ประวัติและวิวัฒนาการของค

Download Report

Transcript ประวัติและวิวัฒนาการของค

สื่อการเรียนการสอน
วิชาคอมพิวเตอร์และ
สารสนเทศเพื่องานอาชีพ
รหัสวิชา 2001-2001
ครูผสู้ อน..นางสาวสิรี โชคดีมี
วาสนา
ความหมายของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ มาจากภาษาละตินว่ า Computare ซึ่งหมายถึง การนับ
หรือ การคานวณ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ ความหมาย
ของคอมพิวเตอร์ ไว้ ว่า "เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ แบบอัตโนมัติ ทาหน้ าที่เหมือนสมองกล ใช้
สาหรับแก้ ปัญหาต่ างๆ ทีง่ ่ ายและซับซ้ อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์ "
คอมพิวเตอร์ จึงเป็ นเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ ทถี่ ูกสร้ างขึน้ เพือ่ ใช้ ทางานแทน
มนุษย์ ในด้ านการคิดคานวณและสามารถจาข้ อมูล ทั้งตัวเลขและตัวอักษรได้ เพือ่ การ
เรียกใช้ งานในครั้งต่ อไป นอกจากนี้ ยังสามารถจัดการกับสั ญลักษณ์ ได้ ด้วยความเร็วสู ง
โดยปฏิบตั ิตามขั้นตอนของโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ยงั มีความสามารถในด้ านต่ างๆ อีก
มาก
ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์
เครือ
่ งคอมพิวเตอรถู
น
้ มาเพือ
่ ให้มีจุดเดน
้
่
์ กสรางขึ
4 ประการ เพื่อทดแทนข้อจากัดของมนุษย์ เรี ยกว่า 4 S special ดังนี้
1. หน่วยเก็บ (Storage) หมายถึง ความสามารถในการเก็บข้อมูลจานวนมากและ
เป็ นเวลานาน นับเป็ นจุดเด่นทางโครงสร้างและเป็ นหัวใจของการทางานแบบอัตโนมัติ
ของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ทั้งเป็ นตัวบ่งชี้ประสิ ทธิ ภาพของคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่ องด้วย
2. ความเร็ ว (Speed) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล
(Processing Speed) โดยใช้เวลาน้อย เป็ นจุดเด่นทางโครงสร้างที่ผใู ้ ช้
ทัว่ ไปมีส่วนเกี่ยวข้องน้อยที่สุด เป็ นตัวบ่งชี้ประสิ ทธิ ภาพของเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่สาคัญ
ส่ วนหนึ่งเช่นกัน
3. ความเป็ นอัตโนมัติ (Self Acting) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผล
ข้อมูลตามลาดับขั้นตอนได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่องอย่างอัตโนมัติ โดยมนุษย์มีส่วน
เกี่ยวข้องเฉพาะในขั้นตอนการกาหนดโปรแกรมคาสั่งและข้อมูลก่อนการประมวลผล
เท่านั้น
4. ความน่าเชื่อถือ (Sure) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลให้เกิดผลลัพธ์ที่
ถูกต้อง ความน่าเชื่อถือนับเป็ นสิ่ งสาคัญที่สุดในการทางานของเครื่ องคอมพิวเตอร์
ความสามารถนี้เกี่ยวข้องกับโปรแกรมคาสั่งและข้อมูลที่มนุษย์กาหนดให้กบั เครื่ อง
คอมพิวเตอร์ โดยตรง กล่าวคือ หากมนุษย์ป้อนข้อมูลที่ไม่ถกู ต้องให้กบั เครื่ อง
คอมพิวเตอร์ กย็ อ่ มได้ผลลัพธ์ที่ไม่ถกู ต้องด้วยเช่นกัน
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
งานธุรกิจ
เช่ น บริษทั ร้ านค้ า ห้ างสรรพสิ นค้ า ตลอดจนโรงงานต่ างๆ ใช้
