บทที่ 1

Download Report

Transcript บทที่ 1

บทที่ 1
ความรูเ้ บื้องต้นเกีย่ วกับคอมพิวเตอร
1
ความหมายของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินว่า Computare ซึ่ง
หมายถึงการนับหรื อ การคานวณ พจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525ให้ความหมายของ
คอมพิวเตอร์ไว้วา่ "เครื่ องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติทา
หน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สาหรับแก้ปัญหาต่างๆ
ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิ ตศาสตร์"
2
ประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์

ในระยะ 5,000 ปี ที่ผา่ นมา มนุษย์เริ่ มใช้นิ้วมือและนิ้วเท้า
เพื่อช่วยในการคานวณ และพัฒนาเป็ นอุปกรณ์อื่นๆ เช่น
ลูกหิ น
3
ประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์

ประมาณ 2,600 ปี ก่อนคริ สตกาล ชาวจีนได้ประดิษฐ์
เครื่ องมือเพื่อใช้ในการคานวณ เรี ยกว่า ลูกคิด (Abacus)
ซึ่ งถือได้วา่ เป็ นอุปกรณ์ช่วยการคานวณที่เก่าแก่ที่สุดใน
โลกและยังคงใช้งานมาจนถึงปัจจุบนั
4
ประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์

พ.ศ. 2158 นักคณิ ตศาสตร์ชาวสก็อตแลนด์ชื่อ John Napier
ได้ประดิษฐ์อุปกรณ์ที่ใช้ช่วยในการคานวณขึ้นมาเรี ยกว่า
Napier's Bones เป็ นอุปกรณ์ที่มีลกั ษณะคล้ายกับตาราง
สูตรคูณในปัจจุบนั
5
ประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์

พ.ศ. 2185 นักคณิ ตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ Blaise
Pascal ได้ออกแบบเครื่ องมือช่วยในการคานวณโดยใช้
หลักการหมุนของฟันเฟื อง เครื่ องมือนี้สามารถใช้ได้ดีใน
การคานวณบวกและลบ เท่านั้น ส่ วนการคูณและหารยัง
ไม่ดีเท่าไร
6
ประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์

พ.ศ. 2216 นักปรัชญาชาวเยอรมันชื่อ Gottfried Wilhelm
Baronvon Leibnitz ได้ปรับปรุ งเครื่ องคานวณของปาส
กาล ซึ่งใช้การบวกซ้ าๆ กันแทนการคูณเลข จึงทาให้
สามารถทาการคูณและหารได้โดยตรง และยังค้นพบ
เลขฐานสอง (Binary Number)
7
ประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์

พ.ศ. 2344 นักประดิษฐ์ชาวฝรั่งเศสชื่อ
Joseph Marie Jacquard พัฒนาเครื่ องทอ
ผ้าโดยใช้บตั รเจาะรู ในการบันทึกคาสัง่
ควบคุมเครื่ องทอผ้าให้ทาตามแบบที่
กาหนดไว้ ซึ่ งเป็ นแนวทางที่ทาให้เกิดการ
ประดิษฐ์เครื่ องเจาะบัตรในเวลาต่อมา
และถือว่าเป็ นเครื่ องจักรที่ใช้ชุดคาสัง่
(Program) สัง่ ทางานเป็ นเครื่ องแรก
8
ประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์

พ.ศ. 2373 Charles Babbage ศาสตราจารย์
ทางคณิ ตศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยแคม
บริ ดจ์ของอังกฤษ ได้สร้างเครื่ องหาผลต่าง
(Difference Engine) ซึ่งเป็ นเครื่ องที่ใช้
คานวณและพิมพ์ตารางทางคณิ ตศาสตร์
อย่างอัตโนมัติ แต่กไ็ ม่สาเร็ จตามแนวคิด
ด้วยข้อจากัดทางด้านวิศวกรรมในสมัยนั้น
แต่ได้พฒั นาเครื่ องมือหนึ่งเรี ยกว่า เครื่ อง
วิเคราะห์ (Analytical Engine)
9
ประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์

