Attach Files.. - ระบบงานภายใน วิทยาลัยเชียงราย

Download Report

Transcript Attach Files.. - ระบบงานภายใน วิทยาลัยเชียงราย

Objective Analysis
การวิเคราะห์ วตั ถุประสงค์
การวิเคราะห์ วตั ถุประสงค์
วัตถุประสงค์ของบทเรี ยน ได้แก่
• การกาหนดขอบเขตเนื้อหาบทเรี ยน
• การออกแบบทดสอบที่ใช้ประเมินผลผูเ้ รี ยน
• การเลือกสื่ อการเรี ยนการสอน
• การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน
• การจัดแบ่งเวลาเรี ยน
ประเภทของวัตถุประสงค์
มี 2 ประเภทคือ
• วัตถุประสงค์ทวั่ ไป (General Objectives)
• วัตถุประสงค์เฉพาะหรื อวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
(Specific Objectives or Behavioral Objectives)
ประเภทของวัตถุประสงค์
• วัตถุประสงค์ ทวั่ ไป (General Objectives)
เป็ นวัตถุประสงค์ที่กาหนดขึ้นในแนวกว้างๆ ว่า เมื่อมีการเรี ยน
การสอนแล้วผูเ้ รี ยนจะเรี ยนรู ้อะไรบ้าง เป็ นเพียงกรอบหรื อแนบ
กว้างๆ ของบทเรี ยน
ประเภทของวัตถุประสงค์
• วัตถุประสงค์ เฉพาะหรื อวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม
(Specific Objectives or Behavioral Objectives)
เป็ นวัตถุประสงค์ที่กาหนดขึ้น เพื่อแสดงให้เห็นอย่างชัดแจ้งว่าหลังจาก
ที่ มี ก ารเรี ยนการสอนแล้ว ผู้เ รี ยนจะสามารถแสดงพฤติ ก รรมที่ ว ัด ไ ด้
สังเกตเห็ นได้ออกมาอย่างไรบ้าง ภายใต้เงื่อนไขอย่างไร และต้องทาได้มาก
น้อยเพียงใด
ส่ วนประกอบของวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม
ประกอบด้วย 3 ส่ วน
• พฤติกรรมขั้นสุ ดท้าย หรื อ พฤติกรรมที่คาดหวัง (Terminal Behavior)
• เงื่อนไขหรื อ สถานการณ์ (Condition or Situation)
• เกณฑ์หรื อมาตรฐาน (Standard or Criteria)
ส่ วนประกอบของวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม
Terminal Behavior
การแสดงออกของผูเรี
้ ยน
เมื่อสิ้ นสุ ดบทเรี ยนแล้วผูเ้ รี ยนแสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง
ออกมา ซึ่งพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจะต้องวัดได้หรื อสังเกตได้ เช่น
• บอกส่ วนประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ได้ถูกต้อง
• จาแนกหน่วยความจาที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ได้
• พิมพ์ดีดภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ไม่นอ้ ยกว่า 70 คาต่อ นาที
Condition or Situation
บ
่ งถึ
เป็ นขอความที
่ ง
้
สิ่ งแวดล้อม สถานการณ์ หรื อเงื่อนไข ที่จะให้ผเู ้ รี ยนแสดง
พฤติกรรมที่คาดหวังออกมา กาหนดได้ 3 ลักษณะ
• ลักษณะที่เป็ นส่ วนหนึ่งของเนื้อหาบทเรี ยน
• ลักษณะของสิ่ งเร้าเพื่อให้ผเู ้ รี ยนแสดงพฤติกรรมที่คาดหวังออกมา
• ลักษณะที่เป็ นเงื่อนไขของการกระทา
Condition or Situation
เช่น
• อธิบายหลักการทางานของ UPS
• จาแนกส่ วนประกอบของคอมพิวเตอร์
• เมื่อกาหนดวงจรไฟฟ้ ามาให้ สามารถอ่านแบบได้ถูกต้อง
• ต่อวงจรไฟฟ้ าแสงสว่างในบ้านได้ โดยไม่ตอ้ งดูแบบ
Standard or Criteria
เป็ นส่วนทีใ่ ช้ระบุความสามารถ
