ไทยสามารถแข่งกันในตลาดโลกได้อย่างยัง่ ยืน
• การสร้างความเข้มแข็งแก่เกษตรกรและองค์กรเกษตรกรและผูป้ ระกอบการ
• การสร้างความมัน่ คงด้านวัตถุดิบและปั จจัยการผลิต ตลอดจนจัดการแผนการ
ผลิตให้สอดคล้องเป็ นกับแผนการตลาดเพื่อการบริ โภคในประเทศและการ
ส่ งออก
• การจัดทาระบบตรวจรับรองและตรวจสอบย้อนกลับที่มีประสิ ทธิ ภาพ
• ยกระดับคุณภาพมาตรฐานความปลอดภัยอาหาร
• บริ หารจัดการตลาดและระบบโลจิสติกส์ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตกุง้ ทะเลเพื่อ
การส่ งออกตลอดสายการผลิต (Supply Chain Management)
การปรับตัวด้ านการเทคโนโลยีในการผลิต
• ตัวด้านการเตรี ยมบ่อพักน้ า เตรี ยมบ่อเลี้ยง ที่ดี
• ปล่อยลุกกุง้ พันธุ์ดี ด้วยความหนาแน่นที่เหมาะสม
• ติดตั้งและใช้เครื่ องเพิ่มออกซิ เจนในตาแหน่งและปริ มาณที่เหมาะสม
• ปรับวิธีการให้อาหารที่เหมาะสมเพื่อลด FCR
• ปรับฟาร์ มเลี้ยงให้มีสภาพเป็ นฟาร์ มที่มีความปลอดภัยทางชีวภาพ
• เก็บน้ าทิ้งมาบาบัดแล้วนากลับมาใช้ใหม่
การปรับตัวด้ านต้ นทุนการผลิต
• ดูแลเครื่ องเพิ่มออกซิ เจนและมอเตอร์ ให้อยูใ่ นสภาพที่เหมาะสมสาหรับการใช้
งานและกินพลังงานต่า
• การติดตั้งใบพัดในระดับที่เหมาะสมจากผิวน้ า
• จัดสภาพแวดล้อมในการเลี้ยงโดยเฉพาะออกซิ เจนเพื่อให้การให้อาหารกุง้ มี
ประสิ ทธิภาพสูงสุ ด
การปรับตัวด้ านมาตรฐานฟาร์ ม
• ผูน้ าเข้าจะใช้การรับรองมาตรฐาน เป็ นเงื่อนไขของการซื้ อขาย
• มีการตรวจสอบทั้งทางตรงและทางอ้อมว่าเราได้มีการปฏิบตั ิได้ตามมาตรฐาน
จริ งหรื อไม่
• มาตรฐานที่สอดคล้องกับมาตรฐาน FAO จะมีการนามาใช้กนั อย่างแพร่ หลาย
มากขึ้น
• พัฒนาตนเองเข้าสู่ มาตรฐานและรักษามาตรฐานนี้ไว้ในฟาร์ มอย่างต่อเนื่อง
การปรับตัวด้ านองค์ กรเกษตรกร
• การรวมตัวกันเป็ นกลุ่ม เช่น กลุ่มสหกรณ์ผเู ้ ลี้ยงกุง้ ทาให้เกิดเป็ นนิติบุคคล
• มีความเข็มแข็งของระเบียบ และสามารถใช้วางแผนธุรกิจ และต่อรองราคา
ปั จจัยการผลิต ทาให้มีโอกาสร่ วมกันในการลดต้นทุนการผลิตได้
การปรับตัวด้ านการตลาด
• ในอนาคตรู ปแบบการซื้ อขาย และธุรกิจกุง้ โลกจะมีการแข่งขันกันรุ นแรง
มากขึ้น ประเทศผูผ้ ลิตต้องพยายามหาและรักษาส่ วนแบ่งการตลาดไว้ให้ได้
• ราคากุง้ ที่สมเหตุสมผล เท่านั้นที่จะทาให้อุตสาหกรรมกุง้ ไทยไปได้
• อุตสาหกรรมกุง้ เมืองไทยที่ ผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องเป็ นอิสระต่อกัน ทาให้ที่ผา่ นมา
ขาดการทาแผนธุรกิจร่ วมกัน
• การพัฒนาระบบเครื อข่าย (Shrimp Cluster) เพื่อบริ หารจัดการ การผลิตและ
การตลาดร่ วมกัน น่าจะเป็ นวิธีที่ทาให้อุตสาหกรรมกุง้ ไทยและกลุ่มเกษตรกร
สามารถผนึกกาลังกันต่อสู ้กบั การแข่งขันส่ งออกของประเทศผูผ้ ลิตกุง้ ราย
อื่นๆ ได้
1. กาหนดเขตเศรษฐกิจผลิตกุง้ ขาวเพื่อการส่ งออก
2. จัดทาฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ของเขต เช่น ขนาดฟาร์ ม พิกดั ที่ต้ งั ปริ มาณบ่อ
