W7n8-IOM Quality Control and Management

Download Report

Transcript W7n8-IOM Quality Control and Management

บทที่ 9 การบริ หารคุณภาพ
Quality Control and Management
จัดเตรี ยมโดย รองศาสตราจารย์ ดร. วิมลิน สุ ขถมยา
1
การบริ หารคุณภาพ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
วิวฒั นาการของการบริ หารคุณภาพ
กระบวนการบริ หารคุณภาพ
การบริ หารคุณภาพทัว่ ทั้งองค์กร (TQM )
กิจกรรมกลุ่มควบคุมคุณภาพ (QCC)
กิจกรรม 5 ส.
ระบบบริ หารคุณภาพ ISO 9000
2
นิยามของคุณภาพ
 ระดับของความเป็ นเลิศ (The degree of excellence) – The
concise oxford dictionary
 ความเหมาะสมต่อความประสงค์ (Fitness for purpose) – Dr.
J M Juran
 ลักษณะโดยรวมที่ส่งเสริ มความสามารถของสิ นค้าหรื อ
บริ การให้ตอบสนองความต้องการ (The totality of features
and characteristics that bear on the ability of a product or
service to satisfy a given need) – British Standard 4778
3
นิยามของคุณภาพ (ต่อ)
 การประกอบกันของลักษณะหลายๆอย่างจากการตลาด วิศวกรรม การ
ผลิต และการบารุ งรักษา เพื่อให้สินค้าและบริ การเป็ นไปตามความ
ต้องการของลูกค้า (The total composite product and service
characteristics of marketing, engineering, manufacturing, ad
maintenance through which the product and service will meet the
expectations of the customer) – Dr. A V Feigenbaum
 ความสอดคล้องกับความต้องการ (Conformance to requirements) – P.
Crosby
 ความสู ญเสี ยทั้งหมดที่มีต่อสังคมอันเนื่องจากผลิตภัณฑ์น้ นั นับตั้งแต่การ
จัดส่ ง (Loss to a society caused by a product, because it is not perfect
after it is shipped) – Genichi Taguchi
4
วิวฒั นาการของการบริ หารคุณภาพ (1)

ช่ วงก่ อนเกิดการปฏิวตั อิ ุตสาหกรรม
 การผลิตสิ นค้ าในครั วเรื อนของตน
 ความสั มพันธ์ อน
ั ใกล้ ชิดระหว่างผู้ผลิตและลูกค้ า
ทาให้ คุณภาพเป็ นเรื่องที่ไม่ ซับซ้ อน
 การควบคุมคุณภาพในยุคนีจ้ ึงเป็ นการควบคุมด้ วย
ตนเอง
5
วิวฒั นาการของการบริ หารคุณภาพ (2)





ช่ วงการผลิตปริมาณมาก
ช่วงต้นๆ1900s เฟรเดอริ ก เทย์เล่อร์ ได้ทาให้มีการใช้ผตู ้ รวจสอบ
คุณภาพอย่างเป็ นทางการ
ในปี ค.ศ. 1931 ชิวฮาร์ทได้ตีพิมพ์หนังสื อ “Economic Control of
Quality of Manufactured Product”
ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1941 สหรัฐอเมริ กาประกาศเข้าร่ วม
สงครามโลกต่อมาได้รับการพัฒนาเป็ นมาตรฐาน MIL-STD-105
โดยสรุ ปแล้วคาว่าคุณภาพในยุคนี้หมายถึง
การตรงต่อข้อกาหนด (Specification)
6
วิวฒั นาการของการบริ หารคุณภาพ (3)
ช่ วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง





สหรัฐอเมริ กาได้ให้ความช่วยเหลือญี่ปุ่นในการฟื้ นฟู
ประเทศ
ดร. วิลเลียม เอ็ดวาร์ด เดมมิ่ง มีบทบาทสาคัญในการ
สร้างอุตสาหกรรมในประเทศญี่ปุ่น
ในช่วงต้น1950s ดร.โจเซฟ เอ็ม จูแรน มีส่วนร่ วมในด้าน
การพัฒนาคุณภาพในประเทศญี่ปุ่น
ในปี ค.ศ. 1951 จูแรนได้ตีพิมพ์หนังสื อชื่อ “The Quality
control Handbook”
7
วิวฒั นาการของการบริ หารคุณภาพ (3)
ช่ วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง





ด็อกเตอร์ อาร์มนั วี ไฟเกนบัมตีพิมพ์หนังสื อชื่ อ “Total
Quality Control” ในปี ค.ศ. 1951
ฟิ ลลิป ครอสบี้ ได้เสนอความคิดว่า “Quality is free” และ
“Right first time”
ศาสตราจารย์ คาโอรุ อิชิกาว่า เป็ นผูค้ ิดค้นแผนภาพก้างปลา
และมีส่วนเป็ นอย่างมากในกิจกรรมกลุ่มควบคุมคุณภาพ
ด็อกเตอร์ เกนิจิ ทากุจิ (Genichi Taguchi) มีชื่อเสี ยงเป็ น
อย่างมากจากการพัฒนาวิธีการออกแบบการทดลอง (Design
of experiment)
8
วิวฒั นาการของการบริ หารคุณภาพ (4)
ยุคปัจจุบัน






อนุกรมมาตรฐาน ISO 9000 ในปี ค.ศ.1987
ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
การพัฒนาโปรแกรม Six sigma ของกลุ่มบริ ษทั
อิเลคทรอนิคส์
การพัฒนาโปรแกรม QS 9000 กลุ่มบริ ษทั ยานยนต์
คุณภาพในยุคนี้คือกลยุทธ์ในการบริ หารธุรกิจ เป็ นการสร้าง
ความพอใจอย่างเบ็ดเสร็ จ (Total customer satisfaction) โดย
อาศัยการบริ หารคุณภาพทัว่ ทั้งองค์กร (Total Quality
Management – TQM)
9
กระบวนการบริ หารคุณภาพ
คุณภาพของผลิตภัณฑ์









สมรรถนะ (Performance)
หน้าที่เสริ ม (Feature)
ความเชื่อถือได้ (Reliability)
ความตรงต่อข้อกาหนด (Conformance)
ความทนทาน (Durability)
ความสามารถในการบริ การ (Serviceability)
สุ นทรี ยภาพ (Aesthetics)
ชื่อเสี ยง (Reputation)
10
องค์ ประกอบของการบริหารคุณภาพ
11
การบริ หารคุณภาพทัว่ ทั้งองค์กร
(Total Quality Management: TQM)
“แนวทางในการบริ หารองค์กรที่มุ่งเน้นคุณภาพ
โดยสมาชิกทุกคนขององค์กรมีส่วนร่ วมและมุ่งผล
กาไรในระยะยาว ด้วยการสร้างความพึงพอใจให้แก่
ลูกค้า รวมทั้งการสร้างผลประโยชน์ตอบแทนแก่หมู่
สมาชิกขององค์กรและสังคม” (ISO/CD 8402-1)
12
การควบคุมคุณภาพทัว่ ทั้งองค์กร
(Total Quality Control)
“ระบบที่รวบรวมเอาความพยายามในการพัฒนา
คุณภาพ รักษาคุณภาพ และปรับปรุ งคุณภาพของ
หลายๆกลุ่มในองค์กรเข้าด้วยกัน เพื่อจะทาให้
การตลาด วิศวกรรม การผลิต และการบริ หารได้
ดาเนินไปในระดับที่ประหยัดที่สุด และสร้างความ
พอใจให้กบั ลูกค้าได้อย่างเต็มที่” (ไฟเกนบัม)
13
แนวความคิดแบบ TQM
1. เกี่ยวกับวัตถุประสงค์
 สร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้า (Customer
satisfaction)
 มีจริ ยธรรมและรับผิดชอบต่อสังคม (Business
ethics and social responsibility)
 มีการพัฒนาบุคลากรตลอดเวลา (Human resource
development)
14
แนวความคิดแบบ TQM
2. เกี่ยวกับวิธีคิด
 ทุกคนในองค์กรมีส่วนร่ วมในการสร้างคุณภาพ
(Total participation)
 ให้ความสาคัญแก่กระบวนการทางาน (Process
orientation)
 กระบวนการถัดไปคือลูกค้าของเรา (Next process
is our customer)
15
แนวความคิดแบบ TQM
3. เกี่ยวกับวิธีการทางาน