คอมพิวเตอร์ ในการทาบัญชี งานประมวลคา และติดต่ อกับหน่ วยงาน
ภายนอกผ่ านระบบโทรคมนาคม นอกจากนีง้ านอุตสาหกรรม ส่ วนใหญ่ ก็
ใช้ คอมพิวเตอร์ มาช่ วยในการควบคุมการผลิต และการประกอบชิ้นส่ วน
ของอุปกรณ์ ต่างๆ เช่ น โรงงานประกอบรถยนต์ ซึ่งทาให้ การผลิตมี
คุณภาพดีขนึ้ บริษทั ยังสามารถรับ หรืองานธนาคาร ทีใ่ ห้ บริการถอนเงิน
ผ่ านตู้ฝากถอนเงินอัตโนมัติ ( ATM ) และใช้ คอมพิวเตอร์ คดิ ดอกเบีย้
ให้ กบั ผู้ฝากเงิน และการโอนเงินระหว่ างบัญชี เชื่อมโยงกันเป็ นระบบ
เครือข่ าย
งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุ ข
สามารถนาคอมพิวเตอร์ มาใช้ ในนามาใช้ ในส่ วนของการคานวณ
ทีค่ ่ อนข้ างซับซ้ อน เช่ น งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถกี ารโคจรของการ
ส่ งจรวดไปสู่ อวกาศ หรืองานทะเบียน การเงิน สถิติ และเป็ นอุปกรณ์
สาหรับการตรวจรักษาโรคได้ ซึ่งจะให้ ผลที่แม่ นยากว่ าการตรวจด้ วยวิธี
เคมีแบบเดิม และให้ การรักษาได้ รวดเร็วขึน้
งานคมนาคมและสื่ อสาร
ในส่ วนที่เกีย่ วกับการเดินทาง จะใช้ คอมพิวเตอร์ ในการจองวัน
เวลา ทีน่ ั่ง ซึ่งมีการเชื่อมโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได้ ทาให้
สะดวกต่ อผู้เดินทางทีไ่ ม่ ต้องเสี ยเวลารอ อีกทั้งยังใช้ ในการควบคุม
ระบบการจราจร เช่ น ไฟสั ญญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศ
หรือในการสื่ อสารก็ใช้ ควบคุมวงโคจรของดาวเทียมเพือ่ ให้ อยู่ในวง
โคจร ซึ่งจะช่ วยส่ งผลต่ อการส่ งสั ญญาณให้ ระบบการสื่ อสารมีความ
ชัดเจน
งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม
สถาปนิกและวิศวกรสามารถใช้ คอมพิวเตอร์ ในการออกแบบ หรือ
จาลองสภาวะการณ์ ต่ างๆ เช่ น การรับแรงสั่ นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิด
แผ่ นดินไหว โดยคอมพิวเตอร์ จะคานวณและแสดงภาพสถานการณ์
ใกล้ เคียงความจริง รวมทั้งการใช้ ควบคุมและติดตามความก้ าวหน้ าของ
โครงการต่ างๆ เช่ น คนงาน เครื่องมือ ผลการทางาน
งานราชการ
เป็ นหน่ วยงานทีม่ ีการใช้ คอมพิวเตอร์ มากทีส่ ุ ด โดยมีการใช้ หลาย
รู ปแบบ ทั้งนีข้ นึ้ อยู่กบั บทบาทและหน้ าทีข่ องหน่ วยงานนั้นๆ เช่ น
กระทรวงศึกษาธิการ มีการใช้ ระบบประชุมทางไกลผ่ านคอมพิวเตอร์ ,
กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ได้ จดั ระบบเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต
เพือ่ เชื่อมโยงไปยังสถาบันต่ างๆ , กรมสรรพากร ใช้ จดั ในการจัดเก็บภาษี
บันทึกการเสี ยภาษี เป็ นต้ น
การศึกษา
ได้ แก่ การใช้ คอมพิวเตอร์ ทางด้ านการเรียนการสอน ซึ่งมีการนา
คอมพิวเตอร์ มาช่ วยการสอนในลักษณะบทเรียน CAI หรืองานด้ าน
ทะเบียน ซึ่งทาให้ สะดวกต่ อการค้ นหาข้ อมูลนักเรียน การเก็บข้ อมูลยืม
และการส่ งคืนหนังสื อห้ องสมุด
Add Your Company Slogan
ประวัติและวิวฒั นาการของ
คอมพิวเตอร์
P
o
w
Company Logo
e
r
P
o
i
n
t
ประวัติและวิวฒั นาการของคอมพิวเตอร์
 ประวัตค
ิ วามเป็ นมาของ
คอมพิวเตอร์
 วิวฒ
ั นาการของเครือ
่ ง
คอมพิวเตอร์
 ประเภทของคอมพิวเตอร ์
ประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์
มนุษย์ พยายามสร้ างเครื่องมือเพือ่ ช่ วยการคานวณมาตั้งแต่ สมัย
โบราณแล้ว จึงได้ พยายามพัฒนาเครื่องมือต่ าง ๆ ให้ สามารถใช้ งานได้ ง่าย
เพิม่ ขึน้ ตามลาดับ ในระยะ 5,000 ปี ทีผ่ ่ านมา มนุษย์ เริ่มรู้ จักการใช้ นิว้ มือ
และนิว้ เท้ าของตน เพือ่ ช่ วยในการคานวณ และพัฒนาเป็ นอุปกรณ์ อนื่ ๆ
วิวฒ
ั นาการของคอมพิวเตอร์ เริ่มต้ นจากวิวฒ
ั นาการของการ
คานวณ อุปกรณ์ ทใี่ ช้ ในการคานวณ หรือเครื่องคานวณต่ าง ๆ เนื่องจากถือได้
ว่ า
คอมพิวเตอร์ เป็ นเครื่องคานวณรูปแบบหนึ่งนั่นเอง โดยอาจจะเริ่ม
ได้ จากการนับจานวนด้ วยก้อนหิน, เศษไม้ , กิง่ ไม้ , การใช้ ถ่านขีดเป็ น
สั ญลักษณ์ ตามฝาผนัง ทั้งนีเ้ ครื่องคานวณทีน่ ับเป็ นต้ นแบบของคอมพิวเตอร์
ทีง่ านในปัจจุบันได้ แก่ ลูกคิด (Abacus) นั่นเอง
ลูกคิด (Abacus)
ลูกคิด เป็ นเครื่องคานวณเครื่องแรก ทีม่ นุษย์ ได้ ประดิษฐ์ คดิ ค้ นขึน้ มา โดย
ชาวตะวันออก (ชาวจีน) และยังมีใช้ งานอยู่ในปัจจุบนั มีลกั ษณะต่ างๆ ออกไป
เช่ นลักษณะลูกคิดของจีน ซึ่งมีตัวนับรางบน สองแถว ขณะทีล่ ูกคิดของญีป่ ุ่ นมี
ตัวนับรางบนเพียงแถวเดียว แม้ เป็ นอุปกรณ์ สมัยเก่า แต่ กม็ ีความสามารถในการ
คานวณเลขได้ ทุกระบบ
ในปัจจุบันการคานวณบางอย่ าง ยังใช้ ลูกคิดอยู่ถึงแม้ นจะมีคอมพิวเตอร์
เครื่ องจักรคานวณ (Mechanical Calculator)
ค.ศ. 1500 มีเครื่องคานวณ (Mechanical Calculator) ของลีโอ
นาโด ดาวินซี่ (Leonardo da Vinci) ชาวอิตาลี ใช้ สาหรับการคานวณ
ทางคณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน
แท่งเนเปี ยร์ (Napier's bones)
แท่ งเนเปี ยร์ อุปกรณ์ คานวณทีช่ ่ วยคูณเลข คิดค้ นโดย จอห์ น เนเปี ยร์
(John Napier : 1550 - 1617) นักคณิตศาสตร์ ชาวสก๊อต มีลกั ษณะเป็ น
แท่ งไม้ ที่ ตีเป็ นตารางและช่ องสามเหลีย่ ม มีเลขเขียนอยู่บนตารางเหล่านี้ เมื่อ
ต้ องการคูณเลขจานวนใด ก็หยิบแท่ งทีใ่ ช้ ระบุเลขแต่ ละหลักมาเรียงกัน แล้วจึง
อ่านตัวเลขบนแท่ งนั้น ตรงแถวทีต่ รงกับเลขตัวคูณ ก็จะได้ คาตอบทีต่ ้ องการ โดย
ก่อนหน้ านีเ้ นเปี ยร์ ได้ ทาตารางลอการิทมึ เพือ่ ช่ วยในการคูณและหารเลข โดย
อาศัยหลักการบวก และลบเลขมาช่ วยในการคานวณ
ไม้บรรทัดคานวณ (Slide Rule)
วิลเลีย่ ม ออทเตรด (1574 - 1660) ได้ นาหลักการลอการิทึมของเนเปี ยร์
มาพัฒนาเป็ น ไม้ บรรทัดคานวณ หรือสไลด์ รูล โดยการนาค่ าลอการิทมึ มา
เขียนเป็ นสเกลบนแท่ งไม้ สองอัน เมื่อนามาเลือ่ นต่ อกัน ก็จะอ่านค่ าเป็ นผลคูณ
หรือผลหารได้ โดยอาศัยการคาดคะเนผลลัพธ์
นาฬิกาคานวณ (Calculating Clock)
นาฬิ กาคานวณ เป็ นเครื่องคานวณทีร่ ับอิทธิพลจากแท่ งเนเปี ยร์ โดยใช้
ตัวเลขของแท่ งเนเปี ยร์ บรรจุบนทรงกระบอกหกชุ ด แล้วใช้ ฟันเฟื องเป็ นตัวหมุน
ทดเวลาคูณเลข ประดิษฐ์ โดย วิลเฮล์ม ชิคการ์ ด (1592 - 1635) ซึ่งถือได้ ว่าเป็ นผู้
ที่ประดิษฐ์ เครื่องกลไกสาหรับคานวณได้ เป็ นคนแรก
เครื่ องคานวณของปาสกาล
(Pascal's Pascaline Calculator)
เครื่องคานวณของปาสกาล ประดิษฐ์ ในปี 1642 โดย เบลส ปาสกาล (Blaise