เลี้ยง กาลังผลิต เป็ นต้น
3. ยกระดับมาตรฐานการผลิตในฟาร์มให้ได้ตามมาตรฐาน มกษ 7401-2552
และสนับสนุนให้เป็ นมาตรฐานประเทศไทยที่ใช้ในการส่ งออก
4. บริ หารจัดการให้การผลิตให้มีความสอดคล้องกับแผนการตลาด (ส่ งออก
ต่างประเทศ)
5. ศึกษารู ปแบบและแผนการส่ งออกในเชิงปริ มาณและผลิตภัณฑ์
6. บริ หารจัดการระบบโลจิสติกส์ในการผลิตเพื่อส่ งออกให้มีตน้ ทุนต่าลง และ
มีศกั ยภาพในการแข่งขันกับประเทศผูผ้ ลิตจากประเทศอื่นๆ
1. แผนการผลิตของเกษตรกรผูเ้ ลี้ยงกุง้ ให้สอดคล้องกับแผนการส่ งออก
2. ระบบ MD/FMD ให้กบั กลุ่มเกษตรกร เพื่อให้สามารถบริ หารจัดการ
การเลี้ยงและการเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ตามแผน
3. ระบบตรวจสอบย้อนกลับของกรมประมง
4. จัดทา เกษตรพันธะสัญญา โดยให้มีการให้ราคาเพิ่มสู งขึ้นจากราคา
ท้องตลาด จาก มาตรฐานการผลิตและคุณภาพของกุง้ ที่สูงขึ้น เช่น มี
ความสด มีการรักษาคุณภาพหลังจับและ ไม่มีการใช้สารต้องห้าม
และไม่มีสารตกค้าง
• มาตรฐาน มกษ. 7401-2552 หรื อ มาตรฐานการปฏิบตั ิทางการเพาะเลี้ยงสัตว์
น้ าที่ดี (จีเอพี) สาหรับฟาร์ มเลี้ยงกุง้ ทะเล เป็ นมาตรฐานแห่ งชาติของกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ ที่มีมาตรฐานเทียบเท่ามาตรฐานสากล (FAO)
• ครอบคลุมแนวทางการปฏิบตั ิที่ดีเพื่อแก้ไขปั ญหาในการเพาะเลี้ยงกุง้ ทะเลใน
4 ปัญหาคือ
• ปัญหาด้านความปลอดภัยของอาหาร
• ปัญหาด้านสวัสดิภาพและสุ ขภาพสัตว์
• ปั ญหาด้านสิ่ งแวดล้อมและความยัง่ ยืน
• ปั ญหาด้านเศรษฐกิจและสังคม
• มาตรฐาน มกษ. 7401-2552 เป็ นมาตรฐานที่เทียบเท่ากับมาตรฐานกุง้ แห่ ง
อาเซี ยน
• การจัดทาระบบตรวจรับรองการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าของ FAO ได้รับการยอมรับ
เป็ นแนวทางของการกาหนดมาตรฐานในการค้าขายมากขึ้น
• การรวมเป็ นกลุ่มเหมาะสาหรับ สมาชิกในสหกรณ์ ที่รวมตัวกันผลิตและขาย
ภายใต้แผนการผลิตและมาตรฐานเดียวกัน เกษตรกรสามารถช่วยเหลือกัน
• มีเอกลักษณ์ และข้อได้เปรี ยบในการเจรจาและวางแผนการขายกุง้
• ในกรณี ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่าย จะมีค่าใช้จ่ายต่าลงเนื่องจากไม่ตรวจทุกฟาร์ม
1.
2.
3.
4.
คัดเลือกเกษตรกรที่เลี้ยงกุง้ อยูใ่ นเขตภูมิศาสตร์ เดียวกัน
กาหนดแนวทางการเลี้ยงเบื้องต้นของกลุ่ม
การตรวจประเมินแบบสุ่ มตรวจ
มีระบบการควบคุมคุณภาพการผลิต (Internal Control System)
• เกษตรกรสามารถวางแผนการผลิตกุง้ ได้อย่างมีเสถียรภาพ ตามความ
ต้องการของตลาด
• ลดปั ญหาในการขายกุง้ และราคากุง้ ตกต่า
• ลดต้นทุนในกระบวนการขนส่ งสิ นค้าระหว่างฟาร์ ม ห้องเย็น และโรงงาน
• ผูร้ ับซื้ อ/ห้องเย็น/โรงงาน ได้สินค้าตามคุณสมบัติที่ตอ้ งการ
• โรงงานได้วตั ถุดิบที่มีคุณภาพในการผลิตผลิตภัณฑ์กงุ้ เป็ นการเพิ่มมูลค่า
เพื่อการส่ งออก