เครื่ องนี้ประกอบด้วยส่ วนสาคัญ 4 ส่ วน คือ
 1. ส่ วนเก็บข้อมูล
 2. ส่ วนประมวลผล
 3. ส่ วนควบคุม
 4. ส่ วนรับข้อมูลเข้าและแสดงผลลัพธ์
ด้วยเครื่ องวิเคราะห์ มีลกั ษณะใกล้เคียงกับ
ส่ วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบนั
จึงทาให้ Charles Babbage ได้รับการยกย่องให้
เป็ น "บิดาแห่งคอมพิวเตอร์ "
10
ประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์

พ.ศ. 2385 สุ ภาพสตรี ชาวอังกฤษชื่อ Lady Augusta Ada
Byron ได้ทาการแปลเรื่ องราวเกี่ยวกับเครื่ อง Analytical
Engine และได้เขียนขั้นตอนของคาสัง่ วิธีใช้
เครื่ องนี้ให้ทาการคานวณที่ยงุ่ ยากซับซ้อน จึง
นับได้วา่ ออกุสต้า เป็ นโปรแกรมเมอร์คนแรก
ของโลก และยังค้นพบอีกว่าชุดบัตรเจาะรู ที่
บรรจุชุดคาสัง่ ไว้สามารถนากลับมาทางานซ้ า
ใหม่ นัน่ คือหลักการทางานวนซ้ า หรื อที่เรี ยกว่า Loop
11
ประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์

พ.ศ. 2397 นักคณิ ตศาสตร์ชาว
อังกฤษ George Boole ได้สร้าง
ระบบพีชคณิ ตแบบใหม่ เรี ยกว่า
พีชคณิ ตบูลลีน (Boolean Algebra)
ซึ่ งมีประโยชน์มากต่อการออกแบบ
วงจรไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ และ
การออกแบบทางตรรกวิทยาของ
เครื่ องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบนั ด้วย
12
ประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์

พ.ศ. 2423 Dr. Herman Hollerith นักสถิติชาวอเมริ กนั ได้
ประดิษฐ์เครื่ องประมวลผลทางสถิติเครื่ องแรก ซึ่งใช้กบั
บัตรเจาะรู ซึ่งได้ถูกนามาใช้ในงานสารวจสามะโน
ประชากรของสหรัฐอเมริ กา
13
ประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์

พ.ศ. 2480 ศาสตราจารย์ Howard Aiken ได้พฒั นาเครื่ อง
คานวณตามแนวคิดของแบบเบจ ร่ วมกับวิศวกรของบริ ษทั
ไอบีเอ็มได้สาเร็ จ โดยเครื่ องจะทางานแบบเครื่ องจักรกลปน
ไฟฟ้ าและใช้บตั รเจาะรู เครื่ องมือนี้มีชื่อว่า MARK I หรื อมีอีก
ชื่อหนึ่งว่า IBM Automatic Sequence Controlled Calculator
และนับเป็ นเครื่ องคานวณแบบอัตโนมัติเครื่ องแรกของโลก
14
ประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์

พ.ศ. 2486 เป็ นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ศูนย์วิจยั ของกองทัพบก
สหรัฐอเมริ กา ต้องการเครื่ องคานวณหาทิศทางและระยะทางในการ
ส่ งขีปนาวุธ ซึ่งถ้าใช้เครื่ องคานวณสมัยนั้นจะต้องใช้เวลาถึง 12 ชม.
ต่อการยิง 1 ครั้ง ดังนั้น จึงให้ทุนอุดหนุนแก่ John W. Mauchly และ
Persper Eckert สร้างคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ข้ ึนมา มีชื่อว่า
ENIAC (Electronic Numerical Intergrater and
Calculator) สาเร็ จในปี พ.ศ. 2489 โดยนาหลอด
สุ ญญากาศจานวน 18,000 หลอด ซึ่งมีขอ้ ดีคือ ทาให้
เครื่ องมีความเร็ วและมีความถูกต้องแม่นยาในการ
คานวณมากขึ้น
15
ประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์

