Transcript ผ.ท. 5

หลักการ
สารวจข้อมูลภาคสนาม
“การสารวจข้อมูลภาคสนาม”
หมายถึง การสารวจจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับ
1. ที่ดินและการใช้ประโยชน์ที่ดิน
2. ข้อมูลโรงเรือนหรือสิ่งปล ูกสร้าง และการใช้
ประโยชน์
3. ข้อมูลป้าย
4. ข้อมูลการประกอบการค้า
ในแปลงที่ดินแต่ละแปลง
วัตถ ุประสงค์ของการสารวจข้อมูลภาคสนาม
•ตรวจสอบความถูกต้องของรายละเอียดเกี่ยวกับที่ดิน
ที่คดั ลอกจากสานักงานที่ดิน
•สารวจข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ในที่ดิน
•สารวจข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับโรงเรือนหรือ
สิ่งปล ูกสร้างและการใช้ประโยชน์
•สารวจข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับป้าย และการประกอบ
กิจการที่เข้าข่ายต้องขออน ุญาตตามกฎหมายการ
สาธารณส ุข
การให้ความรด้ ู า้ นกฎหมาย
• พ.ร.บ.ภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. 2475
• พ.ร.บ.ภาษีบาร ุงท้องที่ พ.ศ. 2508
• พ.ร.บ. ภาษีป้าย พ.ศ. 2510
• พ.ร.บ.การสาธารณส ุข พ.ศ. 2535
• กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
การบันทึกข้อมูลในแบบพิมพ์ต่าง ๆ
แบบพิมพ์ที่ใช้ในภาคสนาม มี 3 ชนิด คือ
• ผ.ท. 1 แบบสารวจข้อมูลเกี่ยวกับที่ดิน
• ผ.ท. 2 แบบสารวจข้อมูลเกี่ยวกับโรงเรือน
• ผ.ท. 3 แบบสารวจข้อมูลเกี่ยวกับป้ายและ
ใบอน ุญาตต่าง ๆ
หลักการตัง้ และบันทึกแบบพิมพ์สารวจภาคสนาม
ผ.ท. 1 • จัดทาขึ้นท ุกแปลงที่ดิน แปลงที่ดินละ 1 ใบ
• กรณีกรรมสิทธิหลายคนให้ใส่ชื่อ
กรรมสิทธิคนแรก ส่วนคนต่อ ๆ ไป ให้
เขียนลงที่มมุ บนด้านซ้ายจนครบท ุกคน
• กรณีที่ดินแบ่งแยก ก็ตอ้ งทา ผ.ท. 1 ขึ้นตาม
จานวนแปลงที่ดินที่เกิดขึ้นใหม่ พร้อมทัง้ ลง
รหัสที่ดิน (Lot) ที่กาหนดขึ้นใหม่ตามแผนที่
แม่บท
การบันทึกข้อมูลโรงเรือน (ผ.ท. 2)
• จัดทาขึ้นตามจานวนเจ้าของโรงเรือน
ที่มีอยูใ่ นแปลงที่ดินนัน้ ๆ
• ข้อบกพร่องที่พบเสมอคือ จัดทา ผ.ท. 2
โดยยึดเจ้าของที่ดินเป็นหลัก หรือยึดหลัก ผ.ท. 2
1 ใบ ต่อ 1 แปลงที่ดิน ซึ่งไม่ถ ูกต้อง
•ผ.ท. 2
กรณีโรงเรือนให้เช่า
พนักงานสนามจะต้องสอบถาม
อัตราค่าเช่าที่แท้จริงให้ได้
โดยตรวจสอบหรือสอบถามจากผูอ้ ยูอ่ าศัย
บริเวณข้างเคียง มาประกอบ
• กรณีโรงเรือนลักษณะพิเศษ เช่น โรงแรม
ห้างสรรพสินค้า หรือโรงงานอ ุตสาหกรรม
ที่มีการใช้โรงเรือนหลังเดียวหลายประเภท
ต้องตรวจสอบการใช้ประโยชน์ท ุกชัน้ และ
บันทึกรายละเอียดการสารวจเพิ่มเติม
ประกอบแบบ ผ.ท. 2 หากมีการจัดทาผังการ
ใช้ประโยชน์แต่ละชัน้ ไว้ดว้ ยก็จะเป็นการดี
(รายละเอียดบันทึกแยกเป็นรายบรรทัดต่อชัน้ )
การบันทึกข้อมูลป้ายและการประกอบการค้าฯ
(ผ.ท. 3)
• จัดทาขึ้นตามจานวนเจ้าของป้ายหรือผูป้ ระกอบการค้า