Pascal :1623 - 1662) นักคณิตศาสตร์ ชาวฝรั่งเศษ โดยเครื่องคานวณนี้มี
ลักษณะเป็ นกล่องสี่ เหลีย่ ม มีฟันเฟื องสาหรับตั้งและหมุนตัวเลขอยู่ด้านบน ถือ
ได้ ว่าเป็ น "เครื่องคานวณใช้ เฟื องเครื่องแรก"
เครื่ องคานวณของไลปนิซ (The Leibniz Wheel)
กอดฟรีด ไลปนิซ (Gottfried Wilhelm Leibniz: 1646 - 1716)
นักคณิตศาสตร์ นักปรัชญา นักการฑูต ชาวเยอรมัน ทาการปรับปรุ ง
เครื่องคานวณของปาสกาลให้ สามารถคูณ และหารได้ ในปี 1673 โดย
การปรับฟันเฟื องให้ ดขี นึ้ กว่ าของปาสกาล ใช้ การบวกซ้า ๆ กันแทน
การคูณเลข จึงทาให้ สามารถทาการคูณและหารได้ โดยตรง ซึ่งอาศัย
การหมุนวงล้ อของเครื่องเอง ยังค้ นพบเลขฐานสอง (Binary Number)
คือ เลข 0 และเลข 1 ซึ่งเป็ นระบบเลขทีเ่ หมาะในการคานวณ
เครื่ องผลต่างของแบบเบจ
(Babbage's Difference Engine)
ชารลส์ แบบเบจ (Charles Babbage: 1792 - 1871) นักวิทยาศาสตร์ ชาว
อังกฤษ ได้ ประดิษฐ์ เครื่องผลต่ าง (Difference Engine) ขึน้ มาในปี 1832 เป็ น
เครื่องคานวณทีป่ ระกอบด้ วยฟันเฟื องจานวนมาก สามารถคานวณค่ าของตาราง
ได้ โดยอัตโนมัติ แล้วส่ งผลลัพธ์ ไปตอกลงบนแผ่ นพิมพ์สาหรับนาไปพิมพ์ได้ ทัน
แบบเบจได้ พฒ
ั นาเครื่องผลต่ างอีกครั้งในปี 1852 โดยได้ รับเงินอุดหนุนจาก
รัฐสภาอังกฤษ แต่ กต็ ้ องยุติลงเมื่อผลการดาเนินการไม่ ได้ ดงั ทีห่ วังไว้
เครื่ องวิเคราะห์ของแบบเบจ
(Babbage's Analytical Engine)
หลั ง จากนั้ น แบบเบจก็ หั น มาออกแบบเครื่ อ ง
วิเคราะห์ (Babbage's Analytical Engine) โดยเครื่องนี้
ประกอบด้ วย "หน่ วยความจา" ซึ่งก็คอื ฟันเฟื องสาหรับ
นั บ "หน่ ว ยค านวณ" ที่ ส ามารถบวกลบคู ณ หารได้
"บัตรปฏิบัติ " คล้ ายๆ บัตรเจาะรู ใช้ เป็ นตัวเลือกว่ าจะ
คานวณอะไร "บัตรตัวแปร" ใช้ เลือกว่ าจะใช้ ข้อมูลจาก
หน่ วยความจ าใด และ "ส่ วนแสดงผล" ซึ่ ง ก็ คื อ
"เครื่ อ งพิ ม พ์ หรื อ เครื่ อ งเจาะบั ต ร" แต่ บุ ค คลที่ น า
แนวคิดของแบบเบจมาสร้ างเครื่ องวิเคราะห์ (Analytical
Engine) ก็คือ ลูกชายของแบบเบจชื่อ เฮนรี่ (Henry) ในปี
1910
อย่ างไรก็ตามความคิดของแบบเบจ เกีย่ วกับเครื่องผลต่ าง และเครื่ อง
วิเคราะห์ เป็ นประโยชน์ ต่อวงการคอมพิวเตอร์ ในยุคต่ อมามาก จึงได้ รับสมญาว่ า
"บิดาแห่ งคอมพิวเตอร์ " เนื่องจากประกอบด้ วยส่ วนสาคัญ 4 ส่ วน คือ
1. ส่ วนเก็บข้ อมูล เป็ นส่ วนทีใ่ ช้ ในการเก็บข้ อมูลนาเข้ าและผลลัพธ์ ทไี่ ด้ จากการ
คานวณ
2. ส่ วนประมวลผล เป็ นส่ วนทีใ่ ช้ ในการประมวลผลทางคณิตศาสตร์
3. ส่ วนควบคุม เป็ นส่ วนทีใ่ ช้ ในการเคลือ่ นย้ ายข้ อมูลระหว่ างส่ วนเก็บข้ อมูลและ
ส่ วนประมวลผล
4. ส่ วนรับข้ อมูลเข้ าและแสดงผลลัพธ์ เป็ นส่ วนทีใ่ ช้ รับข้ อมูลจากภายนอกเครื่องเข้ า
สู่ ส่วนเก็บข้ อมูล และแสดงผลลัพธ์ ทไี่ ด้ จากการคานวณทาให้ เครื่องวิเคราะห์ นี้ มี
ลักษณะใกล้ เคียงกับส่ วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบนั
Mark I เครื่ องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ของไอบีเอ็ม