บริ หารด้วยข้อมูลจริ ง (Management by fact)
แก้ไขปัญหาที่สาเหตุ เน้นการป้ องกันการเกิดปัญหาซ้ า
(Preventive action)
ใช้กรรมวิธีทางสถิติ (Statistical methods)
เรื่ องสาคัญมีนอ้ ย เรื่ องจิ๊บจ๊อยมีเยอะ (The Pareto principle)
ดาเนินการบริ หารแบบ PDCA (Plan Do Check Act)
สร้างระบบเอกสารมาตรฐานที่มีการปรับปรุ งอย่างสม่าเสมอ
(Improving standards)
16
วงจรของเดมมิ่ง
17
กิจกรรม 5 ส.
สะสาง – เซริ (Seiri)
สะดวก – เซตง (Seiton)
สะอาด – เซโซ (Seiso)
สุ ขลักษณะ – เซเคทซึ (Seiketsu)
สร้ างนิสัย – ชิทซึเคะ (Shitsuke)
18
5ส
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance)
ก็ดีการจัดการตามมาตรฐาน ISO 9000 ก็
ดี หรื อการเพิ่มผลผลิตอย่างอื่น ๆ เช่น
QCC (การควบคุมกลุม่ ย่อย) Suggestion
Scheme (กิจกรรมข้ อเสนอแนะ) หรื อ JIT
(การผลิตแบบทันเวลา) ก็ตาม ล้ วนต้ องมี
การปฏิบตั ิกิจกรรม 5 ส เป็ นพื ้นฐานทังสิ
้ ้น
ถึงกับมีผ้ กู ล่าวไว้ ว่า “การเพิ่มผลผลิตใดใด
เป็ นไปไม่ได้ เลย หากไม่ปฏิบตั ิกิจกรรม 5 ส
19
ความคิดพืน้ ฐานของวิธีการ 5 ส.
20
ประโยชน์ จากการทากิจกรรม 5 ส.
1.
2.
3.
4.
5.
ลดความสูญเสี ยเวลาในการค้นหาเครื่ องมือ อุปกรณ์
รวมทั้งเอกสารลง
ยกระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และลดของเสี ย
ลดต้นทุนในการผลิต ลดเวลาในการส่ งมอบ
สภาพการทางานมีความปลอดภัยมากขึ้น
เพิ่มความสัมพันธ์ที่ดีของคนงาน และเพิ่มขวัญและ
กาลังใจในการทางาน
21
5S  5ส
SEIRI
สะสาง
SEITON
สะดวก
วัตถุและสถานที่
SEISO
สะอาด
สุขลักษณ
ะ
สร้ างนิสัย
คน
SEIKETSU
SHITSUKE
ปั จจัยพืน้ ฐานในการบริหารงานอย่ างมีประสิทธิภาพ
22
กิจกรรมกลุ่มควบคุมคุณภาพ
(Quality control circle: QCC)
เป็ นกลุ่มย่อยที่เกิดจากการรวมตัวกันโดยสมัครใจ
ของบุคคลที่ทางานภายในสถานที่ทางานเดียวกันตั้งแต่
3-15 คน เพื่อดาเนินกิจกรรมในการแก้ปัญหาในการ
ทางาน ปรับปรุ งงาน และพัฒนางานหรื อผลผลิตให้มี
คุณภาพ
QCC
23
ลักษณะของกลุ่มควบคุมคุณภาพ
 ภารกิจหลัก:
ปรับปรุ งคุณภาพชีวิตในการทางาน
 ภารกิจรอง:
ปรับปรุ งคุณภาพผลิตภัณฑ์
 ขอบเขตของโครงการ:
ภายในแผนกงานหนึ่งแผนก
 สมาชิก:
มาจากบุคคลในแผนกงานเดียวกัน
 พืน้ ฐานการได้ มาของสมาชิก:
สมัครใจ
 ฐานะของสมาชิกตามลาดับชั้นขององค์ กร:
พนักงานหน้างาน
 ความต่ อเนื่อง:
ต่อเนื่อง โครงการต่อโครงการ
24
เครื่ องมือ 7 อย่างในการควบคุมคุณภาพ
(7 QC Tools)
ใบตรวจสอบ (Check Sheet)
กราฟ (Graph)
ฮิสโตแกรม (Histogram)
แผนผังพาเรโต (Pareto diagram)
แผนผังก้างปลา (Fish Bone Diagram)
แผนผังการกระจาย (Scatter Diagram)
แผนภูมิควบคุม (Control Chart)
25
1. ใบตรวจสอบ (Check Sheet)
 คือ “แบบฟอร์มสาหรับการบันทึกข้อมูล ซึ่ งได้รับการ
ออกแบบเป็ นพิเศษ เพื่อการตีความหมายผลการบันทึก