ที่มีอยูใ่ นแปลงที่ดินนัน้
•ในกรณีที่ผป้ ู ระกอบการค้ามิได้ติดตัง้ ป้ายจะต้องบันทึก
ชื่อ - ที่อยู่ ผูป้ ระกอบการค้านัน้ ไว้ในแบบ ผ.ท. 3 ด้วย
พร้อมบันทึกในช่องหมายเหต ุว่า “ไม่มีป้าย”
• กรณีป้ายมีขอ้ ความ ร ูปภาพ ประปนกันหลายอย่างควร
เขียนแผนผังโดยสังเขป แสดงตาแหน่งของข้อความ/
ตัวอักษร ร ูปภาพ ให้ถ ูกต้อง ชัดเจนด้วย
การจัดทาผังบริเวณ
• เพื่อจาลองผังอาคาร/สิ่งปล ูกสร้าง และวางตาแหน่ง
ลงในแปลงที่ดินซึ่งเป็นข้อมูลในการทาแผนที่ภาษีและ
ทะเบียนทรัพย์สิน วิธีปฏิบตั ิดงั นี้
• รังวัดระยะจากตัวอาคาร/สิ่งปล ูกสร้างถึงแนวขอบ
แปลงที่ดิน ที่ตงั้ อาคาร/สิ่งปล ูกสร้างโดยยึดโยง
อย่างน้อย 2 ด้าน
• วัดความกว้าง-ยาว ของอาคาร/สิ่งปล ูกสร้าง
จากเสาถึงเสา
• จาลองร ูปอาคารหรือสิ่งปล ูกสร้างโดยสังเขป
ลงในกระดาษ A4 กากับระยะความกว้าง-ยาว
เป็นเมตร บ้านเลขที่ ทิศ รหัสแปลงที่ดิน และ
รายละเอียดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
• ความสัมพันธ์ของข้อมูลระหว่างผังบริเวณและแบบ
สารวจเกี่ยวกับโรงเรือน/สิ่งปล ูกสร้าง (ผ.ท. 2)
จะต้องสมนัยกัน
ความสัมพันธ์ของข้อมูลในแบบพิมพ์สารวจภาคสนาม
ผ.ท. 1
•ว่างเปล่า
•เกษตรกรรม
ที่ดิน
จบ
1ใบต่อ 1 แปลงที่ดิน
โรงเรือน/สิ่งปล ูกสร้าง
เจ้าของโรงเรือน 1 ใบ/1 คน
จบ
เช่าอยูอ่ าศัย
ตามเจ้าของป้าย,
ผูป้ ระกอบการค้า
ผ.ท. 2
อยูอ่ าศัย
ผ.ท. 3
ผังบริเวณ
ประกอบการค้า
ป้าย
ผังป้าย
ประเภทกิจการค้า
การจัดทาแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน
เป็นการถ่ายหรือคัดลอกข้อมูลจากการสารวจ
ภาคสนามมาจัดทา
1.แผนที่ภาษี (ผ.ท.7)
2.ทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4)
หลักในการจัดทาทะเบียนทรัพย์สิน
• จัดทาโดยยึดหลักเจ้าของทรัพย์สิน
• จัดทาที่ละแปลงที่ดิน
ข้อมูลของทะเบียนทรัพย์สินประกอบด้วย
1. ชื่อ - สก ุล และที่อยูข่ องเจ้าของทรัพย์สิน
2. ประเภททรัพย์สินอะไรบ้าง
3. การใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน
วิธีจดั ทา
• นาข้อมูลภาคสนาม( ผ.ท. 1, 2 และ3 ) ซึ่ง
เดินสารวจตามแปลงที่ดินแต่ละแปลง มา
จัดทาทะเบียนทรัพย์สิน ( ผ.ท. 4) เป็นราย
แปลง
•นาข้อมูลแผนที่แม่บทและผังบริเวณไป
จัดทาแผนที่ภาษี (ผ.ท. 7 )
การกาหนดรหัสชื่อเจ้าของทรัพย์สิน
• บ ุคคลธรรมดา
– ใช้พยัญชนะตัวแรกของเจ้าของทรัพย์สิน
เป็นอักษรนาหน้ารหัสชื่อ
–แปลงพยัญชนะตัวถัดไปของชื่อเจ้าของ
ทรัพย์สิน จานวน 3 ตัว จัดเป็นตัวเลข
ตามลาดับ
การจัดทาทะเบียนค ุมผูช้ าระภาษี (ผ.ท. 5)
วัตถ ุประสงค์
1. เพื่อให้ทราบว่าเจ้าของทรัพย์สินรายใดอยูใ่ น
ข่ายต้องเสียภาษีอะไรบ้าง
2. เพื่อควบค ุมการชาระภาษีของเจ้าของทรัพย์สิน
3. เพื่อควบค ุมให้เป็นไปตามขัน้ ตอนของกฎหมาย
วิธีการจัดทาเบียนค ุมผูช้ าระภาษี (ผ.ท. 5)
1. ตรวจสอบทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) ให้ถ ูกต้อง
เรียบร้อย
2. แต่งตัง้ เจ้าหน้าที่รบั ผิดชอบจัดทาทะเบี ยน
ทรัพย์สินค ุมผูช้ าระภาษี และการประกอบกิจการที่เข้า
ข่ายกฎหมายการสาธารณส ุข
3. พิจารณาทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) เจ้าของราย
ใดมีทรัพย์สินเข้าข่ายเสียภาษีหรือค่าธรรมเนียม
ใบอน ุญาตหรือไม่
วิธีการจัดทาเบียนค ุมผูช้ าระภาษี (ผ.ท. 5) ต่อ
- เจ้าของทรัพย์สินรายใดไม่เข้าข่ายเสียเสีย
ภาษีและค่าธรรมเนียมใบอน ุญาต ให้ติดสลิป
(Slip) สีแดง ไว้ตรงมุมด้านบนของทะเบียน
ทรัพย์สิน
- เจ้าของทรัพย์สินรายใดเข้าข่ายเสียภาษี
และหรือค่าธรรมเนียมใบอน ุญาต ให้จดั ทา
ทะเบียนค ุมผูช้ าระภาษี (ผ.ท.5
วิธีการจัดทาเบียนค ุมผูช้ าระภาษี (ผ.ท. 5) ต่อ
4. บันทึกชื่อ ที่อยู่ เจ้าของทรัพย์สินผูอ้ ยูใ่ นข่ายเสีย
ภาษี รหัสชื่อ ลงในทะเบียนค ุมผูช้ าระภาษี (ผ.ท.5)
5. ควรเก็บข้อมูลการชาระภาษีและค่าธรรมเนียม
ใบอน ุญาตปี ล่าส ุดลงในทะเบียนค ุมผูช้ าระภาษี
(ผ.ท.5) เพื่อเป็นหลักฐาน ปีต่อไป
6. การจัดเก็บทะเบียนค ุมผูช้ าระภาษี (ผ.ท.5) ให้
จัดเก็บเช่นเดียวกับทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4)
การจัดทาบัญชีค ุมทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.6)
เพื่อใช้ในการควบค ุมจานวนเอกสารทะเบียนต่าง ๆ
และในขัน้ การปรับข้อมูล โดยแยกตามรายอักษรชื่อ
เจ้าของทรัพย์สิน
วิธีการจัดทา (ผ.ท. 6)
1. ใช้สมุดเบอร์ 2 และจัดทาตารางตามตัวอย่าง
2. เก็บข้อมูลแยกตามตัวอักษร และตัวเลข เรียงลาดับ
จากรหัสชื่อ
3. บันทึกรายการ ชื่อ สภ ุล รหัสชื่อ จานวน ผ.ท. 4
ผ.ท. 5 รหัสแปลงที่ดิน
การจัดทาบัญชีค ุมทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.6)
การจัดทา ผ.ท. 4 ผ.ท. 5 นี้ หากมีเครือ่ ง
คอมพิวเตอร์ ควรใช้โปรแกรม EXCEL ในการ
จัดทาบัญชีค ุมทะเบียนทรัพย์สินและทะเบี ยนค ุมผู้
ชาระภาษี (ผ.ท.6) แล้วจัดเก็บในแผ่นดิสก์และ
เอกสาร เพื่อสะดวกในการปรับข้อมูลในบัญชีค ุม
การจัดทาบัญชีค ุมแปลงที่ดินและประมาณการกาษี
(ผ.ท. 17)
เพื่อประโยชน์
1. ควบค ุมเอกสารข้อมูลภาคสนาม และจานวนแปลงที่ดิน
ในเขตย่อย (BLOX) หนึ่ง ๆ
2. เป็นตัวเชื่อมโยงเอกสารทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท. 4) กับ
แผนที่ภาษี (ผ.ท.7)
3. ประมาณการภาษีและค่าธรรมเนียมเป็นรายแปลงทิ่ดิน
4. ประมาณการรายรับภาษีและค่าธรรมเนียม รวมทัง้
ประมาณการรายรับแต่ละประเภทภาษีดว้ ย
วิธีการจัดทา (ผ.ท. 17)
1. ตรวจสอบข้อมูลภาคสนามจนถ ูกต้อง
2. ให้พนักงานสนามจัดทาบัญชีค ุมแปลงที่ดินรายเขต
ย่อย (Block) แล้วบันทึกรหัสแปลงที่ดิน ชื่อ- สก ุล