ในปี 1943 บริษัทไอบีเอ็ม (IBM: International Business Machines Co.,)
โดยโธมัส เจ. วัตสั น (Thomas J. Watson) ได้ พฒ
ั นาเครื่องคานวณทีม่ ี
ความสามารถเทียบเท่ ากับคอมพิวเตอร์ ซึ่งก็คอื เครื่องคิดเลขทีใ่ ช้ เครื่องกล
ไฟฟ้าเป็ นตัวทางาน ประกอบด้ วยฟันเฟื องในการทางาน อันเป็ นการนาเอา
เทคโนโลยีเครื่องวิเคราะห์ แบบแบบเบจมาปรับปรุงนั่นเอง เครื่องนีย้ งั ไม่
สามารถบันทึกคาสั่ งไว้ ในเครื่องได้ มีความสู ง 8 ฟุต ยาว 55 ฟุต ซึ่งก็คอื เครื่อง
Mark I หรือชื่อทางการว่ า Automatic Sequence Controlled Calculator
ENIAC เครื่ องคอมพิวเตอร์เครื่ องแรกของโลก
จอห์ น ดับลิว มอชลีย์ (John W. Mauchly) และ เจ
เพรสเพอร์ เอคเกิรต (J. Prespern Eckert) ได้ รับ
ทุนอุดหนุนจากกองทัพสหรัฐอเมริกา ในการสร้ าง
เครื่องคานวณ ENIAC เมื่อปี 1946 นับว่ าเป็ น
"เครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องแรกของโลก
หรือคอมพิวเตอร์ เครื่องแรกของโลก" ENIAC เป็ น
คาย่ อของ Electronics Numerical Integrator and
Computer อาศัยหลอดสุ ญญากาศจานวน 18,000
หลอด มีนา้ หนัก 30 ตัน ใช้ เนือ้ ที่ห้อง 15,000 ตาราง
ฟุต เวลาทางานต้ องใช้ ไฟถึง 140 กิโลวัตต์ คานวณใน
ระบบเลขฐานสิ บ
EDVAC กับสถาปัตยกรรมฟอนนอยมานน์
EDVAC หรือ Electronics Discrete Variable Automatic Computer นับเป็ น
เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องแรก ที่สามารถเก็บคาสั่ งเอาไว้ ทางาน ในหน่ วยความจา
พัฒนาโดย จอห์ น ฟอน นอยมานน์ (Dr. John Von Neumann) นักคณิตศาสตร์
ชาวฮังการี ร่ วมกับทีมมอชลีย์ และเอคเกิรต โดยฟอน นอยมานน์ แนวคิดที่
น่ าสนใจเกีย่ วกับการทางานของคอมพิวเตอร์ จนได้ รับการขนานนามว่ า
"สถาปัตยกรรมฟอนนอนมานน์ " ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
1. มีหน่ วยความจาสาหรับใช้ เก็บคาสั่ ง และข้ อมูลรวมกัน
2. การดาเนินการ กระทาโดยการอ่านคาสั่ งจากหน่ วยความจา มาแปลความหมาย
แล้วทาตามทีละคาสั่ ง
3. มีการแบ่ งส่ วนการทางาน ระหว่ างหน่ วยประมวลผล หน่ วยความจา หน่ วย
ควบคุม และหน่ วยดาเนินการรับ และส่ งข้ อมูล
UNIVAC เครื่ องคอมพิวเตอร์สาหรับ
ใช้ในงานธุรกิจเครื่ องแรกของโลก
มอชลีย์ และเอคเกิรต ในนามบริษัทเรมิงตัน แรนด์ (Remington Rand) ได้
สร้ างเครื่องคอมพิวเตอร์ อกี เครื่องหนึ่งในเวลาต่ อมา คือ UNIVAC (Universal
Automatic Computer) เพือ่ ใช้ งานสามะโนประชากรของสหรัฐอเมริกา เป็ น
เครื่องทีท่ างานในระบบเลขฐานสิ บเหมือนเดิม อย่ างไรก็ตาม UNIVAC ก็ยงั มี
ขนาดใหญ่ มาก ยาว 14 ฟุต กว้ าง 7 ฟุตครึ่ง สู ง 9 ฟุต มีหลอดสุ ญญากาศ 5,000
หลอด แต่ มีความเร็วในการทางานสู ง สามารถเก็บตัวเลข หรือตัวอักษรไว้ ใน
หน่ วยความจาได้ ถึง 12,000 ตัว
โปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก
พ.ศ. 2385 สุ ภาพสตรี ชาวอังกฤษชื่อ Lady Augusta
Ada Byron ได้ทาการแปลเรื่ องราวเกี่ยวกับเครื่ อง
Analytical Engine และได้เขียนขั้นตอนของคาสั่งวิธีใช้
เครื่ องนี้ให้ทาการคานวณที่ยงุ่ ยากซับซ้อนไว้ในหนังสื อ