ทันทีที่กรอบแบบฟอร์มดังกล่าวเสร็ จสิ้ น”
 แบ่งได้สามประเภท
 ใบตรวจสอบแสดงการกระจายของข้อมูลการผลิต
 ใบตรวจสอบแสดงรายการข้อบกพร่ อง
 ใบตรวจสอบแสดงตาแหน่งข้อบกพร่ อง
26
ใบตรวจสอบแสดงการกระจายของข้ อมูลการผลิต
(Check sheet for production process distribution)
27
ใบตรวจสอบแสดงรายการข้ อบกพร่ อง
(Defective item check sheet)
28
ใบตรวจสอบแสดงตาแหน่ งข้ อบกพร่ อง
(Defect location check sheet)
29
ใบตรวจสอบแสดงสาเหตุของข้ อบกพร่ อง
(Defect cause check sheet)
30
2. กราฟ (Graph)
 คือแผนภาพที่แสดงถึงตัวเลขผลการวิเคราะห์ทางสถิติ
ซึ่ งสามารถทาให้ง่ายต่อการทาความเข้าใจ โดยการ
พิจารณาด้วยตาเปล่าได้
 กราฟเส้น
 กราฟแท่ง
 กราฟวงกลม
31
กราฟเส้น
 เป็ นกราฟที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสองตัว
โดยมากมักเป็ นการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตาม
กาลเวลา โดยให้แกนนอนแทนเวลา
32
กราฟแท่ง
 เป็ นกราฟที่ประกอบด้วยรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า วางอยูบ่ น
แนวนอนหรื อแนวตั้งก็ได้ ใช้ในการเปรี ยบเทียบค่าของ
ข้อมูลตั้งแต่สองตัวแปรขึ้นไป
33
กราฟวงกลม
 ใช้ในการเปรี ยบเทียบข้อมูลชนิดเดียวกันที่สามารถแบ่ง
ออกเป็ นหลายกลุ่ม เพื่อเปรี ยบเทียบอัตราร้อยละของข้อมูล
ในการนาเสนอ
34
3. ฮิสโตแกรม (Histogram)
 เป็ นเครื่ องมือในการแสดงความถี่ของสิ่ งที่เกิดขึ้น โดยแสดง
เป็ นกราฟแท่งสี่ เหลี่ยมที่มีความกว้างเท่ากันและมีดา้ นข้าง
ติดกัน
35
ขั้นตอนในการสร้ างฮิสโตแกรม
1.
2.
เก็บรวบรวมข้อมูลที่ตอ้ งการวิเคราะห์ในปริ มาณที่
เหมาะสม โดยทัว่ ๆไปไม่ควรต่ากว่า 30 ตัวอย่าง
กาหนดจานวนอันตรภาคชั้นที่ตอ้ งการ โดยปกติมกั จะ
อยูใ่ นระหว่าง 8-12 ชั้น
36
ขั้นตอนในการสร้ างฮิสโตแกรม (ต่ อ)
3.
สร้างตารางแจกแจงความถี่ โดยกาหนดค่าของแต่
ละช่วง และนับจานวนข้อมูลในแต่ละชั้น
37
ขั้นตอนในการสร้ างฮิสโตแกรม (ต่ อ)
4.
นาข้อมูลจากตารางไปสร้างเป็ นฮิสโตแกรม
38
4. แผนภาพพาเรโต (Pareto diagram)
 แผนภาพพาเรโตเป็ นแผนภาพที่แสดงว่ามูลเหตุใดเป็ น
มูลเหตุที่สาคัญที่สุดของปัญหา
A: รอยร้าว
B: รอยขีดข่วน
C: คราบสี
D: ความเครี ยด
E: ช่องว่าง
F: ตามด
39
ขั้นตอนในการสร้ างแผนภาพพาเรโต
1.
2.
3.
การเลือกหัวข้อเรื่ องที่ตอ้ งการจะศึกษา
ออกแบบฟอร์มในการเก็บข้อมูล
เก็บรวบรวมข้อมูล และคานวณผลรวม
40
ขั้นตอนในการสร้ างแผนภาพพาเรโต (ต่ อ)
4.
5.
สร้างตารางแสดงความถี่ของข้อมูล
ใส่ ขอ้ มูลลงในตารางโดยเรี ยงลาดับข้อมูลจากมากไปน้อย หา
ผลรวมของข้อมูลแล้วทาการเปลี่ยนค่าเป็ นเปอร์เซ็นต์ และ
เปอร์เซ็นต์สะสม โดยหัวข้ออื่นๆ จะถูกจัดไว้ทา้ ยสุ ด
41
ขั้นตอนในการสร้ างแผนภาพพาเรโต (ต่ อ)
6.
เขียนแกนตั้งและแกนนอน