พ.ศ. 2492 Dr. John Von Neumann ได้พบวิธีการเก็บโปรแกรมไว้
ในหน่วยความจาของเครื่ องได้สาเร็ จ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ถกู
พัฒนาขึ้นตามแนวคิดนี้ได้แก่ EDVAC (Electronic Discrete
Variable Automatic Computer) และนามาใช้งานจริ งในปี 2494
และในเวลาเดียวกันมหาวิทยาลัย เคมบริ ดจ์ ก็ได้มีการสร้าง
คอมพิวเตอร์ ในลักษณะคล้ายกับเครื่ อง EDVAC นี้ และให้ชื่อว่า
EDSAC (Electronic Delay Storage Automatic Calculator) มี
ลักษณะการทางานเหมือนกับ EDVAC คือเก็บโปรแกรมไว้ใน
หน่วยความจา แต่มีลกั ษณะพิเศษที่แตกต่างออกไปคือ ใช้เทป
แม่เหล็กในการบันทึกข้อมูลต่อมา ศาสตราจารย์แอคเคิทและมอ
ชลี ได้ร่วมมือกันสร้างเครื่ องคอมพิวเตอร์ อีก ชื่อว่า UNIVAC I
(Universal Automatic Calculator) ซึ่ งผลิตขึ้นมาเพื่อขายหรื อเช่า
เป็ นเครื่ องแรกที่ออกสู่ ตลาด
16
วิวฒ
ั นาการของเครื่องคอมพิวเตอร์
แบ่ งออกเป็ น 4 ยุค คือ

ยุคที่ 1 ใช้หลอดสูญญากาศ
17
วิวฒ
ั นาการของเครื่องคอมพิวเตอร์

ยุคที่ 2 ใช้ทรานซิสเตอร์
18
วิวฒ
ั นาการของเครื่องคอมพิวเตอร์

ยุคที่ 3 ใช้ไอซี (IC : Intergrated Circuit)
19
วิวฒ
ั นาการของเครื่องคอมพิวเตอร์

ยุคที่ 4 ใช้แอลเอสไอ
(VLSI : Very Large Scale Integrated)
20
ประเภทของคอมพิวเตอร์

แบ่ งตามหลักของการแทนค่ าข้ อมูลในเครื่อง
คอมพิวเตอร์
แอนะล็อกคอมพิวเตอร์ (Analog Computer)
 ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ (Digital Computer)


แบ่ งตามลักษณะการใช้ งาน
คอมพิวเตอร์เฉพาะกิจ (Special-Purpose Computer)
 คอมพิวเตอร์ ใช้งานทัว
่ ไป (General-Purpose Computer)

21
ประเภทของคอมพิวเตอร์

แบ่ งตามขนาดของเครื่อง

ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computers)
Desktop, Laptop, Notebook
 Handheld Computer Palmtop ,Tablet ,Smart Phone

สถานีงาน (Workstations)
 มินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computers)
 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computers)
 ซุ ปเปอร์ คอมพิวเตอร์ (Super Computers)

22
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ประกอบด้ วย 3 องค์ ประกอบ
 คน (Peopleware)
 ตัวเครื่ อง (Hardware)


ตัวเครื่ องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
โปรแกรมคาสั่ ง (Software)


System Program
Application Program
23
ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์

หน่ วยประมวลผลกลาง (CPU : Central Processing Unit)
หน่ วยควบคุม (Control Unit)
 หน่ วยประมวลผลทางคณิตศาสตร์ และตรรกะ
(ALU :Arithmetic Logic Unit)
 Register




หน่ วยรับข้ อมูล (Input Unit)
หน่ วยแสดงผล (Output Unit)
หน่ วยความจา (Memory Unit)


หน่ วยความจาหลัก (Primary memory : Main memory)
หน่ วยความจาสารอง (Secondary memory : Storage)
24
หน่ วยคำนวน
และตรรก (ALU)
หน่ วยรับข้อมูล
หน่ วยควบคุม
หน่ วยแสดงผล
ข้อมูล
หน่ วยควำมจำหลัก
หน่ วยควำมจำ
สำรอง
รูปแสดงสว่ นประกอบของคอมพิวเตอร์
25
หน่ วยความจาของคอมพิวเตอร์


หน่วยความจาที่เรี ยกว่า ROM (Read Only Memory) ข้อมูลที่
อยูใ่ นหน่วยความจา แม้จะปิ ดไฟเครื่ อง สิ่ งที่บนั ทึกอยูก่ จ็ ะ
ไม่หาย
หน่วยความจาที่เรี ยกว่า RAM (Random Access Memory ใช้
เป็ นที่เก็บข้อมูลและโปรแกรมของผูใ้ ช้ โดยจะเปลี่ยนแปลง
แก้ไข เพิ่มเติม ลบออกได้ แต่เมื่อปิ ดไฟเครื่ อง ข้อมูลที่อยูใ่ น
ส่ วนนี้จะหายไปหมด
26
หน่ วยความจาของคอมพิวเตอร์

