Transcript Document

ั วาลย์ ชงิ ชย
ั
อ.ชช
Adam Smith
ค.ศ.1723-1790 (ปลายอยุธยา-ต้น
ร ัตนโกสินทร ์)
เกิดในสมัยสมเด็จพระสรรเพชญ ์ที่ 9 (พระราชโอรส
พระเจ้าเสือ)
พ.ศ.2251-2275
ตายในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
มหาราช
สมเด็จพระสรรเพชญ ์ที่ 9(พระราชโอรสพระเจ้าเสือ)
2251-2275(24ปี )
สมเด็จพระเจ้าอยู ่หวั บรมโกศ(พระราชโอรสพระเจ้า
เสือ)2275-2301(26ปี )
สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร(พระราชโอรสพระเจ้าอยู ่หวั บรม
โกศ)2301(2เดือน)
่ ่งสุรย
สมเด็จพระทีนั
ิ าสน์อมรินทร ์(พระเจ้าเอกทัศ)(พระ
ราชโอรสพระเจ้าอยู ่หวั บรมโกศ)2301-2310(9ปี )
นั ก ปร ช
ั ญาศีล ธรรมและ นั ก เศรษฐศาสตร ์
การเมืองผู บ
้ ุกเบิกชาวสกอตแลนด ์
 อดัม สมิธ เป็ นผู ม
้ ส
ี ่ ว นส าคัญในการกาหนด
แนวคิดเศรษฐศาสตร ์แนวตลาดเสรี เป็ นบุคคล
่ นทีรู่ จ้ ก
่ า "ยุค
สาคญ
ั ในขบวนการทีเป็
ั ในชือว่
ส ว่ า ง ข อ ง ส ก อ ต แ ล น ด ์ " ( Scottish

Enlightenment)
ต่ อ ม า ใ น ค ริ ส ต ์ศ ต ว ร ร ษ ที่ 1 8 อ ดั ม ส มิ ท
(Adam Smith)
่ An Inquiry into the
ได้เขียนหนังสือชือ
Nature
and Causes of the Wealth of
Nations
่ ยมเรียกสันๆว่
้
หรือทีนิ
า The
Wealth of
Nations
ใน ค.ศ. 1776 นับได้ว่า เป็ นต าราเศรษฐศาสตร ์
เล่มแรก
The Wealth of Nations เป็ นหนังสือ
เศรษฐศาสตร เ์ ล่ ม แรกกล่ า วถึ ง ท าอย่ า งไร
่
่
ประเทศจึงจะรารวย
พู ดถึงเรืองกลไกส
าคญ
ั ที่
เ ชื่ อ มโ ย ง ร ะ ห ว่ า ง สั ง ค ม กั บ ธุ ร กิ จใ ห้
่
ผลประโยชน์รว่ มกัน เรืองกลไกของตลาด
การ
ก าหนดมู ล ค่ า ของราคาสิ่งของ การบริห าร
การคลัง การกระจายรายได้ การค้า ระหว่ า ง
ประเทศ