Taylor's Scientific Memories จึงนับได้วา่ ออกุสต้ า เป็ น
โปรแกรมเมอร์ คนแรกของโลก และยังค้นพบอีกว่าชุด
บัตรเจาะรู ที่บรรจุชุดคาสั่งไว้ สามารถนากลับมาทางานซ้ า
ใหม่ได้ถา้ ต้องการ นัน่ คือหลักการทางานวนซ้ า หรื อที่
เรี ยกว่า Loop เครื่ องมือคานวณที่ถกู พัฒนาขึ้นในศตวรรษ
ที่ 19 นั้น ทางานกับเลขฐานสิ บ (Decimal Number) แต่เมื่อ
เริ่ มต้นของศตวรรษที่ 20 ระบบคอมพิวเตอร์ได้ถกู
พัฒนาขึ้นเป็ นลาดับ จึงทาให้มีการเปลี่ยนแปลงมาใช้
เลขฐานสอง (Binary Number)กับระบบคอมพิวเตอร์
วิวฒั นาการของเครื่ องคอมพิวเตอร์
ยุคที่หนึ่ง (First Generation Computer)
พ.ศ. 2489-2501
ยุคที่สอง (Second Generation Computer)
พ.ศ. 2502-2506
ยุคที่สาม (Third Generation Computer)
พ.ศ. 2507-2512
ยุคที่สี่ (Fourth Generation Computer)
พ.ศ. 2513-2532
ยุคที่หา้ (Fifth Generation Computer)
พ.ศ. 2533 จนถึงปัจจุบนั
ลักษณะสาคัญของเครื่ องคอมพิวเตอร์ยคุ ที่หนึ่ง
ลักษณะเครื่อง
คอมพิวเตอร์ มีขนาดใหญ่ ใช้ ไฟฟ้าแรงสู งจึงต้ อง
ติดตั้งในห้ องปรับอากาศตลอดเวลา
วัสดุทใี่ ช้ สร้ าง
ใช้ วงจรอิเล็คโทรนิคส์ และหลอดสู ญญากาศ
ความเร็วในการทางาน เป็ นวินาที
สื่ อข้ อมูล
บัตรเจาะ
ภาษาคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ ภาษาเครื่องจักร (Machine Language)
ตัวอย่ างเครื่อง
UNIVAC, IBM 650, IBM 701, NCR
102
www.themegallery.com
Logo
ลักษณะสาคัญของเครื่ องคอมพิวเตอร์ยคุ ที่สอง
ลักษณะเครื่อง
วัสดุทใี่ ช้ สร้ าง
มีขนาดเล็ก มีความร้ อนน้ อย และราคาถูกลง
ใช้ หลอดทรานซิสเตอร์ แทนหลอดสู ญญากาศ มี
วงแหวนแม่ เหล็กเป็ นหน่ วยวามจา
ความเร็วในการทางาน เป็ นมิลลิเซคคัน่
สื่ อข้ อมูล
บัตรเจาะและเทปแม่ เหล็กเป็ นส่ วนใหญ่
ภาษาคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ ภาษาสั ญลักษณ์ (symbolic Language) และ
ภาษาฟอร์ แทรน (FORTRAN)
ตัวอย่ างเครื่อง
IBM 1620, IBM 1401, CDC 1604,
Honeywell
200, NCR 315
ลักษณะสาคัญของเครื่ องคอมพิวเตอร์ยคุ ที่สาม
ลักษณะเครื่อง
เล็กลงกว่ าเดิม ความเร็วเพิม่ ขึน้ ใช้ ความร้ อนน้ อย
วัสดุทใี่ ช้ สร้ าง
ใช้ ไอซี (Integrated Circuit) ซึ่งสามารถทางาน
ได้ เท่ ากับทรานซิสเตอร์ หลายร้ อยตัว (จึงทาให้ ขนาดเล็ก)
ความเร็วในการทางาน เป็ นไมโครเซคคัน่
สื่ อข้ อมูล
บัตรเจาะ เทปแม่ เหล็ก จานแม่ เหล็ก
ภาษาคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ เริ่มมีภาษาโคบอลและภาษาพีแอลวัน (PL/1)
ภาษาโคบอลเป็ นภาษาทีแ่ พร่ หลายมากในยุคนี้
ตัวอย่ างเครื่อง
IBM 360, CDC 3300, NCR 395,
UNIVAC 9400
ลักษณะสาคัญของเครื่ องคอมพิวเตอร์ยคุ ที่สี่
ลักษณะเครื่อง มีคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็กหรือไมโครคอมพิวเตอร์ ซึ่งไม่
จาเป็ นต้ องอยู่ในห้ องปรับอากาศ ทางานเร็วขึน้ และมีประสิ ทธิภาพมากขึน้
วัสดุทใี่ ช้ สร้ าง ใช้ วงจรรวมขนาดใหญ่ ทเี่ รียกว่ า LSI (Large Scale
Integrated)
ความเร็วในการทางาน เป็ นนาโนเซคคัน่
สื่ อข้ อมูล