หน่วยที่เล็กที่สุดที่อาจเป็ นเลข 0 หรื อ 1 เรี ยกว่า บิต (Bit) ที่ยอ่ มาจาก
Binary Digit และเมื่อนาเอาบิตมารวมกันเป็ นกลุ่ม เช่น 8 บิต เรี ยกว่า
1 ไบต์ (Byte) โดย 1 ไบท์จะใช้แทนตัวอักษรหรื อตัวเลข 1 ตัว ทุกๆ
ไบท์จะมีหมายเลขกากับ (Address number) ขนาดของ
หน่วยความจาจะขึ้นอยูก่ บั จานวนไบท์ โดยไบท์จะมีหน่วยเป็ น KB
(Kilobyte) หรื อ MB (Megabyte) หรื อ GB (Gigabyte) เช่น เครื่ อง
IBM มีหน่วยความจาขนาด 128 Mb คือ เครื่ องนี้จะสามารถเก็บ
ตัวอักษรหรื อตัวเลขได้ 128*1,024*1,024 ตัวอักษร เป็ นต้น



( 1 Kilobyte
( 1 Megabyte
( 1 Gigabyte
= 210
= 210 * 210
= 210 * 210 * 210
= 1,024 bytes)
= 1,048,576 bytes)
= 1,073,741,824 bytes)
27
หน่ วยความจาของคอมพิวเตอร์
28
คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์

โปรแกรมระบบ (System Program)



ระบบปฏิบตั ิการเช่น Windows, Linux, UNIX, iOS, Android ฯลฯ
โปรแกรมจัดการระบบ เช่น Control Panel, Disk Defragment, Disk
Cleanup, Windows Registry ฯลฯ
โปรแกรมแปลภาษา Compiler และ Interpreter


BASIC, FORTRAN, COBOL, PASCAL, C, VB, VC, Delphi, .net, Java
โปรแกรมประยุกต์ (Application Program)

โปรแกรมเฉพาะงาน(เขียนขึ้นด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ) เช่น Microsoft
Office, Internet Browserโปรแกรมสานักงาน, โปรแกรมระบบบัญชี,
โปรแกรมทะเบียน, งานวิจยั
29
ภาษาคอมพิวเตอร์

ภาษาเครื่อง (Machine Language)


คาสั่งของภาษาประกอบด้วยกลุ่มเลขฐานสอง (0 และ 1)
ภาษาใกล้ เคียงภาษามนุษย์ (Human Oriented Language)


ภาษาระดับต่า (Low level language)
 มีเพียงภาษาเดียวเท่านั้น คือ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly)
ภาษาระดับสูง (High level language)
 BASIC, FORTRAN, COBOL, PASCAL, C, VB, VC, Delphi, .net,
Java
30
รหัสแทนข้อมูล

รหัส BCD (Binary Code Decimal)


รหัส EBCDIC (Extended Binary Code Decimal Interchange Code)


1 ไบต์ 8 บิต ได้ 256 ลักษณะ
รหัส ASCII (American Standard Code Information Interchange)


1 ไบต์ 6 บิต ได้ 64 ลักษณะ
1 ไบต์ 8 บิต ได้ 256 ลักษณะ เป็ นที่นิยมใช้กนั มากในปั จจุบนั
รหัส Unicode (American Standard Code Information Interchange)

1 ไบต์ 16 บิต ได้ 65536 ลักษณะ
31
รหัสแทนข้อมูล
Charac
ter
BCD
EBCDIC
ASCII
1
2
3
4
000001
000010
000011
000100
11110001
11110010
11110011
11110100
00110001
00110010
00110011
00110100
:
:
:
:
A
B
C
D
110001
110010
110011
110100
11000001
11000010
11000011
11000100
01000001
01000010
01000011
01000100
:
:
:
:
Unicode
00000000
00000000
00000000
00000000
00110001
00110010
00110011
00110100
:
00000000
00000000
00000000
00000000
01000001
01000010
01000011
01000100
32
ประโยชน์และข้อจากัดของคอมพิวเตอร์
ประโยชน์ ของคอมพิวเตอร์ ได้ แก่