7.
8.
แกนตั้ง

ด้านซ้ายแสดงสเกลจากศูนย์ถึงผลรวมทั้งหมด

ด้านขวาแสดงสเกลจาก 0% ถึง 100%
แกนนอน แสดงประเภทของข้อบกพร่ องหรื อสาเหตุของ
ปั ญหา
เขียนแผนภูมิแท่ง
เขียนเส้นสะสม (Cumulative curve หรื อ Pareto curve)โดย
การกาหนดจุดผลรวมสะสมของข้อมูลทางด้านขอบบน
ด้านขวาของกราฟแท่งสาหรับสาเหตุน้ นั ๆ แล้วลากเส้นต่อ
จุดเหล่านั้น
42
ขั้นตอนในการสร้ างแผนภาพพาเรโต (ต่ อ)
8.
เขียนสิ่ งอื่นๆที่จาเป็ น เช่น หัวข้อแผนภาพพาเรโต หน่วยวัด เป็ น
ต้น
A: รอยร้าว
B: รอยขีดข่วน
C: คราบสี
D: ความเครี ยด
E: ช่องว่าง
F: ตามด
43
5. แผนภาพก้ างปลา (Fish Bone Diagram)
 หรื อ แผนภาพวิเคราะห์สาเหตุ (Cause and Effect diagram) หรื อ แผนภาพ
ของอิชิกาว่า (Ishikawa Diagram)
 เป็ นแผนภาพที่ใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุ (Cause) และผล (Effect)
 สาเหตุหลักและสาเหตุรองควรมาจากการระดมสมอง (Brainstorming)
44
ตัวอย่างแผนภาพก้างปลา
45
สาเหตุทคี่ วรพิจารณาในการเขียนแผนภาพก้ างปลา
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
วัตถุดิบ (Raw Material)
เครื่ องจักรหรื อเครื่ องมือ (Machinery or Equipment)
บุคลากร (Manpower)
วิธีการทางานหรื อกระบวนการ (Work Method or
Process)
สภาพแวดล้อม (Environment)
ระบบการวัด (Measurement)
ระบบการจัดการ (Management)
46
6. แผนภาพการกระจาย (Scatter Diagram)
 เป็ นแผนภาพที่ใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัว
แปรว่ามีลกั ษณะความสัมพันธ์เป็ นอย่างไร
47
7. แผนภูมคิ วบคุม (Control Chart)
 เป็ นแผนภูมิที่ใช้ในการควบคุมกระบวนการผลิต โดยเป็ นการวาด
กราฟของสิ่ งที่ตอ้ งการควบคุมเทียบกับเวลา
 เกี่ยวข้องกับ
 ความผันแปรจากสาเหตุธรรมชาติ (Common cause)
 ความผันแปรจากสาเหตุพิเศษ (Special cause)
48
การแก้ ไขปัญหาด้ วยเครื่องมือในการควบคุมคุณภาพ
49
การแก้ ไขปัญหาด้ วยเครื่องมือในการควบคุมคุณภาพ
50
ระบบบริ หารคุณภาพ ISO 9000
 ISO 9000 เป็ นระบบคุณภาพที่ใช้ในการประกัน
คุณภาพและการบริ หารกระบวนการต่างๆในองค์กรผู ้
ส่ งมอบ (Supplier) หรื อผูผ้ ลิต (Manufacturer) หรื อผู้
ให้บริ การ
ประกอบด้วยข้อกาหนดซึ่ งกาหนดโดยองค์กรระหว่าง
ประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (International
Organization for Standardization: ISO)
51
ระบบบริ หารคุณภาพ ISO 9000
ISO 9000 ไม่ได้เป็ นเครื่ องวัดว่าสิ นค้านั้นๆมีคุณภาพ