เทปแม่ เหล็ก จานแม่ เหล็ก ส่ วนบัตรเจาะจะใช้ น้อยลง
ภาษาคอมพิวเตอร์ ทใี่ ช้ เริ่มมีภาษาใหม่ ๆ เช่ น ภาษาเบสิ ค ภาษาปาสคาล และ
ภาษาซีเกิดขึน้
ตัวอย่ างเครื่อง IBM 370, IBM 3033, UNIVAC 9700,CDC
7600,IBM PC(XT และ AT)
ลักษณะสาคัญของเครื่ องคอมพิวเตอร์ยคุ ที่หา้
•มีการใช้ คอมพิวเตอร์ เพือ่ ช่ วยในการจัดการ และสนับสนุนการตัดสิ นใจ
ของผู้บริหารมากยิง่ ขึน้
•มีภาษาเชิงวัตถุ (Object-Oriented)
•ความเร็วในการทางาน
เป็ นพิคโคเซคคัน่ หนึ่งในล้ านล้ านวินาที
www.themegallery.com
Logo
คอมพิวเตอร์ ทพี่ บเห็นทัว่ ไปในปัจจุบัน เรียกว่ า
- ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ (Digital Computer)
- เครื่ องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้งานเกี่ยวกับตัวเลข
- การคานวณในดิจิตอลคอมพิวเตอร์เป็ นระบบเลขฐานสอง
การคานวณภายในดิจิตอลคอมพิวเตอร์
จะเป็ นการประมวลผลด้วยระบบเลขฐานสองทั้งหมด ดังนั้น
เลขฐานสิ บและตัวอักษรที่เราใช้อยู่ จะถูกแปลงไปเป็ นระบบ
เลขฐานสองเพื่อการคานวณภายในคอมพิวเตอร์ ผลลัพธ์ที่ได้ก็
เป็ นเลขฐานสองซึ่งคอมพิวเตอร์จะแปลงเป็ นเลขฐานสิ บ
สั ญญาณไฟกับเลขฐานสอง (เลข 0 = ไม่ มีไฟ และเลข 1 = มีไฟ)




1.2 คุณสมบัตขิ องคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ มคี ุณสมบัตพิ นื้ ฐานทีส่ าคัญได้แก่
- การทางานและผลลัพธ์มีความเชื่อถือได้(Reliability)
- มีความรวดเร็ วในการประมวลผล(Speed)
- สามารถเก็บข้อมูลได้จานวนมาก(Storage Capacity)
- เพิม่ ผลผลิต (Productivity)
- ช่วยสนับสนุนการตัดสิ นใจ(Decision Making)
- ช่วยลดต้นทุนในการทาธุรกิจอีกด้วย (Cost Reduction)
แสดงรหัส ASCII เลขฐานสอง 8 หลักที่ใช้ แทนตัวอักษรและตัวเลข
ประเภทของเครื่ องคอมพิวเตอร์
ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer)
ซู เปอร์ คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เป็ นคอมพิวเตอร์ ทมี่ ีสมรรถนะในการทางานสู ง
กว่ า คอมพิวเตอร์ แบบอืน่ ดังนั้นจึงมีผ้ เู รียกอีกชื่อหนึ่งว่ า คอมพิวเตอร์ สมรรถนะสู ง (High
Performance Computer) คอมพิวเตอร์ ประเภทนี้ สามารถคานวนเลขทีม่ จี ุดทศนิยม ด้ วย
ความเร็วสู งมาก ขนาดหลายร้ อยล้ านจานวนต่ อวินาที งานทีใ่ ห้ คอมพิวเตอร์ ประเภทนีท้ าแค่ 1
วินาที ถ้ าหากเอามาให้ คนอย่ างเราคิด อาจจะต้ องใช้ เวลานานกว่ าร้ อยปี ด้ วยเหตุนี้ จึงเหมาะที่
จะใช้ คอมพิวเตอร์ ประเภทนี้ เมือ่ ต้ องมีการคานวนมากๆ อย่างเช่ น งานวิเคราะห์ ภาพถ่ าย จาก
ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา หรือดาวเทียมสารวจทรัพยากร งานวิเคราะห์ พยากรณ์ อากาศ งานทา
แบบจาลองโมเลกุล ของสารเคมี งานวิเคราะห์ โครงสร้ างอาคาร ทีซ่ ับซ้ อน คอมพิวเตอร์
ประเภทนี้ มีราคาค่ อนข้ างแพง ปัจจุบันประเทศไทย มีเครื่องซู เปอร์ คอมพิวเตอร์ Cray YMP
ใช้ ในงานวิจัย อยู่ทหี่ ้ องปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร์ สมรรถภาพสู ง (HPCC) ศูนย์ เทคโนโลยี
อิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์ แห่ งชาติ ผู้ใช้ เป็ นนักวิจัยด้ านวิศวกรรม และวิทยาศาสตร์ ทวั่