ความเร็ ว (Speed)
ความถูกต้อง (Accuracy)
ความน่าเชื่อถือ (Reliability)
การเก็บรักษาข้อมูลหรื อโปรแกรม (Retention)
การประหยัด (Economy)
การใช้งานได้หลาย ๆ ด้าน (Wide Applicability)
33
ประโยชน์และข้อจากัดของคอมพิวเตอร์
ข้ อจากัดของคอมพิวเตอร์ ได้ แก่




การทางานต้องขึ้นกับมนุษย์ (Dependence of People)
การวางระบบงานคอมพิวเตอร์ตอ้ งใช้เวลามาก (TimeConsuming System)
การรบกวนระบบงานปกติ (Disruptiveness)
การไม่รู้จกั ปรับปรุ งให้ดีข้ ึน (Unadaptiveness)
34
ความหมายของการประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้ อมูล (Data Processing) หมายถึง การกระทา
กระบวนการต่างๆ ของข้อมูลเพื่อเกิดสารสนเทศที่มีความหมาย
หรื อมีประโยชน์


ข้ อมูล (Data) หมายถึง วัตถุดิบ หรื อข้อเท็จจริ ง เช่น ตัวเลข, ตัวอักขระ,
ข้อความ, รู ปภาพ, เสี ยง หรื อภาพยนตร์ เป็ นต้น
สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลซึ่ งมีการประมวลผลแล้ว และ
มีการจัดเรี ยงข้อมูลอย่างเป็ นระเบียบให้อยูใ่ นรู ปแบบที่สามารถนาไปใช้
ประโยชน์ได้
35
ความหมายของการประมวลผลข้อมูล
Data
ข้อมูล
Processing
การประมวลผล
Information
สารสนเทศ
ลาดับการประมวลผลข้อมูล
36
องค์ประกอบข้อมูล
มีองค์ ประกอบของข้ อมูลดังนี้



บิต (Bit) คือ หน่วยของข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่ งแทนด้วยเลขฐานสอง
คือ 0 และ 1
ไบต์ (Byte) คือ กลุ่มของบิตใช้แทนข้อมูลที่เป็ นตัวอักษร ตัวเลข หรื อ
สัญลักษณ์พิเศษ เพียง 1 ตัว เช่น 01000001 คือ ตัว A โดยที่ 8 บิต เท่ากับ 1
ไบต์
ฟิ ลด์ (Field) คือ กลุ่มของไบต์ที่รวมกันแล้วมีความหมาย เช่น ชื่อ,
นามสกุล, ที่อยู,่ เบอร์โทรศัพท์
37
องค์ประกอบข้อมูล
มีองค์ ประกอบของข้ อมูลดังนี้



เรคอร์ ด (Record) คือ กลุ่มของฟิ ลด์ที่มีความสัมพันธ์กนั เช่น เรคอร์ด
ของข้อมูลนักศึกษา ซึ่ งประกอบด้วย ฟิ ลด์รหัส, ชื่อ, นามสกุล, วันเดือนปี
เกิด, อายุ, ที่อยู,่ ชั้น, ปี เป็ นต้น
แฟ้มข้ อมูล (File) คือ กลุ่มของเรคอร์ ดที่มีขอ้ มูลเป็ นเรื่ องเดียวกัน เช่น
แฟ้ มข้อมูลนักศึกษา, แฟ้ มข้อมูลประวัติคนไข้, แฟ้ มข้อมูลสิ นค้า เป็ นต้น
ฐานข้ อมูล (Database) คือ กลุ่มของแฟ้ มข้อมูลที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กนั
หลายๆ แฟ้ มข้อมูล มารวมกันเป็ นระบบ เช่น ฐานข้อมูลระบบทะเบียน
นักศึกษา, ระบบคงคลังสิ นค้า เป็ นต้น
38
องค์ประกอบข้อมูล
แฟ้มข้ อมูล
เรคอรด์ 1
เรคอรด์ 2
ฟิ ลด์ 1
ฟิ ลด์ 2
ไบต์ 1
บิต 1
เรคอรด์ 3
เรคอรด์ n
ฟิ ลด์ 3
ไบต์ 2
ไบต์ 3
บิต 2
บิต 3
ฟิ ลด์ n
ไบต์ n
บิต n
แสดงองค์ประกอบข้อมูล
39
การประมวลผลข้อมูล
แสดงการแยกขั้นตอนการประมวลผลในลาดับการประมวลผล ดังนี้
40
การดูแลป้องกันข้อมูลทางอิเล็ กทรอนิ กส์
ไวรัสคอมพิวเตอร์