ขั้นต่าของผูเ้ รี ยนว่าจะต้องทาได้เพียงใด จึงจะยอมรับได้วา่ ผูเ้ รี ยน
บรรลุตามวัตถุประสงค์แล้ว
• ลักษณะความเร็ วหรื อการบ่งเวลา
• ลักษณะปริ มาณที่ต่าที่สุด
• เป็ นเกณฑ์ที่ไม่สามารถระบุเชิงความเร็ วหรื อปริ มาณได้
Standard or Criteria
เช่น
• ท่องสูตรคูณตั้งแต่แม่ 2 ถึง แม่ 12 ได้จบภายใน 3 นาที
• คานวณโจทย์เรื่ องบัญญัติไตรยางศ์ได้ 8 ใน 10 ข้อ
• อธิบายความหมายของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ได้
• ระบุองค์ประกอบที่มีผลต่อความเร็ วในการประมวลผลของ
คอมพิวเตอร์ได้
การจาแนกวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม
จาแนกตามลักษณะของการเรี ยนรู ้ได้ 3 ส่ วน
• ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
• ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)
• ด้านเจตพิสยั (Affective Domain)
Cognitive Domain
วัตถุประสงค์ที่เน้นทางด้านความสามารถทางสมรรถภาพทางสมอง
หรื อการใช้ปัญญา
• ความรู ้ (Knowledge)
• ความเข้าใจ (Comprehension)
• การนาไปใช้ (Application)
• การวิเคราะห์ (Analysis)
• การสังเคราะห์ (Synthesis)
• การประเมินผล (Evaluation)
Psychomotor Domain
วัตถุประสงค์ที่แบ่งระดับพฤติกรรมที่เกี่ยวกับทักษะความชานาญ
• การเลียนแบบ (Imitation)
• การปฏิบตั ิได้โดยลาพัง (Manipulation)
• การปฏิบตั ิได้ถูกต้องแม่นยา (Precision)
• การปฏิบตั ิอย่างต่อเนื่องและผสมผสาน (Articulation)
• การปฏิบตั ิโดยอัตโนมัติเป็ นธรรมชาติ (Naturalization)
Affective Domain
วัตถุประสงค์ที่เน้นความสามารถทางความรู ้สึก อารมณ์ เจตคติต่อสิ่ งต่างๆ
• การยอมรับ (Receiving)
• การตอบสนอง (Responding)
• การสร้างค่านิยม (Valuing)
• ดาเนินการ (Organization)
• แสดงลักษณะเฉพาะตนตามค่านิยม (Characterization by a Value)
สรุปการจาแนกวัตถุประสงค์
การจาแนกวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรมของบทเรียนคอมพิวเตอร์
การวิเ คราะห ์วัต ถุ ป ระสงค ์
เชิงพฤติกรรมสาหรับบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ นอกจากจะต้องพิ จารณา
ส่ วนประกอบ ทั้ง 3
ส่ วน แล้ว ยังต้องพิจารณาระดับของ
วัตถุประสงค์ดว้ ย เนื่องจากบทเรี ยนคอมพิวเตอร์จะไม่สนับสนุนให้
ผูเ้ รี ยนได้ใช้ความคิดในการแก้ปัญหาหรื อประยุกต์ใช้งานด้านอื่นๆ
โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเรี ยนการสอนรายบุคคล
การจาแนกวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรมของบทเรียนคอมพิวเตอร์
• Cognitive Domain
– การฟื้ นคืนความรู ้ (Recalled Knowledge)
– การประยุกต์ความรู ้ (Applied Knowledge)
– การส่ งถ่ายความรู ้ (transferred Knowledge)
• Psychomotor Domain
• Affective Domain
การจาแนกวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรมของบทเรียนคอมพิวเตอร์
• Cognitive Domain
– การฟื้ นคืนความรู ้ (Recalled Knowledge)
มุงเน
่ ้ นความสามารถของ
ผูเ้ รี ยนในลักษณะการฟื้ นคืนความจาออกมาในลักษณะของการ
เขียนหรื อการอธิบายด้วยคาพูด