เจ้าของแปลงที่ดิน รหัสชื่อ ที่อยู่ เลขที่โรงเรือน
3. ให้เจ้าหน้าที่ประช ุมชี้แจงองค์ประกอบของกฏหมาย
ภาษีและค่าธรรมเนียม วิธีการประมาณการชาระภาษี
เพื่อให้พนักงานช่วยกันบันทึกลงในรายการภาษีบาร ุง
ท้องที่ ภาษีโรเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย และ
ค่าธรรมเนียม โดยอยูใ่ ต้การควบค ุมของเจ้าหน้าที่
วิธีการจัดทา (ผ.ท. 17) ต่อ
การจัดทาบัญชีค ุมแปลงที่ดิน (ผ.ท.17) หากใช้
ระบบคอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรม EXCEL ในการ
จัดเก็บข้อมูลในแผ่นดิสก์และเอกสาร เพื่อสะดวกใน
การปรับข้อมูลบัญชีค ุมแปลงที่ดินและประมาณการ
ภาษี (ผ.ท.17)
สร ุปขัน้ ตอนการจัดทาทะเบียนทรัพย์สิน
ผ.ท. 1
ผ.ท. 2
ผ.ท.
4
ไม่เข้าข่ายเสีย
ภาษี
สลิปแดง
เข้าข่ายเสียภาษี
ผ.ท. 5
ผ.ท. 3
เรียงตามอักษร
หากมีชื่อที่ซ้ากัน
ให้คดั ลอกลง
เป็นแผ่นเดียว
ผ.ท. 6
แยกประเภทเจ้าของทรัพย์สิน
ทะเบียนทรัพย์สิน
ได้รบั ยกเว้น
ต้องชาระภาษี
ทะเบียนค ุมผูช้ าระภาษี (ผ.ท. 5)
ทะเบียนค ุมผูช้ าระภาษี (ผ.ท.5)
บัญชีรายได้เกณฑ์คา้ งรับ (กค.1)
ชำระภำษีแล้ ว
ยังไม่ชาระ
ติดตามเร่งรัด
ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท. 4)
กับบัญชีรายได้ตามเกณฑ์คา้ งรับ (กค. 1)
ทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท. 4)
ทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท. 4)
ไม่อยูใ่ นข่ายเสียภาษี
ทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท. 4)
ที่อยูใ่ นข่ายเสียภาษี
ทะเบียนค ุมผูช้ าระภาษี (ผ.ท. 5)
ตรวจสอบกับแบบแสดงรายการ
เพื่อกาหนดราคาประเมินภาษี
ทะเบียนค ุมผูช้ าระภาษี ทะเบียนค ุมผูช้ าระภาษี
(ผ.ท. 5) ที่ไม่เคย
(ผ.ท. 5) ที่ชาระภาษี
ชาระภาษีเลย
ให้แก่ทอ้ งถิ่น
เร่ งรัดให้ ยนื่ แบบแสดงรำยกำร
ระบบบัญชี
ตามเกณฑ์คา้ งรับ
(กค.1)
ตั้งงบประมำณ
ตำมเกณฑ์ ค้ำงรับ
ควบคุมกำรจัดเก็บ
ตำมเกณฑ์ ค้ำงรับ
ลูกหนีค้ ้ ำงชำระ
ตำมเกณฑ์ ค้ำงรับ
รำยได้ เกณฑ์ ค้ำงรับ
(กค. 2) เป็ นเงินสะสม
การใช้แผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สินจัดเก็บภาษี
แผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สินสามารถนาไปใช้
ในระบบการคลังได้ 3 ประการ
1. ใช้ในการประมาณการรายรับ
2 ใช้ในการประเมินและจัดเก็บภาษี
3 ใช้ในการตรวจสอบเร่งรัดและติดตามภาษี
การใช้แผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน
ในการประมาณการรายรับ
การประมาณการรายรับ เป็นกระบวนการ
วางแผนการจัดเก็บภาษีลว่ งหน้า ของเทศบาล
ที่คาดว่าในแต่ละปีจะสามารถจัดเก็บภาษี และ
ค่าธรรมเนียนมได้มากน้อยเพียงใด
ข้อมูลที่นามาใช้ได้แก่
- ทะเบียนทรัพย์สิน ( ผ.ท.4 )
- ทะเบียนค ุมผูช้ าระภาษี ( ผ.ท. 5 )
- บัญชีค ุมแปลงที่ดินและข้อมูลการเก็บภาษี ( ผ.ท. 17 )
แผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน
ประกอบด้วยเอกสาร 2 ชนิด
1.แผนที่ภาษี
2..ทะเบียนทรัพย์สิน
1. แผนที่ภาษี
หมายถึง แผนที่ที่แสดงตาแหน่ง ร ูปร่าง ลักษณะ
และขนาดของแปลงที่ดิน อาคาร และสิ่งปล ูกสร้าง
รวมทัง้ รหัสประจาแปลงที่ดินและเลขที่บา้ นของอาคาร
2.ทะเบียนทรัพย์สิน
หมายถึงทะเบียนแสดงรายการทรัพย์สินของ
เจ้าของทรัพย์สินรายหนึ่งๆ ซึ่งประกอบด้วยข้อมูล
เกี่ยวกับที่ดิน โรงเรือนและสิ่งปล ูกสร้าง ป้าย
การค้าต่างๆ และลักษณะประกอบการค้าที่อยู่
ภายในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สาระสาคัญของข้อมูลในระบบ
แผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สินมี ดังนี้
1. ข้อมูลเกี่ยวกับที่ดินและข้อมูลการใช้ประโยชน์ของที่ดิน
ประกอบด้วย
1.1 ที่ตงั้ ของที่ดิน ตัง้ อยูใ่ นเขต (ZONE) เขตย่อย (BLOCK)
และ แปลง (LOT) ใด
1.2 ชื่อ และที่อยูเ่ จ้าของที่ดิน
1.3 ประเภทและเลขที่ของเอกสารสิทธิ์ เช่น โฉนด เป็นต้น
1.4 ขนาดหรือเนื้อที่ของที่ดิน การใช้ประโยชน์ของที่ดิน เช่น
ใช้ปล ูกสร้างอาคาร ที่ดินให้เช่า ปล ูกไม้ยนื ต้น ทานา หรือ
เป็นที่ดินว่างเปล่า เป็นต้น
2. ข้อมูลเกี่ยวกับโรงเรือนและสิ่งปล ูกสร้าง
ประกอบด้วย
2.1 ที่ตงั้ ของโรงเรือน
2.2 ชื่อและที่อยูเ่ จ้าของโรงเรือน
2.3 ลักษณะและขนาดของโรงเรือน เช่น เป็น
ตึกแถว บ้านไม้ หรือโรงงานอ ุตสาหกรรม
2.4 ลักษณะการใช้ประโยชน์ของอาคาร เช่น การ
ประกอบการค้า พักอาศัย หรือเก็บสินค้า
3. ข้อมูลเกี่ยวกับป้าย ประกอบด้วย
3.1
3.2
3.3
3.4
ที่ตงั้ ป้าย
ชื่อและที่อยูเ่ จ้าของป้ายและผูค้ รอบครองป้าย
ประเภทและขนาดของป้าย
ข้อความและรายละเอียดในป้าย
4. ข้อมูลเกี่ยวกับการประกอบกิจการค้า
ประกอบด้วย
4.1 ชื่อและที่อยูข่ องผูป้ ระกอบกิจการค้า
4.2 ลักษณะและประเภทของการประกอบกิจการค้า
ประโยชน์ของแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนาระบบแผนที่ภาษี
และทะเบียนทรัพย์มาใช้เป็นเครือ่ งมือในการเพิ่ม
ประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ ทาให้ทราบจานวน
แปลงที่ดิน โรงเรือนและสิ่งปล ูกสร้าง ป้าย และ
การประกอบกิจการค้า
รวมทัง้ จานวนเจ้าของทรัพย์สินทัง้ หมดที่มีอยูใ่ นเขต
ท้องถิ่น
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนาไปใช้ประโยชน์
ในด้านต่างๆได้ ดังนี้
1 ใช้เป็นเครือ่ งมือในการวางแผนการจัดเก็บภาษี
การประมาณการรายรับที่คาดว่าในแต่ละปี
จะสามารถจัดเก็บภาษี และค่าธรรมเนียมได้มากน้อยเพียงใด
2 ใช้เป็นการประเมินและจัดเก็บภาษี ได้แก่
= ภาษีบาร ุงท้องที่
= ภาษีโรงเรือน และที่ดิน
= ภาษีป้าย
= และค่าธรรมเนียม ใบอน ุญาตประกอบกิจการค้า
3 ใช้ในการตรวจสอบ เร่งรัดและติดตามภาษี