ข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์มีความสาคัญมากๆ ถ้าไม่มีการเก็บรักษาและ
ป้ องกันที่ดีขอ้ มูลเหล่านี้ ก็อาจจะถูกทาลายให้เกิดความเสี ยหายได้ง่าย
เนื่องจากมีโปรแกรมบางชนิ ด ที่ถกู สร้างขึ้นมาเพื่อทาลายข้อมูลทาง
อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ งเราจะรู ้จกั ในชื่อว่า “ไวรัสคอมพิวเตอร์ ”
ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการ
สาเนาตัวเองเข้าไปแทรกอยูใ่ นระบบคอมพิวเตอร์ และถ้ามีโอกาสก็จะ
สาเนาตัวเองไปสู่ คอมพิวเตอร์ เครื่ องอื่นๆ ต่อไปและเกิดการแพร่
ระบาดของไวรัส โดยอาจจะผ่านทางไฟล์ต่างๆ หรื อ อีเมล์
41
การดูแลป้องกันข้อมูลทางอิเล็ กทรอนิ กส์

ประเภทของไวรัสคอมพิวเตอร์
 ไวรั สที่ฝังตัวอยู่ตามบู ตเซ็ กเตอร์ ไวรั สคอมพิวเตอร์ พน
ั ธุ์น้ ี จะ
แพร่ กระจายโดยติดในบูตเซ็กเตอร์ หรื อบู๊ตเรคอร์ ด ซึ่ งเป็ นเนื้ อที่
ส าคัญ ของระบบเก็ บ ข้อ มู ล ในฮาร์ ด ดิ ส ก์ ทุ ก ครั้ งที่ ท าการเปิ ด
เครื่ อง ระบบจัดการของคอมพิวเตอร์ จะอ่านข้อมูลจากบู ตเซ็ ก
เตอร์ และโหลดเข้าไปในหน่ วยความจาก่อนเสมอ ทาให้ไวรั ส
ถู ก โหลดไปหลบซ่ อนในหน่ วยความจ า เพื่ อ รอจั ง หวะ
แพร่ กระจายต่อไปยังแผ่นดิสก์
42
การดูแลป้องกันข้อมูลทางอิเล็ กทรอนิ กส์

ประเภทของไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรั สที่เกาะตามไฟล์ หรื อโปรแกรม ส่ วนมากจะเกาะติดไฟล์ที่มี
สกุล COM หรื อ EXE คือเมื่อมีการใช้งานโปรแกรมที่มีนามสกุล
ดังกล่าว ไวรั สประเภทนี้ จะแยกตัวไปซ่ อนอยู่ในหน่ วยความจา
แล้วหาทางเกาะติดไฟล์ที่มีนามสกุลดังกล่าว ที่เก็บไว้ในแผ่นดิสก์
หรื ออาจจะไปเกาะติดและทาลายไฟล์ที่นามสกุล COM หรื อEXE
เรี ยกใช้งาน
43
การดูแลป้องกันข้อมูลทางอิเล็ กทรอนิ กส์

ประเภทของไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสมาโคร เป็ นโปรแกรมทางานอย่างอัตโนมัติที่มีขนาดเล็ก ที่
มีติดตั้งอยูใ่ นชุดโปรแกรมสานักงาน (Microsoft Word, Excel,
Power Point เป็ นต้น) เพื่อให้ผใู ้ ช้สามารถสร้างโปรแกรมสั่งการ
ทางานหลายๆ อย่างได้พ ร้ อมกัน ในคราวเดี ย ว ไวรั สมาโครจะ
ติ ด ต่ อ กั บ ไฟล์ ซ่ ึ งใช้ เ ป็ นต้ น แบบ ในการสร้ างเอกสาร
(Documents ) หลังจากที่ตน้ แบบในการใช้สร้างเอกสารติดไวรั ส
แล้ว ทุกๆ เอกสารที่เปิ ดขึ้นด้วยต้นแบบอันนั้นจะเกิดความเสี ยหาย
ขึ้นทาให้ไม่สามารถใช้งานไฟล์น้ นั ๆได้
44