ประเทศ บริษัทผู้ผลิตทีเ่ ด่ นๆ ได้ แก่ บริษัทเครย์ รีเสิ ร์ซ, บริษัท เอ็นอีซี เป็ นต้ น
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)
คอมพิวเตอร์ ทมี่ สี มรรถนะสู งมาก แต่ ยงั ตา่ กว่ าซู เปอร์ คอมพิวเตอร์ เหมาะกับการ
ใช้ งาน ทั้งในด้ านวิศวกรรม วิทยาศาสตร์ และธุรกิจ โดยเฉพาะงานทีเ่ กีย่ วข้ องกับข้ อมูลจานวน
มากๆ เช่ น งานธนาคาร ซึ่งต้ องตรวจสอบบัญชีลูกค้ าหลายคน งานของสานักงานทะเบียน
ราษฎร์ ทีเ่ ก็บรายชื่อประชาชนประมาณ 60 ล้านคน พร้ อมรายละเอียดต่ างๆ งานจัดการ
บันทึกการส่ งเงิน ของผู้ประกับตนหลายล้ านคน ของสานักงานประกันสั งคม กระทรวง
แรงงาน คอมพิวเตอร์ เมนเฟรม ทีม่ ีชื่อเสี ยงมาก คือ เครื่องของบริษัท IBM
มินิคอมพิวเตอร์ (Mini-Computer)
เป็ นคอมพิวเตอร์ ทมี่ ีสมรรถนะน้ อยกว่ าเครื่องเมนเฟรม คือทางานได้ ช้ากว่ า และ
ควบคุมอุปกรณ์ รอบข้ างได้ น้อยกว่ า อย่ างไรก็ตามจุดเด่ นสาคัญ ของเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ก็
คือ ราคาย่ อมเยากว่ าเมนเฟรม การใช้ งานก็ไม่ ต้องใช้ บุคลากรมากนัก นอกจากนั้น ยังมีผ้ ทู รี่ ้ ู
วิธีใช้ มากกว่ าด้ วย เพราะเครื่องประเภทนี้ มีใช้ ตามสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาหลายแห่ ง
มินิคอมพิวเตอร์ เหมาะกับงานหลากหลายประเภท คือใช้ ได้ ท้งั ในงานวิศวกรรม
วิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรม เครื่องทีม่ ใี ช้ ตามหน่ วยงานราชการระดับกรมส่ วนใหญ่ มักจะเป็ น
เครื่องประเภทนี้
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro-Computer)
เครื่องประมวลผลข้ อมูลขนาดเล็ก มีส่วนของ
หน่ วยความจาและความเร็วในการประมวลผลน้ อยทีส่ ุ ด สามารถใช้ งาน
ได้ ด้วยคนเดียว จึงมักถูกเรียกว่ า คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล (Personal
Computer : PC) ราคาถูก ดังนั้นจึงเป็ นทีน่ ิยมใช้ มาก ทั้งตามหน่ วยงาน
และบริษทั ห้ างร้ าน ตลอดจนตามโรงเรียน สถานศึกษา และบ้ านเรือน
บริษทั ที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ ออกจาหน่ ายจนประสบความสาเร็จเป็ น
บริษทั แรก คือ บริษทั แอปเปิ ลคอมพิวเตอร์
Notebook/Laptop
ความต้ องการใช้ งานคอมพิวเตอร์ ในทุก ๆ สถานทีน่ ้ันทาให้ มี
การพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่สามารถนาพกติดตัวไปด้ วย เรียกว่ า
Notebook หรือ Laptop ซึ่งมีประสิ ทธิภาพและการใช้ งานเทียบเท่ ากับ
ระดับพีซี
Handheld : Pocket PC / Palm
คอมพิวเตอร์ ถูกพัฒนาให้ สามารถใช้ งานได้ สะดวกมากขึน้ โดยการออกแบบในมี
รู ปแบบการใช้ งานอยู่เพียงบนฝ่ ามือเท่ านั้น มีนา้ หนักเบา และพกพาสะดวก
ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ แบบแฮนด์ เฮลได้ รับการพัฒนาให้ มีความสามารถมากขึน้
เรื่อย ๆ โดยบางรุ่ นใช้ กบั โทรศัพท์ มือถือ
Tablet
คอมพิวเตอร์ ทสี่ ามารถป้ อนข้ อมูลทางจอภาพได้ และสามารถใช้ ซอฟต์ แวร์ ชนิด
เดียวกันกับทีต่ ิดตั้งบนคอมพิวเตอร์ แบบพีซีได้