4 ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนพัฒนาด้านต่างๆ
ซึ่งจะทาให้สามารถดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิ ภาพ
ทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว
5 การนาไปใช้ประโยชน์กบั งานด้านอื่นๆ
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น งานทางด้านช่าง
ทะเบียนราษฎร์ สาธารณส ุข การประปา การป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภัย เป็นต้น
แผนที่ภาษีฯ กับการจัดเก็บรายได้
1. จัดเก็บได้ถ ูกต้อง
2. จัดเก็บได้ครบถ้วน
3. อานวยความสะดวก
4. ช่วยให้เกิดความเป็นธรรม
ผลที่เกิดขึ้นภายหลังการนาแผนที่ภาษี ฯ ไปใช้
ในการจัดเก็บรายได้
- ทาให้มีรายได้เพิ่มขึ้น
- ประมาณการรายรับได้ถ ูกต้อง
- รจ้ ู านวนผูอ้ ยูใ่ นข่ายที่จะต้องชาระภาษี
- บริหารการจัดเก็บได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สร ุปหลักการที่สาคัญในการปฏิบตั ิงาน
-ปรับข้อมูลอย่างต่อเนื่อง ครบถ้วน
-การประสานงาน
-การนาข้อมูลไปใช้
การใช้แผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน
ประเมินและจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน
เจ้าของทรัพย์สิน
ยืน่ แบบแสดงรายการเสียภาษี (ภ.ร.ด.2)
เจ้าหน้าที่จดั เก็บรายได้
ตรวจสอบแบบแสดงรายการเสียภาษี ( ภ.ร.ด. 2 )
กับทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4)
ทะเบียน ค ุมผูช้ าระภาษี (ผ.ท.5)
และ
ทะเบียนค ุมผูช้ าระภาษีที่ยงั ไม่ได้ติดสลิป ( Slip )
สีเขียว
ตรวจสอบว่า
ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีแล้วหรือไม่
ยื่นแบบแล้วมาชาระภาษีหรือยัง
ทาหนังสือแจ้งเตือนเร่งรัด
หนังสือที่ มท.0407/ว 296
ลว 21 กพ. 2534
ทาการบันทึกเลขรหัสประจาแปลงที่ดิน
ลงในแบบ
ภ.ร.ด. 2 และ ภ.บ.ท. 5 และ ภ.ป. 1
ทาตรายางให้เจ้าหน้าที่เมื่อตรวจสอบ
ตรวจสอบกับ ผ.ท. 4 และ ผ.ท. 5 แล้ว
ลาดับที่ ………. รหัส……../……….
ลาดับที่ ………. รหัส……../……….
ลาดับที่ ………. รหัส……../………
(ลงชื่อ)……………….....................
จนท.จัดเก็บรายได้
ตัวอย่างเมื่อเจ้าหน้าที่บนั ทึกตรวจสอบ
ตรวจสอบกับ ผ.ท. 4 และ ผ.ท. 5 แล้ว
ลาดับที่ ..1… รหัส.. 01A/032…
ลาดับที่.. 2... รหัส.. 01A/033...
ลาดับที่.. 3... รหัส..01A/034...
(ลงชื่อ)………………....................
จนท.จัดเก็บรายได้
ตัวอย่างตรายาง
บันทึกเลขรหัสประจาแปลงที่ดิน
ลงในแบบ ภ.ป. 1
ตรวจสอบกับ ผ.ท. 4 และ ผ.ท. 5 แล้ว
รหัสแปลงที่ดินที่ตงั้ ป้าย ………/………..
ลงชื่อ……………..........................
จนท.จัดเก็บรายได้
ตรวจสอบกับ ผ.ท. 4 และ ผ.ท. 5 แล้ว
รหัสแปลงที่ดินที่ตงั้ ป้าย...01A/001...
ลงชื่อ…………….........................
จนท.จัดเก็บรายได้