การดูแลป้องกันข้อมูลทางอิเล็ กทรอนิ กส์

ประเภทของไวรัสคอมพิวเตอร์
ม้ าโทรจัน (Trojan Horse Virus) เป็ นโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้น
เหมือนว่าเป็ นโปรแกรมธรรมดาทัว่ ๆ ไป เพื่อหลอกล่อผูใ้ ช้ให้ทา
การเรี ยกมาทางาน แต่เมื่อถูกเรี ยกขึ้นมาแล้ว ก็จะเริ่ มทาลายตามที่
ค าสั่ ง ของโปรแกรมทัน ที และนับ ว่ า เป็ นหนึ่ งในประเภทของ
โปรแกรมที่มีความอันตรายสูง เพราะยากที่จะตรวจสอบ

45
การดูแลป้องกันข้อมูลทางอิเล็ กทรอนิ กส์

ประเภทของไวรัสคอมพิวเตอร์
หนอน (Worm) ไวรัสพวกนี้ ไม่น่าจัดว่าเป็ นไวรัสเพราะมันจะ
ไม่เกาะติดกับไฟล์ใดๆ แต่จะจาลองตัวและเพิ่มจานวนคลืบคลาน
ไปตามเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ หรื อเครื อข่ายอิ นเทอร์ เนตที่ มีการ
เชื่ อมต่อกัน ในปั จจุบนั เราถูกหนอนพวกนี้ โจมตีมากที่สุด ในการ
เดินทางของมันจะมีการใช้บริ การของ E-mail, สาย Network และ
อื่นๆ และพวกหนอนเหล่านี้ ยงั มีการพัฒนาสายพันธุ์ทาให้ยากแก่
การดักจับและการทาลาย

46
การดูแลป้องกันข้อมูลทางอิเล็ กทรอนิ กส์







อาการของคอมพิวเตอร์ เมื่อมีไวรัสคอมพิวเตอร์
เนื้ อที่ในฮาร์ ดดิสก์ลดลงโดยไม่ทราบสาเหตุ โดยไม่ได้ลงโปรแกรม หรื อนาข้อมูล
มาลง
วินโดวส์ แสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ขอ้ ความโดยไม่ทราบสาเหตุ หรื อมีโปรแกรมบาง
ตัวทางานโดยที่ไม่ได้สั่ง
คอมพิวเตอร์ ทางานช้า อืดผิดปกติท้ งั ๆที่ไม่ได้ใช้โปรแกรมอะไร
ไฟล์ขอ้ มูลมีขนาดใหญ่ข้ ึนมาก ทุกครั้งที่ใช้งาน
เปิ ดหรื อการโหลด เข้าใช้งานโปรแกรมเข้าสู่ หน่วยความจาใช้เวลานานขึ้น
เครื่ องคอมพิวเตอร์ เกิดอาการแฮงค์ (Hang) โดยไม่ทราบสาเหตุ อยูด่ ีๆโปรแกรมก็
ปิ ดเอง
47
การดูแลป้องกันข้อมูลทางอิเล็ กทรอนิ กส์






อาการของคอมพิวเตอร์ เมื่อมีไวรัสคอมพิวเตอร์
เปิ ดเครื่ องคอมพิวเตอร์ ไม่ได้ บูตเครื่ องจากฮาร์ ดดิสก์ไม่ได้
เปิ ดไฟล์ เ อกสารไม่ ไ ด้ท้ ัง ๆที่ เ คยเปิ ดอยู่ทุ ก วัน หรื อ เปิ ดได้แ ต่ เ ป็ นตัว อัก ษร
ประหลาดๆ ปนมาด้วย
เครื่ องคอมพิวเตอร์ มีการกระทาที่แปลกๆ สุ ดแต่ผเู ้ ขียนโปรแกรมไวรัสจะกาหนด
มา เช่น อาจส่ งเสี ยงพิสดารต่างๆ หรื อกดอักษร A หนึ่ งครั้ ง ก็แสดงอักษร A
ออกมาได้หลายสิ บตัว
เปิ ดเล่น โปรแกรม IE, Mozilla Firefox เข้าเว็บ สแกนไวรัส.com แล้วมีขอ้ ความ
โฆษณาหรื อข้อความแปลกๆขึ้นที่หน้าจอ
โปรแกรมป้ องกันไวรัสไม่สามารถเปิ ดได้ หรื อเปิ ดโปรแกรมต่างๆ ไม่ได้ อยูด่ ีๆ
48
โปรแกรมที่ใช้ทุกวันก็หายไป
การดูแลป้องกันข้อมูลทางอิเล็ กทรอนิ กส์
อาการของคอมพิวเตอร์ เมื่อมีไวรัสคอมพิวเตอร์