เช่น บอกกฎแห่งความปลอดภัยในการทางานได้
ยกตัวอยางจ
านวนเต็มแบบ
่
Integer ได้
การจาแนกวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรมของบทเรียนคอมพิวเตอร์
• Cognitive Domain
– การประยุกต์ความรู ้ (Applied Knowledge)
มุ่ งเน้ นความสามารถของ
ผู ้เ รี ยนในการน าความรู ้ ไ ปใช้แ ก้ปั ญ หาใหม่ ๆ ที่ มี ล ัก ษณะ
เดียวกันกับสิ่ งที่เคยผ่านการเรี ยนรู ้มาแล้วได้อย่างถูกต้อง
เช่น สาธิตการทางานของระบบ RFID ได้
อธิบ ายถึง ความสั มพัน ธ ระหว
์
่ าง
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนกับความสนใจได้
การจาแนกวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรมของบทเรียนคอมพิวเตอร์
• Cognitive Domain
– การส่ งถ่ายความรู ้ (transferred Knowledge)
มุงเน
่ ้ นความสามารถของ
ผูเ้ รี ยนในการส่ งถ่ายความรู ้ไปใช้แก้ปัญหาในงานใหม่ๆ ที่มี
ลักษณะแตกต่างไปจากคุณลักษณะเดิมที่ผเู ้ รี ยนมีประสบการณ์
มาแล้วได้อย่างถูกต้อง
เช่น วิเคราะห์สาเหตุของการเกิดไวรัสในฮาร์คดิสค์ได้
พัฒนาคาสั่ งการใช้งาน PDA โดย
ใช้ภาษาไทยได้
การจาแนกวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรมของบทเรียนคอมพิวเตอร์
• Psychomotor Domain
เช่น ออกแบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในสานักงานของโรงงานได้
ปฏิบต
ั ก
ิ ารเขาหั
้ วสาย UTP Cat 5
ได้ภายใน 2 นาที
การจาแนกวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรมของบทเรียนคอมพิวเตอร์
ข้ อพิจารณาในการเขียนวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม
• ต้องเป็ นวัตถุประสงค์ที่บ่งถึงพฤติกรรมของผูเ้ รี ยนหลังจากที่ผา่ น
บทเรี ยนไปแล้ว
• จะต้องระบุดว้ ยคากิริยาที่บ่งถึงการกระทาที่วดั ได้หรื อสังเกตได้
• ต้องเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของผูเ้ รี ยน ไม่ใช่พฤติกรรมผูส้ อนหรื อ
ของบทเรี ยน
• ต้องประกอบด้วยพฤติกรรมที่คาดหวัง เงื่อนไข และเกณฑ์ที่
สมบูรณ์
ข้ อพิจารณาในการเขียนวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม
• ครอบคลุมเนื้อหาสาระ สอดคล้องตรงตามหัวเรื่ องเหมาะสมกับ
ระดับของผูเ้ รี ยน
• แต่ละข้อ วัดพฤติกรรมเพียงด้านเดียวหรื ออย่างเดียวเท่านั้น
• ควรวัดพฤติกรรมให้ครบทุกด้าน และมีระดับความยากสอดคล้อง
กับระดับของผูเ้ รี ยน
• นิยมเขียนด้วยประโยคบอกเล่า มากกว่าการใช้ประโยคคาถามหรื อ
ประโยคปฏิเสธ
• เขียนด้วยประโยคหรื อข้อความสั้นๆ ที่กระชับและได้ใจความ
ตัวอย่ างวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม
•
•
•
•
อธิบายขั้นตอนการจัดการเกี่ยวกับไฟล์ได้ถูกต้อง
บอกส่ วนประกอบของฮาร์ดดิสค์ได้
วิเคราะห์อาการของคอมพิวเตอร์หลังจากติดไวรัสแล้วแล้วได้
อธิบายการทางานของเครื่ องพิมพ์ประเภทต่างๆได้
ระดับความยากของวัตถุประสงค์
Difficulty of Objective
ระดับความยากของวัตถุประสงค์
Difficulty of Objective
• ระดับของผูเ้ รี ยน (Level of Audience)
• ความยากของเนื้อหา (Difficulty of Content)
Objective Analysis
จบการบรรยาย
คาถาม