แต่เป็ นตัววัดคุณภาพของระบบในบริ ษทั
ISO9000 ฉบับแรกเริ่ มใช้ในปี ค.ศ. 1987 และต่อมาได้
มีการปรับปรุ งและประกาศใช้ในปี ค.ศ. 1994
ISO9000 ฉบับล่าสุ ดประกาศใช้ในปี ค.ศ. 2000
52
โครงสร้ างของมาตรฐาน ISO 9000: 1994
 ISO 9000 เป็ นมาตรฐานการบริ หารคุณภาพ การประกันคุณภาพ และ
แนวทางการเลือกใช้มาตรฐาน
 ISO 9001 เป็ นระบบคุณภาพสาหรับองค์กรที่ทาการผลิตอย่างครบ
วงจร ตั้งแต่การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ การผลิต การส่ งมอบ
การติดตั้ง และการบริ การหลังการขาย ซึ่งมีขอ้ กาหนดทั้งหมด 20 ข้อ
 ISO 9002 เป็ นระบบคุณภาพสาหรับองค์กรที่คล้ายกับ ISO 9001 แต่
แตกต่างกันตรงที่ไม่มีการออกแบบ ซึ่งมีขอ้ กาหนดที่เกี่ยวข้อง 19 ข้อ
 ISO 9003 เป็ นระบบคุณภาพสาหรับองค์กรที่ไม่มีการออกแบบ การ
จัดซื้อ และการวางแผน มีขอ้ กาหนดทั้งหมด 16 ข้อ
 ISO 9004 เป็ นข้อแนะนาเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้การบริ หารคุณภาพ
และระบบคุณภาพ
53
โครงสร้ างของมาตรฐาน ISO 9000: 2000
 ISO 9000 (Fundamental and Vocabulary) เป็ นหลักการของ
ระบบบริ หารงานคุณภาพ แนวคิด และคานิยาม
 ISO 9001 (Requirements) เป็ นข้อกาหนดของระบบบริ หาร
คุณภาพ
ระบบบริ หารคุณภาพ (Quality management system)
 ความรับผิดชอบของฝ่ ายบริ หาร (Management responsibility)
 การบริ หารทรัพยากร (Resource management)
 การดาเนิ นการผลิต/บริ การ (Product realization)
 การตรวจวัด วิเคราะห์ และปรับปรุ ง (Measurement, Analysis
and Improvement)

54
โครงสร้ างของมาตรฐาน ISO 9000: 2000
 ISO 9004 (Guidance for Performance Improvement)
 การให้ความสาคัญแก่ลูกค้า (Customer focus)
 ภาวะผูน
้ า (Leadership)
 การมีส่วนร่ วมของบุคลากร (Involvement of people)
 การบริ หารเชิงกระบวนการ (Process approach)
 การบริ หารอย่างเป็ นระบบ (System approach to management)
 การปรับปรุ งอย่างต่อเนื่ อง (Continual improvement)
 การตัดสิ นใจบนข้อเท็จจริ ง (Factual approach to decision
making)
ั ผูข้ ายเพื่อประโยชน์ร่วมกัน (Mutually
 ความสัมพันธ์กบ
beneficial supplier relationship)
55
การจัดทาเอกสาร




คู่มือคุณภาพ (Quality Manual)
ระเบียบปฏิบตั ิ (Procedure Manual)
วิธีปฏิบตั ิงาน (Work Instruction)
แบบฟอร์ม (Form)
56
Questions?
Thank You
NEXT:
Mid-Term Exam
57