เครื่ องมีการรี สตาร์ ทหรื อปิ ดเองขณะใช้งาน หรื อไม่สามารถบูตเข้าวินโดวส์ได้
ฮาร์ ดดิ สก์ หรื อ CPU ทางานมากอย่างผิดสังเกต หรื อไฟแสดงการทางานของ
อุปกรณ์เครื อข่าย (เช่น Broadband Modem, Hub, Switch) ติดตลอดเวลา โดยที่ท่าน
ไม่ได้ใช้งานอะไรเป็ นพิเศษ
มีไฟล์ต่างๆ เช่น Autorun.inf หรื อไฟล์นามสกุล .vbs ในไดรฟ์ ต่างๆ โดยที่ไม่ได้
สร้างขึ้น
ข้อความที่ปกติไม่ค่อยได้เห็นกลับถูกแสดงขึ้นมาบ่อย ๆ
เกิดอักษรหรื อข้อความประหลาดบนหน้าจอ
แป้ นพิมพ์ทางานผิดปกติหรื อไม่ทางานเลย
49
การดูแลป้องกันข้อมูลทางอิเล็ กทรอนิ กส์
อาการของคอมพิวเตอร์ เมื่อมีไวรัสคอมพิวเตอร์



ไฟล์ขอ้ มูลหรื อโปรแกรมที่เคยใช้อยู่ ๆ ก็หายไป
อาการของการติดไวรัสนั้นยังมีอีกมากมาย ขึ้นอยูก่ นั ชนิดของไวรัสด้วย
โดยทางสแกนไวรัส.com ขอเสนออาการที่ท่านสามารถสังเกตได้โดยง่าย
เท่านั้น แต่ความเข้าใจผิดบางอย่างก็อย่าไปเข้าใจว่าเป็ นอาการของไวรัส
ทั้งหมดนะครับ
50
การดูแลป้องกันข้อมูลทางอิเล็ กทรอนิ กส์
วิธีการป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์






ทุกครั้งที่นาซอฟแวร์ ที่ไม่ทราบแหล่งที่ผลิต หรื อได้รับแจกฟรี จากทาง
อินเตอร์ เน็ต ต้องตรวจสอบให้แน่ใจก่อนนาไปใช้
ควรตรวจสอบทั้งฮาร์ ดแวร์ และซอฟแวร์ อย่างสม่าเสมอ
เตรี ยมแผ่นที่สะอาดไว้สาหรับบูตเครื่ องเมื่อคราวจาเป็ น
ควรทาสารองข้อมูลไว้เสมอ
พยายามสังเกตสิ่ งผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่ องอย่างสม่าเสมอ เช่น การ
ทางานที่ชา้ ลงของเครื่ องคอมพิวเตอร์ หน้าจอแสดงผลแปลกๆ ฮาร์ด
ดิกส์ไดรฟ์ มีเสี ยงผิดปกติ เป็ นต้น
51
การดูแลป้องกันข้อมูลทางอิเล็ กทรอนิ กส์
วิธีการป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์





ไม่นาแผ่นดิสก์ไปใช้กบั เครื่ องคอมพิวเตอร์ อื่นๆ ถ้ายังไม่ได้ปิดแถบ
ป้ องกันการบันทึก (Write Protect )
ก่อนจะนาแผ่นดิกส์มาสารองข้อมูล ควรมีการตรวจสอบแผ่นก่อนทุก
ครั้ง
ควรแยกแผ่นโปรแกรม และแผ่นข้อมูลออกจากกันโดยเด็ดขาด
ควรมีโปรแกรมป้ องกันไวรัสไว้ใช้ตรวจสอบและป้ องกัน เช่น
โปรแกรม SCAN ไวรัสของ Kaspersky, Norton, McAfee, NOD32,
AVG, AVIRA, F-Secure หรื อ Avast เป็ นต้น
52
 The End 
53