Book One: Of the Causes of Improvements in the
Productive Powers of Labour, and of the Order
according to which its Produce is naturally
distributed among the different Ranks of the
People
Book Two: Of the Nature, Accumulation, and
Employment of Stock
Book Three: Of the different Progress of Opulance
in different Nations
Book Four: Of Systems of Political Economy
 ทุนนิ ยม
(capitalism)
่
เป็ นระบบเศรษฐกิจ ที่ซึงผลิ
ต ภัณ ฑ ์
่
และสินค้ามีการจาหน่ าย แลกเปลียนซื
อ้
ขายโดยทางเอกชน บริษ ัท หรือ กลุ่ ม
่
ธุรกิจ เพือสร
า้ งผลกาไรให้กบ
ั หน่ วยงาน
่
โดยการแลกเปลียนสิ
นค้าและการบริการ
ที่มี ก ารรองร บ
ั ทางกฎหมายและมี ก าร
แข่ ง ขัน การในเชิง การค้า เพื่อท าก าไร
่ ได้ควบคุมโดยหน่ วยงานกลาง
สู งสุดซึงไม่
หรือจากทางร ัฐบาล
ทุ น นิ ย มจ ะกล่ า วถึ ง ทุ น แล ะที่ ดิ น เป็ น
สมบัตส
ิ ่วนบุคคล การตัดสินใจทางเศรษฐกิจ
เป็ นกิจ กรรมส่ ว นบุ ค คล ไม่ ใ ช่ ก ารควบคุ ม
บริหารโดยร ัฐ และตลาดเสรีหรือเกือบเสรีจะ
เป็ นตัว ก าหนดราคา ควบคุ ม และระบุ ท ิ ศ
่ า้ งรายร ับ บาง
ทางการผลิต รวมถึงเป็ นทีสร
คนกล่าวว่าระบบเศรษฐกิจในปั จจุบน
ั ของโลก
่
ตะวันตกคือระบบทุนนิ ยม ในขณะทีหลายคน
มองว่าในบางประเทศก็มร
ี ะบบเศรษฐกิจเป็ น
เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ บ บ ผ ส ม ก ล่ า ว คื อ มี
้
เสรีนิ ย ม (Liberalism)
หมายถึง
่ ่งให้
อุดมการณ์หรือความคิดทางการเมืองทีมุ
สิ ท ธิเ สรีภ าพแก่ ปั จเจกบุ ค คลอย่ า งเต็ ม ที่
ภ า ยใ ต้ข อ บ เ ข ต ข อ ง กฎ ห ม า ย หลัก กา ร
้
พืนฐานของเสรี
นิ ย ม ได้แ ก่ สิท ธิม นุ ษยชน
โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย่ า ง ยิ่ ง สิ ท ธิ ใ น ชี วิ ต แ ล ะ
ทร ัพย ์สิน (right of life, property) ความ
เสมอภาคสาหร ับทุกคนภายใต้กฎหมาย การ
ปกครองโดยการเห็นชอบจากประชาชนโดย
กระบวนการเลื อ กตัง้ ความโปร่งใสในการ
้
่ า โดยพืนฐาน
แนวความคิดเสรีนิยมเชือว่
มนุ ษย ์นั้นมิได้เป็ นคนเลว แต่มนุ ษย ์เป็ นสัตว ์
ที่ มี เ ห ตุ ผ ล ดั ง นั้ น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ท า ง
เศรษฐกิจ การเมือง รวมถึง สันติภาพระหว่าง
่ เป็
่ นไปได้ นักเสรีนิยมเชือ
่
ประเทศจึงเป็ นสิงที
่
ว่าความสัมพันธ ์ระหว่างประเทศนั้นเป็ นเรือง
่
การมุ่งแสวงหาการพึงพาระหว่
างกันมากกว่า
่
้ งเป็ น
แสวงหาความมันคงทางอ
านาจ ดังนันจึ
ที่มาของการสร า้ งสถาบัน ระหว่ า งประเทศ
ร่ ว มกัน รวมถึ ง จารีต แนวปฏิ บ ต
ั ิ ร ะหว่ า ง
ลั ท ธิ บ ริ โ ภ ค นิ ย ม ( consumerism)
หมายถึง ลัท ธิท ี่ให้ค วามส าคัญ กับ การ
้
เสพย ์ การซือและบริ
โ ภควัต ถุ ข้า วของ
่ านวยความสะดวกต่าง ๆ โดยให้
และสิงอ
ความส าคัญ กับ เงิ น มากกว่ า คุ ณ ค่ า ทาง
จิตใจ
ลักษณะของลัทธิบริโภคนิ ยม
๑ . ทัศ น ค ติ ท ี่ จ ะ ใ ฝ่ เ ส พ ม า ก ก ว่ า ใ ฝ่ ผ ลิ ต
ความสุขต้องได้มาจากการเสพ
่
๒.พฤติกรรมแบบอวดมังอวดมี
๓.ระบบการทาให้ทุกอย่างกลายเป็ นสินค้า
ลัทธิบริโภคนิ ยมจึงเป็ น ลัทธิของสาเร็จรู ป
ได้มาอย่างง่ าย ๆ
้ ตอ
ไว ๆ ไม่ตอ
้ งผลิต ใช้เงินซือไม่
้ งอาศ ัยการ
ปฏิบต
ั ห
ิ รือการลง แรง